WWII:Auschwitz

     การฆ่าล้างเผ่าพันธ์ คือ การกระทำอย่างเป็นระบบและไตรต่องไว้ก่อนเพื่อทำลายกลุ่มชาติพันธ์ กลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มชนในชาติ หรือกุล่มชนทางศษสนาทั้งกลุ่มหรือส่วนใหญ่ “อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้าเผ่าพันธ์ หมายถึง “การกระทำอย่างหนึ่งอย่างใดโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำลายกลุ่มชาติพันธ์ กลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มชนในชาติ หรือกลุ่มชนทางศษสนาทั้งกลุ่มหรือส่วนใหญ่ เป็นต้นว่า ฆ่าสมาชิกของกลุ่ม กระทำให้สมาชิกของกลุ่มถึงแก่พิกลพิการอย่างหนักทางกายภาพหรือจิตภาวะ กระทำโดยไตรตรองหรือโดยคากการณ์ไว้แล้วเพื่อให้เกิดแก่หรือนำพามาสู่สมาชิกของกบุ่มซึ่งทุกขเวทนาในสภาพความเป็นอยู่ กระทำโดยมาตรการใด ๆ เพื่อมิให้มีการถือกำเนิดของทารกภายในกลุ่ม หรือใช้กำลังนำพาผู้เยาว์ในกลุ่มไปยังอีกกลุ่มหนึ่ง
     โดยในคำปรารภแห่งอนุสัยญาดังกล่าว ว่าได้เกิดกรณีตัวอย่างในการฆ่าล้างเผ่าพันูขึ้นแล้วหลายครั้งหลายคราในประวัติศาสตร์โลก แต่ที่จริงแล้วคำว่า “genocide”นั้นเพิ่งได้รับการประดิษฐ์โดยนายราฟาเอล เลมคิม นักนิติศาสตร์โปแลนด์ ยิว ปละประชาคมโลกเพ่งยอมรับนิยามของ “ฆ่าล้างเผ่าพันธ์” อย่างเป็นทางการภายหลังความหายนะที่นูเรมเบิร์ก
     ปัจจุบัน ความผิดฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เป็นอำนาจหน้าที่ของศาลอาญาระหว่างประเทศที่จะดำเนินกระบวนยุติธรรม แต่ก่อนหน้านี้ระหว่างที่ประชุคมโลกกำลังช่วยกันประดิษฐ์ศาลดังกล่าว เป็นอำนาจหน้าที่ของคณะตุลาการของคณะตุลาการเฉพาะกิจระหว่างประเทศจนกระทั่งธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหวางประเทศมีผลใช้บังคับในวันที่ 1 กรกฏาคม 2002
      นอกจากนี้ นับแต่อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันูมีผลใช้บังคับในเดือนมกรตั้งแต่ปี 1948 เป็นต้นมา กว่า แปดสิบประเทศทังโลกใช้และปรับปรุงกฏหมายภายในเพื่ออนุวัติอนุสัญญาดังกล่าว
     ปัจจุบัน ความผิดฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เป็นอำนาจหน้าที่ของศาลอาญาระหว่างประเทศที่จะเเนนกระบวนยุติธรรม แต่ก่อนหน้านี้ระหว่งที่ประชาคมโลกกำลังช่วยกันประดิษฐ์ศาลดังกล่าว เป็นอำนาจหน้าที่ของคณะตุลาการเฉพาะกิจระหว่างผระเทศกระทั้งธรรมนูญกรุงโรมวาด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศมีผลใช้บังคับในวันที่ 1 กรกฎาคม 2002
      ชาวยิวเป็นชนที่ไม่มีแผ่นดิน เป็นชนกลุ่มน้อยอาศัยอยู่แถบชายแดนของปาเลสไตล์ เมือประชกรยิวเพิ่มมากขึ้น จนเกิดปัญหาเรืองที่อยู่ บางประเทศจึงโอบอุ้มเข้าไปในประเทศ และประเทศที่รับเข้าไปมากที่สุดคือ เยอรมัน ฮิตเลอร์เริ่มรู้สึกว่าชาวยิวมุ่งเป้ามาที่เยอรมัน ซึ่งยิวแรกซึมอยู่ทั่งอยเรมัน และรอให้เยอรมันล่มสลาย คนยิวมีความฉลาดหลักแหลม เข้าทำงานในทุกธุรกิจของเยรมัน โดยเฉพาะธุรกิจรถยนต์ ซึ่งขณะนั้นเยอรมันเป็ฯผุ้ผลิดตายแรกที่ส่งรถยนต์ออกขาย เมื่อเวลาเนินนานชาวยิวเป็นเจ้าของทุกธุรกิจ ยกเว้นทางด้านการทหาร..
      ขบวนการฆ่าล้างเผ่าพันธ์ยิวเริ่มขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อฮิตเลอร์ขึ้นปกครองประเทศโดยชอบธรรมตามกฏหมาย ฮิตเลอร์โยนความผิดและปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดในเยอรมันในเวลานั้นว่าเป็นความผิดของชาวยิว พรรคนาซีไล่ต้อนชาวยิวไปอยู่อาศัยในบริเวณกักกัน ชาวยิวต้องมารับเคราะห์โดยไม่รู้ว่านาซีต้องการสิ่งใดกันแน่ ชาวยิวบางคนฆ่าตัวตายเพราะความหมดหวัง
     ในความเป็นจริงแล้วในครั้งที่ฮิตเลอร์ยังไม่ขึ้นครองอำนาจก็มีขบวนการต่อต้านชาวยิวอยู่ก่อนแล้ว ประเทศที่ร่วมเป็นพันธมิตรกับเยอรมัน โรมาเนียต้องรับผิดชอบในการตายของชาวยิวมากกว่าประเทศอื่น ที่เข้าร่วมกับเยอรมัน โรมันเนียสังหารชาวยิวร้อยละ 10 ที่เมืองเบสซาราเบีย ทางตอนเหนือของเมืองบูโกวิน และเมืองทรานสนิสเตรีย ส่วนการสังหารครั้งใหญ่อีกหลายครั้ง
     และอีกเหตุผลหนึ่งคือการแปรพักตร์ของชาวยิวไม่ส่งเสบียงให้กองทัพเยอมันในแนรบตะวันตกในสงครามโลกครั้งที่ 1เป็นเหตุให้เยอรมันแพ้สงคราม  และเหตุผลที่น่าสนใจไม่แพ้กันคือเหตุทางการเมือง
     ชาวยุโรปเกลียดยิวอยู่ก่อนแล้ว จากหลายสาเหตุ ตั้งแต่ก่อนยุคกลางชาวยิวเมืออยู่ในประเทศไหนก็เกาะกลุ่มกันและกีอกันคนนอก สร้างสังคมปิดเล็กๆ ใของตนในสังคมใหญ๋ของประเทศอื่นๆ เป็นเพราะชาวยิวไม่ยอมรวมกับชนชาติอื่น การปล่อยเงินกู้ ศาสนาคริสต์หากคิดดอกเบี้ยจะผิดหลักศาสนามีเพียงชาวยิวที่ปล่อยเงินกู้และคิดดอก ชาวคริสต์บางกลุ่มยังเชื่อว่าชาวยิวคือกลุ่มคนที่สังหารพระเยซู โดยยืมมือโรมัน ความเกลียดชังยิวจึงเป็นแรงที่ฮิตเลอร์ใช้ปลุกระดมคนในชาติซึ่งได้ผลเป็นอย่างดี
     เอาชวิทซ์ เป็นค่ายกักกันและค่ายมรณะที่ใหญ่ที่สุด หลังการบุกครองโปแลนด์ “ออซเฟียนชิม”ของโปแลนด์ก็ถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของนาซีเยอรมันและเปลียนชือ่เป็นเอาชวิทซ์ ซึ่งเป็นชื่อในภาษาเยอรมัน ประชาการกว่า สามล้านคนเสียชีวิตที่ค่ายกักกันนี้ ร้อยละ 90 เป็นชาวยิวจากเกือบทุกประเทศในยุโรป วันปลดปล่อยค่ายกักกันคือวันที่ 27 มกราคม 1945 โดยกองทัพแดงของโซเวียต และเป็นวันที่รำลึกถึงเหตุการณ์การฆ่าล้างเผ่าพันธ์นานาชาติ

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)