บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน, 2012

Kinghts of Temple of Solomon (Templar knights )

รูปภาพ
     อัศวินเทมพลาร์ เป็นคณะทหารคริสเตียนที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุด เป็นองค์กรอยู่เกือบสองศตวรรษในสมัยกลาง           คณะได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการจากคริสตจักรโรมันคาทอลิก เป็นองค์กการที่ได้รับบริจากทรัพย์สินอย่างมากมายตลอดคริสตจักรและเติบโตอย่างรวดเร็วทั้งในแง่สมาชิกและอำนาจเทมพลาร์เป็นหนึ่งในหน่วยรบที่มีฝึมือที่สุดในสงครามครูเสด           อัศวินเทมพลาร์ก่อตั้ง จากชนชั้นสูงปรังเศส พร้อมกับอัศวินผู้ติดตามอีก 8 คน ก่อตั้งกลุ่มที่มีจุดมุ่งหมายในการปกป้องผู้แสวงบุญในดินแดนศักดิ์สิทธิ  กษัตริย์ แห่งเยรูซาเล็ม ได้อนุญาตให้ทั้ง 9 ไปอาศัยอยู่ที่บริเวณทิศใต้ของ Temple Mount ซึ่งทั้งชาวคริสต์และสลามถือว่าเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ โดยชาวคริสต์เชื่อว่าโปสถ์แห่งนั้นตั้งอยู่บนซากปรักหักพักของ วิหารแห่งโซโลมอน และมุสลิม นั้น กาหลิบแห่งอิสลาม เคยสร้าง วิหาร โดมทองแห่งเยรูซาเล็มซึ่งภายในบรรจุก้อนหินที่ศาสดามูฮัมหมัดได้รับจากสวรรค์ ณ ที่ตรงนั้น และโดยการอาศัยอยู่ ณ สถานที่ศักดิ์สิทธิเช่นนี้ทำให้ในภายหลังมีเรื่องเล่าขานกันว่า พวกเขาได้พบ “จอกเหล้าองุ่นที่พระเยซูคริสต์ใช้ในการรับประทานอาษรมื้อสุดท้า

xiangyang

รูปภาพ
   เซียงหยาง อยู่ในตะวันตกเฉียงเหนือของมณฑลหูเป่ย เป็นจุดยุทธศสตร์ที่สำคัญของ ราชวงศ์ซ่ง ที่ตั้งเมืองเซี่ยงหยาง ตั้งอยู่ริมแม่น้ำ ฮั่น Han เป็นเมืองหน้าด่านทางน้ำ เพราะแม่น้ำฮี่นเป็นเส้นทางเข้าสู่แม่น้ำแยงซี หากตีได้เมืองเซียงหยาง มองดกลสามารถรุกคือบเข้ายึดเมืองสำคัญๆ ได้อย่างง่ายดายดดยไม่ต้องใช้กองทัพม้า เพียงส่งกองเรื่อไปตามแยงซี ก็จะยึดเมืองต่างๆ ได้โดยสะดวก ฉะนั้นชะตากรรมของเซียงหยาง ก็คือซะตากรรมของซ่ง ซึ่งมองโกลทราบในเรื่องนี้เป็นอย่างดี        กุบไลข่านเมืองขึ้นครองจักรวรรดิมองโกลแล้ว จึ้งเตรียมไพร่พลที่จะบุก ราชวงศ์ซ่ง จากภูมิประเทศแผ่นดินซ่ง ที่มีแม่น้ำแยงซีเป็นปราการทางธรรมชาติ และภูเขาที่สลับซับซ้อน มองโกลจึงจัดเตรียมกำลังจากทหารม้า มาเป็นทหารราบ และกองเรือ     ราชวงศ์ซ่งนั้นไม่เน้นนโยบายทางการทหาร ไม่ให้มีทหารตามหัวเมือง หากส่วนกลางหรือจักรพรรดิเข้มแข็งกองทัพก็จะเข้มแข็งตาม ครั้งตั้งแต่รบกับราชวงศ์เหลียว ราชวงศ์จิน ราชวงศ์ซ่งเลือกจะยอมเจรจาสงบศึกมาโดยตลอด แม้จะเป็นรัฐบรรณาการก็ยังยอม ฉะนั้นจุดชี้เป็นชี้ตายของศึกครั้งนี้ก็อยู่ที่เมืองเซียงหยาง ฝ่านเฉิง      มองโกลเคล

Sun Wu : Lesson 10

รูปภาพ
             อันภูมิประเทศนั้น มีพื้นที่สะดวก มีพื้นที่ซับซ้อน มีพื้นที่ประจัน มีพื้นที่เล็กแคบ มีพื้นที่คับขัน มีพื้นที่ห่างไกล - เราไปได้ เขามกได้ เรียกพื้นที่สะดวก พื้นที่สะดวกพึงยึดที่สูงโล่งแจ้งก่อน รักษาเส้นทางเสบียง ก็รบจักชนะ - ไปได้ แต่ถอยกลับยาก เรียกว่าซับซ้อน พื้นที่ซับซ้อน หากข้าศึกไม่ระวัง ออกตีจะชนะ หาข้าศึกเตรียมพร้อม  ออกตีไม่ชนะ ถอยกลับลำบาก ไม่เป็นผลดี - เราออกตีไม่ดี เขาออกตีก็ไม่ดี เรียกว่าประจัน พื้นที่เช่นนี้ แม้สภาพข้าศึกเป็นประโยชน์แก่เรา เราก็ไม่ออกตี พึงนำทัพแสร้งถอย ให้ข้าศึกรุกไล่มากึ่งหนึ่ง จึงหวนเขาตี เป็นผลดี - พื้นที่เล็กแคบ เราพึงยึดก่อน วางกำลังหนาแน่นรอคอย ข้าศึกหาข้ศึกยึดก่อนวางกำลังหนาแน่นอย่าเข้าตี หากกำลังข้าศึกเบาบางก็จงเข้าตี - พื้นที่ขับคัน เราพึงยึดก่อน เลื่อกที่สูงโล่งแจ้งรอคอยข้อศึก หากข้าศึกยึดก่อนให้ถอย อย่ารบด้วย - พื้นที่ห่างไกลกำลังกล้ำกึ่ง ยากจะท้ารบ ฝืนรบไม่เป็นผลดี    หาประการนี้ คือหลักแห่งการใช้ภูมิประเทศ ที่ควรพินิจพิเคราะห์ให้จงดี ความปราชัยของกองทัพ จึงมีที่เตลิดหนี มีที่หย่อนหยาน มีที่ล่มจม มีที่พังทลาย มีที่ปั่นป่วน ม

Kublai Khan

รูปภาพ
      ในการทำศึกกับราชวงศ์ซ่งครั้งนี้ มองเก้ ข่าน รู้ดีว่าจะเป็นไปด้วยความลำบากด้วยหนทางและ ปราการทางธรรมชาติทีหฤโหด แต่กระนั้น มองเก้ ข่าน เตรียมการในครั้งนี้เป็นอย่างดี อันดับแรกปิดทางหนีของราชวงศ์ซ่ง คือส่งเจ้าชายกุบิไล ทำการโจมตีอาณาจักรใกล้เคียงที่จะเป็นทางหนีของราชวงศ์ซ่งนั้น ได้แก่ ต้าหลี่ทางตะวันตกเฉียใต้ของราชวงศ์ซ่ง อาณาจักรอันนัม และทิเบต      เมื่อเจ้าชายกุบิไลสามารถพิชิตดินแดนเหล่านี้ได้ทั้งหมดแล้ว มองเก้ ข่าน จึงเร่งจัดเตรียมทัพขนาดมหึมาซึ่งมีจำนวนทหารกว่า 600,000 นายบุกลงใต้มาสมทบกับทัพคุบไล เพื่อโจมตีราชวงศ์ซ่ง       ทรงนำทัพตีตามป้อมต่าง ๆ ของราชวงศ์ซ่งอย่างหนักหน่วง แต่ด็เป็นไปด้วยความลำบาก สภาพภูมิอากาศแผ่นดินจีนตอนกลางมีความร้อนชื้นยิ่งกว่าทุ่งหญ้า มองโกลจึงทำให้ทหารมองโกลล้มป่วยมากมาย ทว่ามองเก้ ข่าน มิทรงย่อท้อ ที่เมืองเสฉวนทรงล้อมนานหว่า 6 เดือนก็ไม่สามารถพิชิตเมืองเข้าไปได้ ในที่สุดพระองค์ตัดสินพระทัยยกทัพหักเข้าเมืองโดยบุกโจมตีเมืองอย่างหนักเพื่อหมายจะพิชิตให้ได้ในคราวเดียว แต่ทว่าพระองค์เสด็จสวรรคตก่อนอย่างกระทันหัน    เจ้าชายฮุเลกูในขณะนั้นเตรียมเพื่อจะบุก

Last Stand

รูปภาพ
      ฮูลากูคาดหวังจะกำจัดฐานอำนาจสุดท้ายของมุสลิมที่หลงเหลืออยู่ นั้นคือราชวงศ์มัมลุกของอียิปต์ โดยก่อนหน้านั้น กองทัพมองโกลได้ถล่มเปอร์เซีย ยึดแบกแดด ล้มล้างจัรวาดิกาหลิบอับบาซิยธะ abbasid Caliphate และยุบราชวงศ์อัยยูบิยะฮ์ Ayyubid Dynasty    อัยบัค ซึ่งเป็นพวกมัมลุกและเป็นผู้ก่อตั้งราชวงศ์มัมลุ(หรือราชวงศ์ทาส)แห่งอียิปต์ ได้ปกครองอียิปต์ตั้งแต่ ค.ศ.1250-1257 หลังจากที่เกิสภาวะว่างผู้นำอยู่ระยะหนึ่ง กุตูช ซึ่งเป็นมัมลุกอีกคนหนึ่งก็ก้าวขึ้นมามีอำนาจ กูตุชเป็นคนกล้าหาญและเฉลียวฉลาด และได้รับการฝึกการอบรมมาจากโรงเรียทหารของ อัสซอลิฮ์ อัยยูบในสามเหลี่ยมลุ่มแม่น้ำไนล์ นอกจากตัวเขาแล้ว หังกน้าที่ปรึกษาของเขาคือ บัยบัรฺ อัล - บันดุคดารี ซึ่งเป็นพวกมัมลู้กอีกคนหนึ่ง คนๆ ยิ่งมีความกล้าหาญและเหี้ยมเกรียมยิ่งกว่าเขา ทั้ง 2 คน ได้รับบรรดาพวกที่หนีภัยมาทั้งหมด เพราะพวกเขากำลังต้องการกำลังทหาร            มองโกลมาไวกว่าที่คาดไว้ มองโกลส่งทูตมายื่นคำขาดให้พวกอียิปต์ยอมจำนน  กุตูชจึ้งเรียประชุมสภาขุนศึกทันที  นะซีรุดดีน คอยมารี ทหารชาวซีเรียเสนอให้ทำสงครามกับมองโกลเพราะเขารู้ดีว่าแม้จะยอมแพ้ก็ไ

Abbasid Dynasty-The Ottoman Empire

รูปภาพ
  เคาะหฺลีฟะฮฺ Caliphate หรือ กาหลิป มาจากคำว่า “เคาะลีฟะฮ์ อัรเราะซูล” แปลว่าผู้แทนของท่านเราะซูล          รัฐเคาะลีฟะฮ์ เป็นเขตการปกครองแบบหนึ่งในอาณาจักรมุสลิมที่มีประมุขเป็นเคาะลีฟะฮ์ที่มาจากปรัชญาว่าเป็นผู้สืบอำนาจมาจากนบีมุฮัมมั ศาสดาของศาสนาอิสลาม          ซุนนีย์ระบุว่าเคาะลีฟะฮ์ควรจะเป็นผู้ที่ได้รับเลื่อก โดย Shura ผู้ได้รับเลือกโดยมุสลิมหรือผู้แทน ชีอะห์เชื่อว่าเคาะลีฟะห์คืออิมามผู้สืบเชื้อสายมาจากอะฮฺลุลบัยตฺ ตั้งแต่สมัยมุฮัมมัดมาจนถึงปี ค.ศ. 1924 เคาะลีฟะฮ์ ต่อมาและในปัจจุบันมาจาหลายราชวงศ์          ระบบเคาะลีฟฮ์เป็นระบบการปกครองระบบเดียวที่ได้รับการอนุมัติจากเทววิทยาอิสลาม และเป็นปรัชญาการปกครองหลักของซุนนียธ โดยเสียงข้างมากของมุสลิมในต้นศตวรรษ          พระโองการแห่งพระผู้เป็นเจ้าทีทะยอยลงมาในเวลา 23 ปี โดยศาสนทูตที่ไรบมองหมายให้สอนศาสนาอิลามแก่มนุษยชาติ และได้รวบรวมเป็นเล่มมีชื่อว่า “อัลกุรอาน”          สาส์นแห่งอิสลามที่ถูกส่งมาให้แก่มนุษย์ทั้งมวลมีจุประสงค์หลัก 3 ประการ คือ 1 เป็นอุดมการณ์ที่สอนมนษย์ให้ศรัทธาในอัลลอฮ์ พระผู้เป็นเจ้าเพียงพระองค์เดียว 2 เป็นธรรมน

Region

รูปภาพ
ศาสนา ได้สิ่งที่ธรรมชาติของมนุษย์มีความต้องการอย่างลึกซึ้งภายในและขณะเดียวกันศาสนาก็มีอิทธิพลต่อชีวิตและสังคมของมนุษย์ทั้งด้านกี และด้านร้าย สุดแต่สภานการณ์ ช่วงเวลา และสภาพสังคมในสภาพสังคมและการเปลนทำนองเดียวกันสภาพสังคมและการเปลี่นแปลงของสังคมก็มีอิทธิพลต่อศาสนาเช่นกัน                 ในอดีที่ผ่านมาหลายพันปีจนถึงปัจจุบัน ประวัติศาสตร์บันทึกไว้ว่าบางครั้งศาสนาก็ช่วยแก้สภานการณ์ที่เลวร้าย วิกฤตให้สงบลงได้ บางรั้งศาสนาก็เป็นสกเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการจราจล ฆาปันกัน บางครั้งบุคคลในศาสนาก็เข้าไปเกี่ยวข้อง ก้าวก่ายต่อการเมือง การปกครองเศรษฐกิจและสงครามเสียเอง ดังนั้นจึงอาจได้ว่า ศาสนามีอิทธิพลต่อสังคม กละขณะเดียวกันสังคมก็มีอิทธพลต่อศาสนาเช่นกัน บทบาทและอิทธิพลของสังคมต่อศาสนา                 กล่าวคือ บุคคล สังคม และภาพแวดลิ้มทางสังคม และทางภูมิศาสตร์ตอลดจนวัวัฒนธรรมและการเมืองการปกครอง ล้วนมีส่วนสำคัญที่อาจสามารถเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงศาสนา และมีอิทธิพลต่อศาสนาในด้านต่าง ๆ ได้                 บทบาทและอิทธิพลของศาสนาต่อสังคมส่วนรวม ความสัมพันธต่อบุคคล บุคคลต่อบุคคล เริ่มจากครอบ

Masyaf

รูปภาพ
   เป็นราชวงศ์ในยุคที่ที่ขึ้นครองราชหลังจากราชวงศ์อุมัยยะฮ์ถูกโค่นล้ม ได้ย้ายเมืองหลวงจากจากเมือง “ชาม” (ดามัสกัส ซีเรียในปัจจุบัน)มาที่กรุงแบกแดด   ดินแดนอิสลามในยุคนี้ จึงแบ่งออกเป็น ที่ดามัสกัสซึ่งราชวงศ์เดิมอ าศัยอยู่ และราชวงศ์ใหม่ที่กรุงแบกแดด และยังมีที่ อียิป กรุงไคโร พวกชีอะห์ได้ตั้งราชวงศ์ขึ้นมาคือ ราชวงศ์ “ฟาติมิดส์” อิสลามที่ไคโรนั้น มีกลุ่มที่น่ากลัวที่สุดของอิสลามคือ พวกAssasin หรือพวกนักฆ่าอันมีเมืองหลวงอยู่ที่เมือง Masyaf ซึ่งเป็นกลุ่มที่ชื่อเสียงขึ้นมาหลังจากทำการตีเมืองคืนจาก ซาลาดิน กล่าวคือ ดูอัลบั้มทั้งหมด     เมื่อ ซาลาดิน หรือ จีฮัทธ์ทำสงครามกับพวกครูเสด เสร็จสิ้นโดยการทำสัญญากับพระเจ้าริชาร์ดใจสิงห์ จึงเดินทางมาปราบพวกชีอะห์ตามบัญชา ของ เคาะห์ลีฟะห์แห่งแบกแดด  โดยมีตำนานหรือเรื่องเล่าขานกัน ว่า เมืองครั้งซาลาดีนยึดเมือง Masyaf ได้จากพวก Assasin ซึ่งต้องเป็นทางผ่านที่จะไปยังกรุงไคโร นั้น ขณะที่ ซาลาดิน นอนอหลับอยู่ในเมือง  Masyaf ภายใต้การป้องกันอย่างแน่นหนา พวกมือสังหารได้ส่งขนมเค้กใส่ยาพิษ ไปว่าไว้ในห้องของซาลาดีน และในที่สุดก็สามารถตีเมืองที่ยึดครองโดยซ

assassination

รูปภาพ
     “การลอบสังหาร” เป็นรูปแบบของความรุนแรงทางการเมืองที่นักรัฐศาสตร์ไม่ควรมองข้าม สาเหตุแห่งการลอบสังหาร คือ แย่งชิงอำนาจ หนึ่ง ทำไปเพื่อนำสู่ผลประโยชน์ หนึ่ง และ เหตุผลอื่นๆ หนึ่ง เช่นการฆ่าด้วยความบ้า หรืออยากดังเป็นต้น      assassin เป็นคำที่มีบ่อเกิดจากเปอร์เซียและซีเรีย ประมาณศตวรรษที่ 8-14 ในการลอบสังหารช่วงแรก ๆ เป็นการกรทำของพวกสมาชิกกลุ่ม Nizaris กลุ่มชาวมุสลิม ซึ่งใช้การฆ่าแบบจู่โจมโดยเจ้าหน้าที่ลับ ขณะที่ผู้คนมักมองว่า หลุ่ม Nizaris เป็นกลุ่มที่สังคมไม่ให้การยอมรับ และไม่มีใครคบหา จากทัศนคติ เช่นนี้จึงได้กลายมาเป็นหนึ่งในชื่อของกลุ่มว่า “Hashshashin” ที่รากศัพท์หมายถึง “ผู้เสพกัญชา”    มีบางแหล่งระบุชัดว่า คำๆ นี้ถือกำเนิดนยุคศตวรรษที่ 11 เพื่อใช้อธิบายพฤติกรรมของ Hassan-i Sabbah ผู้นำกลุ่มชาวมุสลิมที่กุมอำนาจอยางมากในตะวันออกกลาง ผู้เน้นปกครองด้วยการใช้กำลังความรุนแรง ซึ่งการลอบสังหารก็จัดว่าเป็นหนึ่งในวิธีการที่ถูกเขานำมาใช้ เชื่อกันว่าชาวตะวันตกที่นำคำนี้มาใช้เป็นคนแรก คือ Benjamin of Tudela ช่วงศตวรรษที่ 12     เมื่อตำนานเรื่อนี้แพร่ออกไป คำว่า “Hashshashin” ได้เ

Tibet

รูปภาพ
     เขตปกครองตนเองธิเบต เป็นเขตปกครองตนเองของประเทศจีน เมืองหลวงคือ "ลาซา" มีเชื้อสายมาจากชาวอินเดีย ชาวทิเบตมีพระเป็นผู้นำของเขตปกครองพิเศษนี้ ซึ่งนับถือศษสนาพุทธนิกายวัชรยานคล้ายกับภูฎาน      ทิเบธตั้งอยู่บนเทือกเขาหิมาลัยเป็นที่ราบสูงที่สูงที่สุดในโลก ได้รับฉายาว่า หลังคาของโลก ฺธิเบตมีอากาศที่หนาวเย็น และอ็อกซิเจนต่ำ  พลเมืองชายชาวธิเบตกว่าครึ่งบวชเป็นพระ ก่อนจีนจะยึดครองธิเบต ธิเบตมีสามเณริกามากที่สุดในโลก มีคัมภีร์มากมาย พลเมืองนับถือศาสนาอย่างเคร่งครัด ซึ่งได้รับฉายาว่า "แดนแห่งพระธรรม"   ก่อนคริสต์ศักราช ชนชาติทิเบตอาศัยอยู่ที่ราบสูง ชิงไห่-ทิเบต มีการไปมาหาสู่กับชาวฮั่นที่อาศัยอยู่ในแผ่นดินใหญ่จีน ผ่านระยะเวลาอันยาวนาน  เผ่าชนต่างๆ ในทีราบสูงลิงไห่-ทิเบตก็ค่อยๆ รวมกันเป็นเอกภาพและกลายเป็นชนชาติธิเบต      อิทธิพลมองโกล      การติดต่อระหว่างธิเบตกับมองโกลที่มีลายลักษณ์อักษรครั้งแรกคือการพบปะระหว่าง เจงกิสข่าน กับซังปะ คุงคุรวาและศิษย์อีกหกคนซึ่งอาจเป็นการพบกันในเขตจักรวรรดิ์ตันกัต    เจ้าชายแห่งมองโกลเข้าควบคุมโกโกนอร์เพื่อหาโอกาสเข้

siege....

รูปภาพ
     ต้าหลี่เป็นเมืองเอกของเขตปกครองตนเองชนชาติไป๋ ต้าหลี่ มณฑลยูนนาน ทางตอนใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่บนเทีอกเขาชางซานทางด้านตะวันตก และทะเลสาบเอ๋อไห่ทางด้านตะวันออก เป็นที่ตั้งถ่นฐานชาวไบ๋ และชาวอี้ มาแต่โบราณ      ต้าหลี่เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรน่านเจ้าซึ่งเป็นอาณาจักของชาวไป๋ในช่วงศตวรรษที่ 8-9 ต่อมาได้เป็นเมืองหลวง อาณาจักรต้าหลี่ ในปี พ.ศ. 1480-1796 และยังเป็นศูนย์กลางการเคลื่อนไหวของกลุ่มกบฎจีนมุสลิม (จีนฮ่อ)พระว่างปี พ.ศ. 2399-2406      ต้าหลี่ยังมีชื่อเสียในฐานะเป็นแหล่งผลิตหินอ่อนหลากหลายชนิด ซึ่งนำมาใช้ในการก่อสร้างและประดับตกแต่งอาคาร ดูอัลบั้มทั้งหมด      ยูนนานเป็นแหล่งอารยธรรมชนเผ่าต่างๆ ที่เก่าแก่นับพันปี การขุดค้นพบยืนยันว่ามีมนุษย์ที่มีอารยธรรมอาศัยอยู่มากกว่า สองพันปี ในช่วงสมัยสามก๊กเป็นถ่อนของชนเผ่าใหญ่ 6 กลุ่ม อำนาจราชสำนักจากจงหยวนไม่สามารถแผ่ขนยมาถึงดินแดนส่วนนี้      ในสมัยจักรพรรดิถังเสวียนจง ก็เช่นเดียวกัน จักพรรดิถังเสวียนจงจึงแต่งตั้ง พีเล่อเก๋อจากเผ่าหมิงชี่ขึ้นเป็นกษัตริย์แห่งยูนนาน พีเล่อเก๋อจึงก่อตั้งอาณาจักรหนานจ้าว(น่านเจ้า)ขึ้นมา

Mongke Khan

รูปภาพ
เจ้าชายบาตู    โอโกไตข่านได้รับการยั่วยุจกบรรดาขุนนางเกี่ยวกับเจ้าชายตูลิ จึงเกิดความระแวง จึงแสร้งทำเป็นป่วยและทรงให้เจ้าชายตูลิเข้าเฝ้าเป็นการด่วน เมือเจ้าชายตูลิรู้ข่าวจึงรีบมา หมอหลวงจึงทูลว่าต้องมนต์ดำ ทางแก้คือจะต้องให้ผู้เป็นน้องรับเคราะห์แทนจึงจะหายประชวร เจ้าชายตูลิด้วยความห่วงพระเชษฐามิรู้ว่าเป็นกลจึงรับพิธีล้างเคราะห์  โอโกไตข่านเมือได้รู้ถึงความภักดีจึงรู้สึกโทมนัสที่คิดระแวงน้อง        เมือเจ้าชายตูลิขณะกำลังจะสิ้นพระชนม์ โอโกไตข่านจึงให้สัตย์สัญญากับเจ้าชายตูลิว่าหากพระองค์สวรรคตเมือได โอรสองค์โตของตูลิจะได้ขึ้นครองราช… เจ้าชายคูยัค       ในปี ค.ศ. 1242 กองทัพมองโกลบุกเข้าถึงนคราเวียนนาที่งดงามแห่งหนึ่งในยุโรปทัพมองโกลตั้งค่ายล้อมเมืองเตรียมบุกครั้งใหญ่ ข่าวการสวรรคตอย่างกระทันหันของโอโกไต ข่านจึงมาถึงกอลทัพมองโกล เจ้าชายบาตูจำต้องถอยกำลังออกจากยุโรปเพื่อกลับไปเลือก คาฆานองค์ต่อไป ณ กรุงคาราโครัม     เจ้าชายบาตู ข่าน ผู้พิชิตยุโรป     เจ้าชายมองเก้ โอรสองค์โตของเจ้าชายตูลิ     เจ้าชายคูยัค ข่าน โอรสองค์โตของโอโกไตข่าน เจ้าชายมองเก้         

Magyarország

รูปภาพ
      ในวันรุ่งขึ้น กองทัพมองโกลอีสายนำโดยเจ้าชายบาตูข่าน นำทัพหลวงเข้าสู่ฮังการี และเตรียมการเข้าล้อมเมืองบูดาและเปสต์(ในเวลานั้นแบ่งเป็นสองนครด้วยแม่น้ำดานูบ) กองทัพฮังการีและผร่างเศสเคลื่อนพล 70,000 นายตั้งมั่น ณ หมู่บ้านโมฮี ริมฝั่งแม่น้ำซาโต มองโกลสามารถเข้าประชิดค่าย       มองโกลใช้ยุทธวิธีล้อมค่ายและ่ก่อกวนทุประเภท ปฏิบัติการทางจิตวิทยาที่ได้ผลของโมงโกลคือทหารและอัศวินฮังการีไม่เคยเจอวิธีการและอาววุธแบบนี้(ระเบิดควัน ระเบิดไข่เน่า ระเบิดเสีย และประทัด) จึงเสียขวัญ การล้อมและข่มขวัญดำเนินไป 6 วัน เจ้าชายบาตูจึงส่งกองทัพเข้าโจมตีค่ายและสามารถหักค่ายเข้าไปได้ เจ้าชายบีลารีบนำกองทัพหนีไปทางตะวันตกอย่างเร่งด่วน ในศึกครั้งนี้เจ้าชายบิลาเสด็จหนีไปได้แต่กองทัพฮังการี 70,000 นายตายทั้งหมด       เมื่อกองทัพมองโกลสายโปแลนด์โจมตีเมืองต่าง ๆ ตามรายทางจนสิ้นและมาถึงฮังการี กองทัพมองโกลทั้งสองสายจึ่งเ้ข้าล้อมกรุงบูดาและเปสต์ไว้ แต่เมืองนี้ไร้กองกำลังคุมกันเมือง มองโกลจึงจึงบุกเข้ายึดและทำลายจนพินาศในที่สุด....               โยไกลา หรือ สมเต็จพระเจ้าวลาดิสเลาสที่ 2 แห่งโปแลนด์ ทรงปกคร

Polska&........

รูปภาพ
      ประวัติศาสตร์บนเส้นขนาน โปล ฮังกาเรียน บ้านพี่เมืองน้อง แม้จะด้อย ถ้อยคำแต่อันแน่นไปด้วยประสบการณ์การ จากประวัติศาสตร์ที่เปรียบดังสายใยเชื่อม โยงชาติใจกลางยุโรปทั้งสองนี้ไว้ด้วยกัน ตราบนานเท่านนาน      ความพ้องพานและผิดแผกที่ฮังการีและโป แลนด์พานพบบนทางขนานของประวัติศาสตร์      ฮังการรีและโปแลนด์ตั้งมั่นเป็นอาณาจักร ปกครองตนเองในเวลาไล่เลี่ยกัน ในศตวรรษที่ 10 โดยสวามิภักดิ์ต่อคริสตจักรเพื่อสร้างความชอบ ธรรมและการยอมรับจากชาติอื่น ๆ    ปลายยุคกลางอาณาจักรทั้งสองเป็นรัฐกันชน ระหว่างอาณาจักรโรมันกับชนเผ่านอกรีตทั้งด้าน ใต้และด้านตะวันออก ขณะเดียวกันต้องเผชิญกับ การโจมตีจากมองโกลและพวกเติร์ก          หลังจากพิชิตดินแดนรัสเซียแล้วกองทัพมองโกล ตั้งฐานเพื่อพักไพร่พล และเรียกเกณฑ์กำลังเสริมจาก รัฐเซียด้วย     ชาวคูมานส์ ซึ่งเป็นเผ่าเร่ร่อนทำสงครามกับมองโกล และแตกพ่ายไปเข้ากับกษัตริย์เบลาที่ 4 แห่งฮังการีกว่า 200,000 คน โดยยินยอมเปลี่ยนมานับถือคาทอลิก     กษัตริย์ทรงเล็งเห็นว่าจะช่วยสงเสริมฐานะของพระองค์ ต่อองค์สันตะปาปา และชาวคูมานส์ยัง