บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กรกฎาคม, 2013

World Political(Cold War)

รูปภาพ
     สัมพันธ์ภาพสามเส้าระหว่างจีน รุสเซียและสหรัฐอเมริกาเป็นปัจจัยมที่สำคัญของการเมืองโลกาในช่วงสงครามเย็น ซึ่งเป็นช่วงเวลาหลังจาก สงครามเวียดนาม วิกฤติการณ์เชโกสโลวะเกีย และกรณีพิพาทระหว่างจีนและรัสเซียทวีความซับซ้อนมากขึ้นตามลำดับ     รุสเซียมีเหตุต้องกังวลสองประการ คือ สัมพันธภาพระหว่างตนกับยุโรป และระหว่างตนกับตะวันออกกลาง นับวันสัมพันธภาพกับสองภูมิภาคนั้นได้ทำให้รุสเซียบังเกิดความยากลำบากมากขึ้นในการดำเนินนธยบายที่จะแทรกแซงโดยไม่ต้องการเผชิญหน้ากับสหรัฐอเมริกา การรณรงค์พิทะษ์ลัทธิคอมมิวนิสต์และการแสวงหาอำนาจอิทธิพลในตะวันออกกลางสิ้นเปลืองมากสำหรับรุสเซีย และเสี่ยงต่อการก่อสงครามมากรุสเซียตั้งแต่ ค.ศ.1968 มีจุดประสงค์แน่วแน่ที่จะตึงพลังวกำลังของตนในโลกคอมมิวนิสต์มิให้แตกแยกมากขึ้นและแสวงหาอำนาจอิทธพลใรตะวันออกกลางและโลกที่สาม แต่ปัญหาดูจะมีอยู่ว่า รุสเซียจะดำเนินนโยบายอยู่ร่วมกับสหรัฐแมริกาและจีนโดยสันติด้วยมาตรการใดสัมพันธภาพระหว่างจีนกับรุสเซีย และระว่างรุสเซียกับสหรัฐอเมริกาจะแยกความสำคัญออกจากกันมิได้อย่งเด่นชัด รุสเซียเพร้อมที่จะเจรจากับทั้งสองประเทศ แต่จักยืนหยัดในควารมเป็น

Leonid Brezhnev

รูปภาพ
    รุสเซียภายใต้คณะผู้นำใหม่ประกอบอ้วยบุคคลสำคัญคือ  เลโอนิค เบรสเนฟ เลขาธิการพรรค,อเล็กซีโคลซีกิน นายกรัฐมนตรี, นิโคลัย พอดโกนี ประมุขแห่งรัฐ และมิคาอิล ซุสลอฟ ผู้ประสานงานสัมพันธภาพระหว่างรุสเซียกับพรรคคอมมิวนิสต์ทั่วโลก      รุสเซียภายใต้การนำโดยหมู่คณะต่างเห็นพ้องต้องกันว่า ครุสเชฟได้ใช้วิธีค่อนข้างเสียงท้าทายโลกเสรีเกิดความจำเป็น เช่นในกรณีอเบอร์ลินและวิกฤติการณ์คิวบา คณะผู้นใหม่ตระหนักว่า การข่มขู่ใช้กำลังอาวุธก็ดี แสดงตนเผชิญหน้าก็ดี หรือการแสดงทีทาเสี่ยงก้าวร้าวรุกรานก็ดี ล้วนเป็นวิธีการที่ไม่ความเสียงในภาวะที่รุเซียเองไม่อยู่ในฐานะพร้อมที่จะรบหรือเผชิญหน้าอี เพราะสถานกาณ์โลกเปลี่ยนแปลงไปมากแล้ว และสำคัญที่สุดคือ ดุลยภาพแห่งอำนาจโลกได้เปลี่ยนแปลง โดยเหตุที่จีนและฝรั่งเศสกลายเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์แล้ว โลกที่สามกำลังเพิ่มจำนวนสมาชิกมากขึ้น เป็นพลังที่รุสเซียควรสนใจหาเสียทาบทามเป็นมิตรมากกว่าก่อศัตรู โลกก้าวสู่วันเวลาที่รุสเซียและสหรัฐสิ้นสุดอำนาจเผด็จการบงการโลกดังที่เคยกระทำ และ อาวุธนิวเคลียร์สร้างอันดับฐานะทางการเมืองได้ผล แต่ไม่อาจจะทำให้รุสเซียแผ่ขยายอำนาจอิทธิพลไปทั่วโลก

Richard M. Nixon (part 1)

รูปภาพ
     สหรัฐอเมริการภายใต้การนำของประธานนาธิบดีริชาร์ด เอ็ม. นิกสัน Richard M. Nixon 1969-1977 ประธานารธิบดี จิมมี่ คาเตอร์ Jimmy Carter 1977-1981ความคลุมเครือน่าสงสัย มัวหมองอับจนและไม่แนนอนในทศวรรษที่ 1970 ปรากฏเด่นชันทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม สืบเนื่องมาจากคดีอื้อฉาววอเตอร์เกทปี 1972 ซึ่งเกิดจากพรรคพวกของประธานาธิบดีนิกสันส่งคนไปทำจารกรรมในอาคารวอเตอร์เกทซึ่งเป็นศูนย์บัญชาการเลือกตั้งของพรรคเดโมเเครต ซึ่งประธานนาธิบดีรับรู้เรื่องราวและรู้ตัวผู้สังการแต่ปิดังเรื่องราวและปกป้องพรรคพวกผู้รทำผิด ทั้งใช้อำนาจประธานาธิบดีเกินขอบเขตคือปลดและโยกย้ายคณะผู้สอบสวน ตลอดจนไม่ให้ความร่วมมือขัดขวางขบวนการยุติธรรมไม่ยอมมอบเทปตาคำสั่งศาล ประธานาธิบดีรู้ตัวว่าผิดจริงจึงตัดสินใจลาออกจากการเป็นประธานนาธิบดี ก่อนจะถูกฟ้องร้อง Impeachment ถอดถอนจากวุฒิสภาออกจากความเป็นประธานาธิบดี      เมื่อเจอรัล อาร์.ฟอร์ด ขึ้นเป็นประธานาธิบดีได้ประกาศให้อภัยแก่อดีตประธานาธิบดีนิกสันที่มีส่วนพัวพันในคดีอื้อฉาววอเตอร์เกท อันมีผลให้คนอเมริกันขาดศรัทธาไม่ไว้วางใจในประธานาธิบดี นักการเมืองและพรรคการเมือง ความมัวหมองท

Comparative Economic System

รูปภาพ
ระบบเศรษฐกิจแต่ละระบบมีแนวโน้มที่จะทำให้เศรษฐกิจก้าวหน้า การศักษาปัญหาขั้นพื้นฐานของแต่ละระบบมีการเปลี่ยนแปลงอย่างใด ระบบเศรษฐกิจแต่ละระบบมีแนวโน้มที่จะทำให้เศรษฐกิจเจริญก้าวหน้าอยางใดบ้างเพื่อเป็นการศึกษาปัญหาขั้นพื้นฐานของแต่ละสังคมที่มีส่วนแตกต่างและคล้ายคลึงกัน      นับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา มีการแข่งขันด้านเศรษฐกิจกันมากโดยเฉพาะรูปแบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมาสเซ๊ยเร่มเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในโลก ในปี 1930 และหลังจากนั้น 20 ปีจึงเกิดกลุ่มประเทศบริวารเกิดตามมา         การวิเคราะห์พื้นฐานรูปแบบของระบบเศรษฐกิจ ต้องทราบปัจจัย คือ ชาตินิยม สังคม,ความสัมพันธ์กับวิชาแขนงอื่นพอควร,ปรัชญา,โครงสร้างระบบเศรษฐกิจ      หน้าที่ของกลไกทางเศรษฐกิจ คือ ตัดสินว่าใคร หน่วยใด จะเป็นผุ้มีอำนาจตัดสินใจด้านเศรษฐกิจ เกี่ยวข้องกับทางเศรษฐกิจ การบริโภค การผลิต รวมั่งตัดสินจในรูปใด โดยมีเป้าหมายวัตถุประสงค์เป็ฯสำคัญ โดยเป้าหมายคือ      .. จะทำอย่างไรจึงจะใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพ      ..ก่อให้เกิดการกระจายรายได้ที่เป็ฯธรรมให้เท่าเทียมกัน      .. ความเจริญทางด้านเศรษฐกิจเป็นที่ตั้ง สั

Ideology

รูปภาพ
     นโยบายปฏิวัติโลกควรมีวิธีปฏิบัติอย่างไร นี้เป็นประเด็นหนึ่งที่ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างรุสเซียกับจีนต้องแตกร้าวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เดิมที่ นโยบายปฏิวัติโลกย่อมถือวิธีปฏิวัติของรุสเซียเป็นแม่แบบ แม้ว่าการเป็นคอมมิวนิสต์ของประเทศต่าง ๆ อาจมีวิธีปฏิบัติแต่หลัการคงเดิมเป็นที่ยอมับในวิธีปฏิวัติของรุสเซีย      ในฐานะเจ้าลัทธิและผุ้นำโลกคอมมิวนิสต์และผุ้นำบรรดาพรรคคอมมิวนิสต์ทั่วโลก รุสเซียได้กำหนดแล้วว่า การพัฒนาประเทศไปสู่ระบอบสังคมนิยมของโลกคอมมิวนิสต์  ต้องยึดถือวิธีปกิบัติแบบรุสเซียเท่านั้น การสัมพันธ์กับโลกภายนอก รุสเซียเป็นปต่ผุ้เดียวที่จะกำหนดวินิจฉัยนโยบาย โลกคอมมิวนิสต์เป็นแต่ฝ่านสนองตอบเท่านั้น ความเป็นหนึ่งในทางลัทธิอุดมการณ์ได้ถูกท้าทายมาแล้วตั้งแต่ ปี 1948 เมื่อยูโกสลาเวียยืนกรามที่จะเป็นคอมมิวนิสต์อิสระไม่ขึ้นต่อรุสเซีย สามารถพัฒนาประเทศโดยวิถีทางอื่น และเปิดความสัมพันธ์กับโลกภายนอก นับเป็นการท้าทายอย่างหนักแน่นจริงจังและเป็นตัวอย่างแก่โลกคอมมิวนิสต์ว่า รุสเซียไม่สามารถครองความเป็นหนึ่งทางลัทะอุดมการณ์ได้อย่างแท้จริงตั้งแต่ปี 1948 แล้ว     ภายหลังอสัญญกรรมของสตาลิน อุดม

Case study Russia & China

รูปภาพ
     ความสัมพันธ์ระหวางจีนกับรุสเซียซึ่งต่างก็ชื่นชมว่าเป็นความสัมพันธ์อันแน่นแฟ้นลึกซึ้งนั้นจะถึง จุดจบเร็วเช่นนี้ และจบลงอย่างปัจจุบันทันด่วน ต่างฝ่ายต่างประณามอีกฝ่ายว่าเป็นผู้ทำลายความสัมพันธ์ต่างโฆษราชวนเชื่อชักจูงให้บรรดาประเทศใหญ่น้อยทั้งในและนอกโลกคอมมิวนิสต์ให้สนับสนุนฝ่ายตนและเป็นปฏิปักษ์ต่ออีกฝ่าย ต่างฝ่ายต่างพยายามทุกวิถีทางที่จะแสดงในใครต่อใครได้รู้ว่า ฝ่ายตนเป็นฝ่านมีสัจธรรมโดยเปิดเผยสัมพันธภาพระหว่างกันแต่อดีตให้เนที่ปรากฎ หลักฐานเอกสารการติดต่อกันในทุกรูปแบบทุกลักษณะที่มีต่อกันได้ถูกตีพิมพ์เปิดเผยออกมา แล้วต่างฝ่ายต่างก็กล่าวหาวาอีกฝ่าย “สาวไส้ให้กากิน” และเป็นฝ่ายบ่อนทำลายความสามานสามัคคีของโลกคอมมิวนิสต์      ความร้าวฉานอย่างรุนแรงเป็นเหตุการณ์หนึ่งที่สำคัญมากในวงการเมือง ที่สะท้อนผลไปทั่วโลกมากที่สุด อีกทั้งอำนวยประโยชน์แก่ฝ่ายตรงข้าม คือ “โลกเสรี”อย่างที่สุด ซึ่งฝ่ายโลกเสรีมีกาตื่นตัวเรียนรู้วิเคราะห์วิจัยความแตกร้าวและคาดคะเนรูแบบความสัมพันธ์ในอนาคตของสองมหาอำนาจในโลกคอมมิวนิสต์ไปต่าง ๆ นานา การเปิดเผยหลักฐานระหว่งกันต่อชาวโลกได้ขจัดความสงสัยของผู้ที่ติดตามความเค

JFK

รูปภาพ
      เพื่อเตรียมการเลือกตั้งประธานาธิบดีในเดือนพฤศจิกายน 1964 ด้วยเหตุผลทางการเมืองประธานาธิบดีเคนเนดี้จำเป็นต้องเดินทางเยื่อฟลอริดาและเท็กซัสซึ่งเป็นสองรัฐที่มีประชากหนาแน่นที่สุดในกลุ่มรฐทางใต้เพื่อเรียกคะแนนนิยมจากประชาชน โดยเฉพาะการเยื่อนเท็กซัสมุ่งเพื่อสมานรอบร้าวพรรคเดโมแครคให้เป็นหนึ่งเดียวก่อนการเลือกตั้งประธานาธิบิปี 1964 เพราะประธานนาธิบดีเอคนเนดี้มีแผนลงรับเลือกเป็นประธานาธิบดีสมัยที่สอง ก่อนเยื่อนเท็กซัสประธานาธิบดีเคนเนดี้ได้รับการเตื่อ นว่าอาจถูกชาวเท็กซัสประท้วงต่อต้าน บุคคลสำคัญผู้ร่วมเดินทางกับประธานาธิบดีเคนเนดี้ประกอบก้วยภรรยารองประธานาธิบดีลินคอน บี. จอห์นสัน และภรรยา เครื่องบินถึงดัลลัส,เท็กซัสเวลา 11.37น.ของวันที่ 22 พฤศจิกายน 1963 ตามกำหนดการกำหนดว่าขบวนรถของประธานธิบดีจะแล่นผ่านถนนสายสำคัญของเมืองดัลลัสปลายทางที่อาคารศูนย์การค้าดัลลัส จะขึ้นกล่าว ปราศรัยแก่นักธุรกิจและชาวดัลลัสภายหลังเสร็จสิ้นรับประทานอาหารกลางวันในทางปฏิบัติ เมื่อถึงดัลลัสรถเปิดประทุนเทียบรอรับประธานาธิบดีและภรรยา ผุ้วาการัฐเท็กซัส จอห์น บี.คอนเนลลี และภรรยานั่งเบาะหลังคนขับ โดยผู้ว่าการรั

๋Japan After WW2

รูปภาพ
     พันธมิตรมอบหมายให้สหรัฐอเมริกาทำหน้าที่ปกครองญี่ปุ่นในช่วงการยึครอง องกณืคอารสำคัญที่ทำหน้าที่คือ กองบัญชาการสูงสุดสำหรับมหาอำจานพันธมิตร ผู้บัญชาการทหารสูงสุดคือนายพลดักลาส  การปกครองและการพัฒนาญี่ปุ่นเลียนแบบอย่างจากอเมริกา ถึงกระนั้นการยึดครองญี่ปุ่นก็บรรลุจุดประสงค์หลักของพันธมิตรตามที่ได้ร่างโครงการเป็นนโยบายต่อญี่ปุ่นภายหลังญี่ปุ่นแม้สงคราม           นายพลแมคอาเธอร์เปรียบดังโชกุนผิวขาวในสายตาญี่ปุ่นการนิรมิตรญี่ปุ่นจึงเป็นไปตามอุดมคติมากกว่าการปฏิวัติ       องการสแค็ปได้สร้างญี่ปุ่นเป็นรัฐปลอดทหารโดยการทำลายกำลังแสนยานุภาอย่างเป็นขั้นตอน ที่สำคัญคือ การทำลายกองทัพ อาวุธยุทโธปกรณ์ ยุบหน่วยราชการทหาร สลายกำลังพลกว่า 2 ล้านให้คือถ่นกำเนิด อพยพทหาร 3 ล้านนายจากดินแดโพ้นทะเลที่ญี่ปุ่นยึดครอง ให้กลับคืนประเทศ และสลายกำลังพล ดินแดนต่าง ๆ ที่ญี่ปุ่นครอบครองมอบคืนแก่เจ้าของเดิม หรือเป็นเอกราชตามหลักว่าด้วยเชื้อชาติ ญี่ปุ่นสิ้นสุดเขียวเล็บตั้งแต่นั้นมา มาตราที่ 9 แห่งรัฐธรรมนูญญี่ปุ่นได้ย้ำความสำคัญนี้ด้วยว่า ญี่ปุ่นจะใฝ่สันติและประณามสงครา มาตรานี้ได้ปิกั้นญี่ปุ่นมิไสร้างกำลังแสนยา

Berliner Mauer

รูปภาพ
    ครุสซอฟมีความหวังมากกว่า เมื่อสหรัฐอเมริกามปรธานาธิบดีคนใหม่แล้วการเจรจาเรื่องเบอร์ลินอาจจะง่ายขึ้นกว่าเดิม ดังจะเห็นได้ว่า ครุสซอฟเสนอให้มีการพบกันที่เวียนนา แต่เมือ่ได้พบกันในเดือนมิถุนายน ก็มิได้มีการอันใดก้าวหน้า เว้นเสียแต่ว่า ครุสเชฟ ได้แจ้งแก่เคนเนดีว่า ถ้าตะวันตกยังไม่ลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพกับเยอมัน ครุสเชฟได้แจ้งแก่เคนเนดี้ว่า ถ้าตะวันตกยังไม่ลงนามในสนธิสัญญาเสริภาพกับเยอรมัน ครุสเซฟจะลงนามในสนธิสัญญากับเยอรมันตะวันออกในเดือนธันว่าคม แลเพื่อยำจุดยืนนั้นใน เวลาต่อมา ครุเชฟได้กล่าวสุนทรพจน์ต่อวงการทหารว่า รุสเซีย้ำการกำหนดระยะเวลาหมดเขตและย้อเจตจำนงที่จะลงนามในสนธิสัญญาแยกต่างหากกับเยอมันตะวันออก ถ้าฝ่ายตะวันตกปฏิเสธที่จะเจรจาด้วย สหรัฐอเมริกาจึงตีความหมายคำพูดนั้นว่าเป็นการลองเชิงทดสอบเจตนารมณ์ของฝ่ายโลกเสรี และสหรัฐอเมริกาได้ตัดสินใจที่จะให้คำตอบในลักษณะของการเพิ่มงลประมาณทหารและเพิ่มศักยภาพทางทหาร รุสเซียจึงยืนบันทึกต่อสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส และเยอรมันตะวันตก โดยแจ้งว่า ควรมีการลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพกับเยอมัน และควรมีการเจรจาเรื่องการติดต่อสื่อสารกับเบอร์ลินตะวั

The Lao People’s Democratic Republic

รูปภาพ
     ตามข้อตกลงเจนีวาแห่งปี 1954 ลาวถูกกำหนดให้เป็นประเทศเอกราชที่ต้องดำรงตนเป็นกลาง และเวียดนามแบ่งเป็นสองประเทศโดยมีเส้นขนานทร่ 17 องศา เป็นเส้นพรมแดนนับแต่นั้นมา อำนาจอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาปรากฎเด่นชัดในเวียดนามใต้และลาว ทั้งสองประเทศได้รับความช่วยเหลือจากสหรัฐมหาศาลเพื่อให้ดำรงความเป็นรัฐต่อไปได้เป็นการต่อต้านภัยคอมมิวนิสต์ภายในคุกคาม ความช่วยเหลือแก่ลาวมากมายนี้เประจยบกับรัฐบาลลาวเองมีทีท่านิยมโลกเสรีมากกว่า ทำให้เวียดนามเหนือและลาวแดง ภายใต้การสนับสนุนของจีนได้ก่อการร้ายขึ้นทั่วประเทศลาวในค.ศ.1959 ภาวะปั่นป่วนจากการที่รัฐบาลมิได้วางตัวเป็ฯกลาง และภัยคอมมิวนิสต์ได้เป็นปัจจัยก่อเกิดการรัฐประหารโดยฝ่ายทหารผู้รักชาติขึ้นในเดือนสิงหาคม 1960 แต่แล้วรัฐบาลใหม่ภายใต้การสนับสนุนของสหรัฐอเมริกาก็ยึดอำนาจคืนได้อีก      วิกฤติการณ์ในลาวยังความตื่นตระหนกมาสู่ปรเทศเพื่อนบ้าน คือไทย นายกรัฐมนตรีสุวรรณภูมาขอให้รสเซียช่วย รุสเซียส่งอาวุธยุทธโธปกรณ์มาให้ทางอากาศ ส่วนใหญ่อาวุธตกไปอยู่ในมือฝายลาวแดง ซึ่งมีกำลัเงพือ่มากขึ้นพอที่จะเป็นกำลังสำคัญในการล้มรัฐบาลลาวและเป็นกำลังแก่พวกเวียดนามเหนือให้แทร

Cuban Missle Crisis

รูปภาพ
     ปี 1962 เมื่อจอห์น เอฟ.เคเนดี้ได้รับเลือกตั้งให้เป็นประธานาธิบดีครุสเซฟได้อ้างง่าตนมีส่วนในชัยชนะด้วย เพราะรุสเซียไม่ยินยอมให้ไอเซนฮาวร์ได้รับความเชื่อถือจามหาชนในเรื่องการประชุมสุดยอดปี 1960 และในเรื่องผ่อนคลายความตรึงเครียด ในระยะแรกความรู้สึกเป็นมิตรมีปรากฎขัดมาก เคนเนดี้ส่งนายเลเวลลิน ทอมป์สัน ติดตามครุสเชฟซึ่งไปเยื่อนไซบีเรียเพื่อทาบทามให้มีการประชุมสุดยอดในปลายฤดูใบไม้ผลิ ณ กรุงเวียนนาหรือกรุงสตอกโฮล์ม แต่ครุสเชฟเล่นแง่ปฏิเสธ ยิ่งกว่านั้น เคนเนดี้เองเริ่มไม่แน่ใจเมื่อครุสเชฟโอ้อวดและขู่จากการทีรุสเซียประสบความสำเร็จในการส่งดาวเทียมสู่อวกาศความปั่นป่วนต่อเกมการเมืองที่ครุสเซฟกระทำต่อเคนเนดี้ จึงเป็นที่มาของความสัมพันธ์ในลักษณะเสมือนสงครามประสาท โดยมีเป้าหมายอยู่ที่เรื่องเบอร์ลินและคิวบาซึ่งรุสเซียถือว่าเป็นเรื่องที่เกียวข้องสัมพันธ์กัน รุสเซยจะใช้คิวบาเป็นเครื่องมือให้ตะวัตกต้องผ่อนปรนแก่รุสเซียในเรื่องเบอร์ลินและเยอรมัน แต่วิกฤตคิวบากลับกลายเป็นเครื่องพิสูน์ว่า เรื่อคิวบาเกี่ยวข้องกับการที่รุสเซียสุดสิ้นหนทางที่จะแก้ปัญหาเบอร์ลินมากกว่า     วิกฤติการณ์คิวบา โดยประเพ