บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ธันวาคม, 2012

ราชวงศ์โรมานอฟ

รูปภาพ
          เป็นราชวงศ์ที่สองและราชวงศ์สุดท้ายของรัสเซียโดยราชวงศ์นี้ปกครองจักรวรรดิรัสเซียตั้งแต่ ค.ศ. 1613-1917 ปฐมกษัตริย์คือ พระเจ้าไมเคิลที่ 1 ได้รับแต่งตั้งภายหลังสมัยแห่งความยุ่งยาก ราชวงศ์นี้ปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์โดยตลอดโดยไม่ยินยิมให้มีการร่างรัฐธรรมนูญ ที่จะเป็นการลดพระราชอำนาจของกษัตริย์แม้ว่าพระเจ้า นิโคลาสที่ 2 จะทรงตั้งสภาดูมาใน ค.ศ. 1905 ก็มิได้มีสิทธิในการออกกฎหมายอย่างเต็มที่ จนเกิดการปฏิวัติใหญ่ในรัสเซียพระเจ้าซาร์นิโคลัสต้องทรงสละราชสมบัติ และถูกปลงพระชนม์โดยกำลังของฝ่ายบอลเซวิค ซึ่งสาเหตุของการปลงพระชนม์เนื่องด้วย พระเจ้าซาร์นิโคลัสเข้าร่วมสงครามและทุ่มงบประมาณไปกับสงครามมากทำให้เศรษฐกิจตกต่ำ ส่งผลให้ประชาชนก่อการปฏิวัติ และทางราชวงศ์ได้พยายามหลบหนีแต่ไม่สำเร็จได้ถูกนำมากักตัวและถูกลอบปลงพระชนม์         ซาร์นิโคลาสที่ 2 เป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายของรัสเซีย แกรนด์ดยุคฟินแลนด์ และพระมหากษัตริย์โปแลนด์โดยสิทธิ์เป็นพระโอรสของสมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซาเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย ราชวงศ์โรมานอฟ ทรงเสกสมรสกับเจ้าหญิงอลิกซ์แห่งเฮสส์และไรน์ ซึ่งต่อไม่ได้รับการเฉลิมพระนามเป็ฯ ส

Russai Empire

รูปภาพ
    ความเปลี่ยแปลงในรัศเซียเริ่มมีขึ้นในสมัยซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 1 ซึ่งมีแนวความคิดเสรี นิยมกระทั่งคนของซาร์ ถูกลอบสังหาร จึงมีการเปลี่ยนนโยบายทั้งหมด พวกนักปฏิรูปจึงมีการรวมตัวกันอย่างลับๆ เป็นสมาคมอย่างรูปแบบคล้ายในอิตาลี กระทั้งซาร์อเล็กซานเดอร์ สิ้นพระชนม์ และไม่มีพระโอรส สิทธิจึงตกอยู่กับเจ้าชายคอนสแตนตินพระอนุชาซึ่งมีแนวความคิดเสรีนิยมพวกนักปฏิรูปจึงมีความหวังแต่พระองค์ไม่ทรงรับสิทธินั้น บัลลังก์จึงตกเป็นของนิโคลาสซึ่งเป็นพวกหัวปฏิกิริยา ซึ่งไม่เป็นที่พอใจกับพวกหัวปฏิรูป ในช่วงที่ยังไม่ประกาศอย่างเป็นทางการพวกปฏิรูปจึงฉวยโอกาส  ไปแสดงความเคารพเจ้าคอนสแตนติน การกระทำครั้งนี้ทำให้เจ้าชายนิโคลาสมีท่าทีปฏิกริยามากขึ้น ทรงสั่งกำจัดพวกก่อการทั้งสิ้น จึงทำใหแผนการของกลุ่มเสรีนิยมล้มเหลวในที่สุด       ในสมัยการปกครองซาร์นิโคลาสที่ 1 ทรงปกครองด้วยระบบเทวสิทธิ์ เชื่อในอำนาจสูงสุด ในยุคสมัยดังกล่าวได้เกิดมีนักเขียนที่มีชื่อเสียงหลายท่าน นักเขียนเหล่านี้ยังมีบทความโจตีสถาบันการปกครองรุสเซีย นักการศึกษารุ่นใหม่ถกเถียงกันถึงปรัชญาชองชิลลิงและเฮเกล นักการศึกษาแบ่งเป็น 2 กลุ่มทั่งสองกลุ่มถกเถี

Imperialism

รูปภาพ
        มีการวางรากฐานของจักรวรรดิอังกฤษตั้งแต่อังกฤษและสกอตแลนด์ยังเป็นราชอาณาจักรที่แยกจากกัน หลังโปรตุเกศและสเปนประสบความสำเร็จในการสำรวจโพ้นทะเล ถึงกระนั้นอังกฤษก็ไม่มี ความพยายามทีจะก่อตั้งอาณานิคมอังกฤษเพิ่มเติมอีกในทวีปอเมริกเรื่อยมากระทั้งรัชสมัย สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 ในช่วงทศวรรษสุดท้ายของคริสต์ศตวรรษที่ 16 การปฏิรูปโปรแตสแตนต์ทำให้อังกฤษทรงให้นักเดินเรือส่วนตัว จอห์น ฮิว์กินส์ และฟรานซิส เดรก ทำการโจมตีปล้นทาสตามเรือสเปนและโปรตุเกสซึ่งแล่นออกจกาชายฝั่งแอฟริกาตะวันตก โดยมีเป้าหมายเพื่อทำลายระบบการค้าแอตแลนตกิ ความพยายามดังกล่าวถูกยับยั้ง และเมื่อสงครามอังกฤษสเปนทวีความรุนแรงขึ้น สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 ทรงอนุญาตให้ขยายโจมตีแบบโจรสลัดไปจนถึงเมืองท่าของสเปนในทวีปอเมริกาและการเดินเรือที่แล่นข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกกลับมา ซึ่งเรือนี้เต็มไปด้วยทรัพย์สมบัติซึ่งขนกลับจากโลกใหม่ ขณะเดียวกัน นักเขียนที่มีอิทธิพล อาทิ ริชาร์ด ฮัคลุยต์ และจอห์นดี เป็นคนแรกที่ใช้คำว่า “จักรวรรดิอังกฤษ” และเริ่มผลักดันในมีการก่อตั้งจักรวรรดิที่เป็นของอังกฤษเอง ซึ่งในเวลานั้น สเปนได้สร้างถิ

Nationalism

รูปภาพ
              ชาตินิยม คืออุดมการณ์ที่สร้างและบำรุงรักษาชาติในลักษณะที่เป็ฯมโนทัศน์ แสดงอัตลักษณ์ของกลุ่มของมนุษย์ บางทฤษฎี การรักษาลักษณะพิเศษของอัตลักษณ์ การเป็นอิสระในทุกๆเรื่องการกินดีอยู่ดี และการชื่นชมความยิ่งใหญ่ของชาติตนเอง ล้วนจักว่าเป็นคุณค่าพื้นฐานของความเป็นชาตินิยม..       เยอรมัน มีสภาพเช่นเดียวกับอิตาลี คือเป็นกลุ่มรัฐย่อยๆ ที่เข้ารวมกันในนามของสมรพันธรัฐเยอรมัน นโปเลียนยกเลิกอาณาจักรนี้ พร้อมกันนั้นได้รวมดินแดนภาคตะวันตกเฉียงเหนือของเยอรมนีเป็นของฝรั่งเศส จัดตั้งดินแดนส่วนบริเวณตอนกลาง ตั้งขึ้นเป็นสมาพันธ์รัฐแห่งลุ่มแม่น้ำไรน์ โดยอยู่ภายใต้อิทธิพลของฝรั่งเศส และผลักดันออสเตรียออกจากเยอรมนีไปทางตะวันออก และโดดเดียวปรัสเซียให้อยู่ตามลำพัง ให้มีฐานะเป็นัฐกันชนภายใต้ร่มเงาเขตอิทธิพลรัสเซีย การกระทำของนโปเลียนก่อให้เกด การรวมตัวของพลังชาตินิยมขึ้นอย่างเงียบๆ        ศตวรรษที่ 19 ลัทธิโรแมนติคกับลัทธิชาตินิยมมีอิทธิพลเท่าเทียมกัน ในการพัฒราด้านความคิดของชาวเยอรมัน นักเขียน กวี นักแต่งเพลง ของสมัยโรมแมนติค  ได้สอดใส่ความรู้สึกชาตินิยมไว้ในผลงานของตนอย่างเต็มที่ การเชิดชูวีรบุ

Congress of Vienna

รูปภาพ
     ออสเตรียเข้ามามีบทบาทสำคัญตั้งแต่การขัดแย้งระหว่างนโปเลียน และรัสเซีย-ปรัสเซีย ความเกรงกลัวการขยายอำนาจของอเล็กซานเดอร์ที่ 1 ซาร์แห่งรัสเซีย แมททอนิค ไม่เห็นทางใดที่พอจะสกัดอิทธิพลของรัสเซียได้ เขาพยายามสร้างระบบพันธมิตรขึ้นต่อสู้ด้วยมุ่งหวังจะสกัดกั้นอิทธิพลของรัสเซีย แมทเทอนิคทำทุกวิถีทางเพื่อดึงปรัสเซียและรัฐเยอรมันอื่น ไ ให้หลุดพ้นจากอิทธิพลของรุสเซีย และเขาสำนึกถึงความแข็งแกร่งของอังกฤษและอิทธิพลที่จะมีต่อที่ประชุมสันติภาพ เขาจึงตระเตรียมลู่ทางแม้แต่การใช้การเกี่ยวดองระหวางราชวงศ์แฮปสเบิร์กและนโปเลียนมาเป็นเครื่องมือ      กษัตริย์ปรัสเซียไม่สนพระทัยที่จะต่อสู้เพื่อสิ่งหนึ่งสิ่งใด พระเงค์เป็นบุคคลที่ไม่ทำสิ่งใดให้เด็ดขาดชอบนโยบายหลาง ๆ เข้ากับทั้งสองฝ่าย ทุกอยางขึ้นอยู่กับคณะผู้แทนมากกว่ากษัตริย์      อังกฤษเป็นประเทศที่ต้องจ่ายเงินเกือบทั้งหมดในการรบกับนโปเลียนจึงดูเหมือนเป็นเสียงส่วนใหญ่ของที่ประชุมแต่การไม่เป็นดังนั้นท่าที่ของอังกฤษไม่แน่นอน ว่ากันว่าสัญญาได้เซ็นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว อังกฤษมาเจรจาเพี่ยงเรื่องเงิน ผลประโยชน์ในสเปนชิชิลี แฮนโนเวอร์ และที่สำคัญคือปัญหาเบลเยี