WWI:Battlesship

   อังกฤษแสดงให้เห็นถึงการเป็นจ้าวแห่งทะเลกว่าศตรวรรษในยุทธนาวีจัตแลนด์ เป็นการปะทะเต็มอัตราศึกของกองทัพเรือทั้งสองฝ่าย ใช้เวลา 2 วัน ในทะเลเหนือนอกคาบสมุทรจัตแลนด์ แม้ผลของยุทธนาวีไม่มีฝ่ายใดแพ้ชนะ แม้กองเรื่อเยอรมนี่สมารถหลบหนีกองเรืออังกฤษที่มีกำลังเหนือกว่า และถึงแม้จะสร้างความเสียหายให้แก่กองเรืออังกฤษได้มากกว่า แต่ในทางยุทธศาสตร์ ฝ่ายอังกฤษแสดงสิทธิในการควบคุมทะเล และกองเรือผิวน้ำส่วนใหญ่ของเยอรมนีถูกกักอยู่แต่ในท่ากระทั่งสงครามยุติMap_of_the_Battle_of_Jutland,_1916.svg
     เมื่อพระเจ้าไกเซอร์ที่ 2 ขึ้นครองราชย์ ทรงเป็นกษัตริย์ที่สนพระทัยและให้ความสำคัญในกิจการทหารเรือเป็นอยางมาก ทรงกำหนดนโยบาย พัฒนาสมุทานุภาพ เสริมสร้างกำลังทางทะเลเพื่อคุ้มครงอการค้าขายำบต่างชาติ อันจะเป็นหนทางของอาณาจักร เพื่อก้าวขึ้นสู่การเป็นประเทศมหาอำนาจของโลกในที่สุด
    ราชนาวีอังกฤษจับตาการเติบโตอย่างไม่กระพริบตาประเมินว่าจะเป็นปัญหาต่อตนหรือไม่ จึงมีการแข่งขันการเสริมสร้างกำลังทางเรือขนานใหญ่ระว่างสองประเทศ รวมถึงการแบ่งข้างตั้งกลุ่มขึ้นอย่างชัดเจนเพื่อให้การคุ้มครอง การค้าทางทะเลและเป็นเหตุผลหนึ่งของสงครามโลกครั้งนี้
     เมื่อเข้าสู่สงคราม เยอรมันจึงตระหนักว่าแสนยานุภาพทางทะเลเทียบได้เพียงครึ่งของฝ่ายอังกฤษ และด้วยความได้ปรียบทางภูมิศาสตร์ ที่ตั้งเกาะอังกฤษสามารถปิดกั้นทางออกสู่ทะเลของฝ่ายเยอรมัน กองเรือทะเลลึกของเยอรมันจึงด้อยประสิทธิภาพ
     ฝ่ายเยอรมันรับรู้ถึงข้อเสียเปรียบนี้ครั้นจะบุกเข้าสู้ซึ่งๆ หน้าก็เกรงกริ่งอยู่ จึงใช้วิธี “ร้องท้าหน้าค่าย” หว้งจะให้อักฤษออกมาสู้รบด้วยซึ่งก็เป็นไปดังที่ฝ่ายเยอรมันคาดไว้ แต่กองเรือที่ออกมารบของอังกฤษนั้น..
      โดยประมาณที่มีการบันทึกไว้ เป็นการปะทะกันด้วยเรื่อผิวน้ำทั้งสิ้นทางฝ่ายอังกฤษมีประมาณ 150 ลำฝ่ายเยอรมันกว่า100ลำ เป็นการประทะในแบบเรือต่อเรือ ลำต่อลำ ปืนกระบอกต่อกระบอกคือเป็นการดวลกันนั้นเอง
       ทางด้านขวัญและกำลังใจของทหารเยอรมนีไม่เป็นรองฝ่ายอังกฤษ ซึ่งเทคโนโลยีบางอย่างเหนือกว่าทางฝั่งอังกฤษด้วยซึ่งทางฝ่ายอังกฤษก็ยอมรับในประเด็นนี้(เรื่อต่อใหม่ทันสมัยกว่า) ฝ่ายเยอรมนีสูญเสียทหาร 2,500 นาย ฝ่ายอังกฤษสูญเสียกว่า 6,000 พันนายซึ่งส่งผลให้บรรดาทหารในกองเรือเกิดความฮักเหิมคะนองเพราะมองด้วยสายตาตนแล้วฝ่ายตนได้เปรียบ แต่ฝ่ายยุทธศาสตร์กับมองในทางตรงกันข้าม..เยอรมันจะสูญเสียไปมากว่านี้ไม่ได้แล้ว จึงเปรียนบทบาทจากการรุกเป็นเพียงการรุกรานจากกองทัพเรืออังกฤษ
   จากเหตุผลดังกล่าวและความเหนือกว่าทั้งทางยุทธศาสตร์และจำนวนของอังกฤษ ฝ่ายบรรดาทหารซึ่งเห็นว่าจะต้องแพ้สงครามทั้งที่สงครามไม่แพ้จึงเกิดเป็นการสั่งสมและนำสู่การปฏิวัติรัฐประหาร การสละราชย์ของไกเซอร์ที่ 2 และนำมาสู่การสิ้นสุดของสงครามในที่สุด…











ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)