บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2013

T- decision

                    การตัดสินใจ   -                       การตัดสินใจคือการกระทำตามที่ตั้งใจเพื่อให้บรรลุผลที่ตั้งไว้ -                       เป็นกระบวนการประเมินผลเกี่ยวกับทางเลือกหรือตัวเลือก หรือตัวเลือกที่จะนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายและการคาดคะเนผลทีเกิดทางเลือกปฏิบัติที่จะส่งผลถึงการบรรลุเป้าหมายได้มากที่สุด -                       คือความสามาถรถในการทำงานหรือการบริหารงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหัวหน้างานหรือผู้บริหารก็คือ การตัดสินใจ การตัดสินใจเปรียบเสมือนหัวใจของการปฏิบัติงานและบริหารงานทั้งนี้เพราะการตัดสินใจจะมีอยู่แทบทุกขั้นตอนและทุกขบวนการของการปฏิบัติงาน แม้แต่บุคคลทั่วไปก็ไม่อาจหลีกเลี่ยงต่อการตัดสินใจได้ คือวิธีการเชิงวิเคราะห์ และเชิงระบบที่ใช้ในการแก้ปัญหาและช่วยทำให้ได้การตัดสินใจที่ดี การตัดสิน หมายถึง การตัใจที่ใช้หลัตรรกศาตร์ด้วยการพิจารณาข้อมูลและทางเลือก หรือกลยุทธ์ที่เป็นไปได้ทั้งหมด จากนั้นใช้วิธีการเชิงปริมาณที่เหมาะสมในการแก้ปัญหา ในบางครั้งอาจได้ผลลัพธ์ที่ไม่น่าพอใจก็ตาม รวมทั้งบางครั้งการตัดสินใจที่ดีมีผลลพธ์ที่ไม่ได้คาดคะเนไว้เกิดขึ้นได้แต่เรายังคงถือว่าเป็นการตัด

Prof nash

            ปี พ.ศ. 2537 คณะกรรมการรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ประกาศให้รางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์แก่ เจ ซี ฮารซานยี่ เจ.เอฟ.และ อาร์.เซลเทน ในฐานะที่ได้ร่วมกันคิดสร้างทฤษฎีเกม ซึ่งมีคุณประโยชน์อเนกอนันต์ ให้นักเศษฐศาสตร์ใช้ในการหาทางออกที่ดีเวลาที่ดีแก้วปัญหาการแข่งขั้นเชิงธุรกิจ เพราะปัญหาต่าง ๆ ทางเศรษฐศาสตร์นั้น สลับซับซ้อนอันเนื่องมาจากการมีตัวแปรต่าง ๆ มากมาย  การตัดสินใจดำเนินการของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง จะมีผลกระทบและเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมและการตัดสินใจของบุคคลรอบข้าง และในขณะเดียวกัยรูปแบบการตัดสินใจของคนรอบข้ารง ก็เป็นตัวกำหนดตัวเลือกในการตัดสินใจของบุค คลนั้นด้วย เมื่อคนทุกคนมีปฏิสัมพันธ์กันเช่นนี้ ทฤษฏีเกมจะช่วยชี้นำรูปแบบการตัดสินใจที่เหมาะสมให้ทุกคนพอใจ             นักคณิตศาสตร์ได้คิดสร้างทฤษฏีเกมขึ้นมาเพื่อวิเคราะห์วิธีเล่นหมากรุก โปกเกอร์ และบริดจ์ เพราะในการเล่นเกมดังกล่าวนี้ การล่วงรู้ใจ ความสามารถและนแวคิดของคุ่ต้อสู้จะทำให้ได้เปรียบ และในเวลาต่อมานักเศรษฐศาสตร์ได้หันมาสนใจศึกษาทฤษฎีนี้บ้าง เพราะคิดจะนำทฤษีนี้ไปใช้ในการวิเคราห์สถานการณ์ทางเศษฐกิจ และต่อมานักวิชาการสาข

โคจร

ภิกษุให้อินทรีย์ทั้งหลายประชุมลง เพราะมีสภาวะเป็นใหญ่ ให้พละ ทั้งหลายประชุมลง เพราะมีสภาวะไม่หวั่นไหว ให้โพชฌงค์ทั้งหลายประชุมลง เพราะมีสภาวะเป็นธรรมเครื่องนำออก ให้มรรคประชุมลง เพราะมีสภาวะเป็นเหตุ ให้สติปัฏฐานประชุมลง เพราะมีสภาวะเข้าไปตั้งไว้ ให้สัมมัปปธานประชุมลง เพราะมีสภาวะเริ่มตั้งความเพียร ให้อิทธิบาทประชุมลง เพราะมีสภาวะให้สำเร็จ ให้สัจจะประชุมลง เพราะมีสภาวะเป็นของแท้ ให้สมถะประชุมลง เพราะมีสภาวะ ไม่ฟุ้งซ่าน ให้วิปัสสนาประชุมลง เพราะมีสภาวะพิจารณาเห็น ให้สมถะและ วิปัสสนาประชุมลง เพราะมีสภาวะเป็นธรรมมีรสเป็นอย่างเดียวกัน ให้ธรรมเป็นคู่กัน ประชุมลง เพราะมีสภาวะไม่ล่วงเลยกัน ให้สีลวิสุทธิประชุมลง เพราะมีสภาวะสำรวม ให้จิตตวิสุทธิประชุมลง เพราะมีสภาวะไม่ฟุ้งซ่าน ให้ทิฏฐิวิสุทธิประชุมลง เพราะ มีสภาวะเห็น ให้วิโมกข์ประชุมลง เพราะมีสภาวะหลุดพ้น ให้วิชชาประชุมลง เพราะมีสภาวะแทงตลอด ให้วิมุตติประชุมลง เพราะมีสภาวะสละ ให้ญาณใน ความสิ้นไปประชุมลง เพราะมีสภาวะตัดขาด ให้อนุปปาทญาณประชุมลง เพราะมี สภาวะระงับ ให้ฉันทะประชุมลง เพราะมีสภาวะเป็นมูล ให้มนสิการ

Russian Federation

รูปภาพ
     การล่มสลายของสหภาพโวเวียต เป็นชื่อเรียกช่วงเวลาระหว่างปี 1985-1991 ซึ่งเป็นช่วงเวลที่มีฮาอิล กอบาชอฟ ผู้นำของสหภาพโซเวียต เดินหน้าปฏิรูปเศรษฐกิจและการเมืองของสหภาพโซเวียต ภายใต้นโยบายกลาสนอสต์-เปเรสทรอยกา ซึ่งเป็นการเพิ่มสิทธิเสรีภาพของประชาชน และเปิดโอกาสให้ประชาชนเป็จเจ้าของธุรกิจส่วนบุคคล การปฏิรูปดังกล่าวทำให้ประชาชนในสหภาพโซเวียตตระหนักถึงเสรีภาพในการดำรงชีวิต ต่อมาจึงส่งผลให้สหภาพโซเวียตล่มสลายในปี 1991      มิฮาอิล เซร์เกเยวิช กอร์บาชอฟ เป็นอดีตประธานาธิบดีและรัฐบุรุษแห่งสหภาพโซเวียต รวมทังยังเคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตอีกด้วย ความพยายามปฏิรูปสหภาพของกอร์บาชอฟได้นำไปสู่การล่มสลายของสหภาพโซเวียต และการยิตุสงครามเย็น ด้วยเหตุนี้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ     กอร์บาชอฟได้รับเลือกให้เป็นผู้ช่วยผู้บิรหารสูงสุดของ “สหภาพสาะรณรัฐสังคมนิยม โซเวียต”และเป็นสมาชิกกรรมการกลางของพรรคในปี 1971 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรระหว่างปี 1980-1985 เป็นสมาชิกโปลิตบูโร(คณะกรรมการบริหารพรรคการเมือง) และเป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสค์ แทนเชร์เนนโกที่เสียชีวิต กระท

Glasnost&Perestroika

รูปภาพ
     นโยบายกาสนอสต์ คือ การ “เปิด”ประเทศให้กว้างขึ้น ให้เป็ประชาธิปไตยมากขึ้น ดดยให้ปรชาชนมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นของตน      นโยบายเปเรสตรอยกา คือ การ “ปรับ”สภาพเศรษฐกิจและสังคมของสหภาพโซเวียตให้คลายจากความชะงักงัน เพื่อยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชาชนชาวโซเวียตให้ดีกว่าเดิม       มิคคาอิล กอร์บาชอฟ ประสบความสำเร็จในการนำนโยบายทั้ง 2 มาปฏิรูปการปกครองให้เป็น ประชาธิปไตยมากขึ้น มีการจัดตั้งสมัชชาผู้แทนประชาชนขึ้น ประกอบด้วยสมาชิก 2,250 คน ดดยรัฐบาลเปิดโอกาสให้ประชาชนมีโอกาสได้เลือกตั้งบุคคลที่ตนเชื่อมั่นและศรัทธาในความสามารถ ซึ่งก่อนหน้านี้จะต้องเป็นผู้ที่รัฐเป็นผู้กำหนดตัวไว้ มีการให้สิทธิเสรีภาพแก่สื่อมวลชน ให้เสรีภาพแก่ประชาชนในการชุมนุมกัน และเลือกนับถือศาสนา ปล่อยนักโทษการเมือง ล่าสุดสมัชชาผู้แทนประชาชนได้ลงมติด้วยเสียงข้างมากให้กอร์บาชอฟเป็นประธานาธิบดีที่มีอำนาจลริหารอย่างหว้างขวาง เพื่อแก้ไขปัญหาวิกฤติต่าง ๆ ของประเทศ      แต่กอร์บาชอฟประสบความล้มเหลวด้ารเศรษฐกิจและสังคม เพราะชาวโซเวียตยังคงดำรงชีวิตอย่างยากแค้นต่อไป อาหารและปัจจัยในการดำรงชีวิตยิ่งขาดแคลนมากขึ้นกว่าเ

Soviet-Afganistan

รูปภาพ
     เป็นการต่สู้ระหว่างกองโจรมุสลิมต่อต้านมูจาฮีดีน กับรัฐบาลอัฟกันฯ และกองทัพโซเวียต สงครามเริ่มต้นจากการทำรัฐประหาร ในปี 1978 โค่นล้มประธานาธิบดีของอัฟกานิสถาน คือ ซาร์ดาร์ เดาวด์ คาน ผู้ซึ่งขึ้นมามีอำนาจโดยการโค่นล้มกษัตริย์ ตัวประธานาธิบดีถูกลอบสังหารและ รัฐบาลคอมมิวนิสต์ที่ฝักใฝ่โซเวียตภายใต้การปกครองของ นัวร์ มูฮามัด ทารากิ ก็ถูกจัดตั้งในปี 1979 การทำรัฐประหารอีกครั้งหนึ่งได้ทำให้ ฮาฟิซูลล่าห์ อามิน มีอำนาจ เป็นปัจจัยให้โซเวียตเข้ามารุกราน และตั้งให้ บาบราก คาร์มาล เป็นประธานาธิบดี         การรุกรานของโซเวียตซึ่งทำให้ชาวอัฟกันลุกขึ้นต่อต้าน เกิดจากกองทหารเพียง 30,000 นาย ซึ่งได้เพิ่มขึ้นในที่สุดเป็น 100,000 นาย โดยได้รับการสนับสนุนจาก อเมริกา ซาอุดิอาระเบีย อิสราเอล จีน ปากีสถาน และกลุ่มอิสลามมู จาฮีดีน จากประเทศมุสลิมอื่น ๆ ทั้งโลก ผ่านปากีสถาน ถึงแม้ว่าโซเวียตจะมีอาวุธที่เหนือกว่า และมีกำลังอากาศเพียงฝ่ายเดียว ฝ่ายต่อต้านก็สามารถหลีกเลี่ยงสิ่งเหล่านั้นได้ สงครามได้กลายเป็นการปักหลักสู้กันโดยกองทัพของโซเวียตควบคุมพื้ที่ในเมือง และกลุ่มกองโจรได้ปฏิบัติการอย่างเป็นอิสระในพื้น

KGB Komitet gosudarstvennoi bezopasnost'i

รูปภาพ
     คณะกรรมาธิการเพื่อความมั่นคงแห่งรัฐ หรือ เคจีบีเป็นอดีตหน่วยงานกลาง ดูแลการข่าว ความมั่นคง ตำรวจสันติบาล และ กิจการชายแดนของสหภาพโซเวียตั้งแต่ปี 1954-1991 โดย เคจีบีถูกยุบไปหลังจากหัวหน้าเคจีบีได้ร่วมก่อกบฏรัฐบาลประธานาธิบดี กอร์บาชอฟแต่ไม่สำเร็จ จึงถูกแทนที่โดยสำนักงานความมั่นคงกลางFederalnaya sluzhba bezopasnosti, FSB แทน      มีนาคม ปี 1954 องค์การมั่นคงปลอดภัยแห่งรัฐ ได้แยกเป็นกองอิสระเรียกว่า “KGB” มีหน้าที่ควบคุมตำรวจลับ ตำรวจตระเวณชายแดน และกองทหารรักษาความปลอดภัยภายในให้ความคุ้มครองเจ้าหน้าที่รัฐบาลและสมาชิกพรรคในระดับสูง ทำการจารกรรมในต่างประเทศ ตำรวลับประเทสและในประเทศควบคุมการติดต่อในต่างประเทศ ควบคุมแหล่งข่าวต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบความไม่จงรักภักดีต่อรัฐบาล      เคจีบีมีสัญลักษณ์ ดาบและโล่ คอยพิทักษ์สังคมโซเวียต มีอำนาจและอิทธิพลมาก พรรคคอมมิวนิสต์จึงต้องควบคุมอย่างใกล้ชิดอีกต่อหนึ่ง เพราะอาสเป็นอันตรายต่อพรรคได้ หลังจากสตาลินถึงแก่รรม อำนาจความทะเยอทะยานของแบเวีย  หัวหน้าเคจีบี  ทำให้คณะกรรมการ โปลิสบูโร หวาดกลัวมาก จึงตั้งข้อหาเขาว่ามีความผิดฐานทรยศและฝ่าฝืนกฎหมายแห่

Ronald Wilson Regan

รูปภาพ
     การเลื่อกตั้งในปี 1980 พรรครรีพับลิกันส่งโรนัล เรแกน ได้รับเลือกในตำแหน่งประธานาธิบดี และจอห์น เอ็ช.ดับเบิลยู.บุช George Herbert Walker Bush ได้รับเลือกใรตำแหน่างรองประธานาธิบดี โรนัล เริแกน กล่าววิจร์ผลงานภายในประเทศของประธานาธิบดีคาร์เตอร์ว่าไม่สามารถแก้ปัญหาเศรษฐกิจได้ คือภาวะเงินฟ้อยังสูงและอัตราคนว่างงานสุง โรนัล เรแกน เสนอแนวทางแก้ปัญหาเศรษฐกิจคือลดการเก็บภาษีรายได้คนอเมริกัน ลดการใข้จ่ายเงินที่ไม่จำเป็นของรัฐบาลกลางอันรวมถึงหยุดการรับเจ้าหน้าที่ใหม่ในหน่วยงานของรัฐ สร้างความสมดุลย์ในงบประมาณรายรับรายจ่าย ลดการแทรกแซงของรัฐบาลกลางในธุรกิจ มอบงานสวัสดิการให้อยู่ภายใต้การดำเนินการของรัฐบาลมลรัฐและรัฐบาลท้องถิ่น ลดค่าจ้างแรงงานต่ำสุดลงอีกเพื่อลดอัตรคนว่างงานลงและสร้างงานที่จำเป็นเพิ่ม และทั้งจะปฏิรูปการทำงานของกระทรวงพลังงานและกระทรวงศึกษาธิการ โรนับ เรแกนกล่าววิจารณ์ผลงานต่างประเทศของประธานาธิบดีคาร์เตอร์ว่าทำให้สหรัฐอเมริกาแสนยานุภาพด้านกองกำลังและอาวุธด้อยกว่ารุสเซียและทั้งลดบทบาทสหรัฐอเมริกาในเวที่การเมืองโลก โดยอิหร่านกล้าจับคนอเมริกันในสถานทูตอเมริกันที่กรุงเตหะรานในอิหร่

The Iranian Hostage Crisis 1979

รูปภาพ
       ความรู้สึกบาดหมางของรุสเซียและสหรัฐอเมริกาทำให้การลงนมในสนธิสัญญาจำกัดอาวุธยุทธศาสตร์ฉบับที่ 2 ล่าช้า สนธิสัญญาจำกัดอาวุธยุทธศษสตร์ฉบับที่ 1 มีการลงนามที่มอสโคว์ระหว่างประธานาธิบดีนิกสันกับลีโอนิค ไอ. เบรสเนฟ ในปี่ 1972 กำหนดอายุสนธิสัญญา 5 ปี การเตรียมการกำหนดแนวทางข้อตกลงในสนะสัญญาจำกัดอาวุธยุทธศาสตร์ฉบับที่ 2 เริ่มในวันที่ 1974 ระหว่างประธานาธิบดีฟอร์ดกับลีโอนิค ไอ. เบรสเนฟ ที่วลาดิวอสต๊อก รุสเซีย เกิดข้อตกลงวลาติวอสต๊อก 1974 ความบาดหมางระหว่างสหรัฐอเมริกากับรุสเซียเร่มจากประธานาธ่บดีคาร์เตอร์ชูนโยบายสิทธิมนุษยชนและกว่างวิจารณ์รุสเซ๊ยว่ากดขี่ข่มเหงชาวยิวในรุสเซีย รวมถึงมีแนวโน้มที่จะเปิดความสัมพันะทางการทูตอย่งเป็นทางการกับจีนแผ่นดินใหญ่ในอนาคต ทั้งสหรัฐอเมริกาให้การสนับสนุนสร้างจรวดขีปนาวุธเอ็มเอ็ก และจรวดขีปนาวุธเพอร์ชิง 2 ซึ่งล้วนมีประสิทธภาพเหนือกว่าจรวดขีปนาวุธยิงข้ามทวีป ต้านการบุกโจมตีของรุสเซีย สร้างความไม่พอใจอย่างมากแก่รุสเซีย ขณะเดียวกันรุสเซียจับกุม คุมขัง ทรมานและเนรเทศประชาชนที่ต่อต้านกล่าววิจารณ์โจมตีรัฐบาลรุสเซียรวมถึงยับยั้งปราบปรามชนชาวยิวในรุสเซีย ที่เรี

Deng Xiaoping

รูปภาพ
เหมา เชตุงประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน หรือประธานหมา ประกาศสถาปนา สาธารณรัฐประชาชนจีน ณ จตุรัสเทียนอันเหมิน ในกรุงปักกิ่ง ใช้สัญลักษณ์ค้อนเคียวเป็นสัญลักษณ์พรรค  ภายใต้การนำของเหมาเจ๋อตง ที่มีระเบียบวินัยเคร่งครัด ในปีแรกของการบริหารประเทศ เหมาเน้นการเพิ่มความชำนาญและประสิทธิภาพในการปฏิรูปทางสังคมและเศรษฐกิจและประชาชนทุกชนชั้นเข้ามามีส่วนร่วมในภารกิจนี้ผลตอบรับจึงเป็นที่ประทับใจและได้รับการสนับสนุนอย่างกว้างขวาง ปี 1950 นานาชาติเริ่มาให้การยอมรับรัฐบาลคอมมิวนิสต์มากขึ้นตามลำดับ แต่สิ่งที่ทำให้การยอมรับจากนานาชาติต้องหยุดชะงักคือเหตุการณ์สงครามเกาหลี เนื่องจากในปี 1950 กองกำลังสหประชาชาติได้ส่งเข้าไปเกาหลีเหนือ จีนเกรงว่าจะคุกคามต่อดินแดนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็นหัวใจทางด้านอุตสาหกรรม จีนจึงส่งกองทัพปลดแอกประชาชน ซึ่งเรียกตัวเองว่าอาสาสมัครประชาชนจีนเข้าไปเกาหลี่เหนือตามคำเรียกร้อง ในสงครามครั้งนั้น มีประเทศที่เป็นคอมมิวนิสต์ใหญ่ ๆ 2 ประเทศคือจีนแผ่นดินใหญ่และสหภาพโซเวียต เข้าช่วยเหลือเกาหลีเหนือ โดยเหมาเจอตุง เป็นผู้ให้การสนับสนุนเกาหลีเหนือ       ผลงานและความผิดพลาดข

Jame Earl Carter

รูปภาพ
      เจมส์ อี. คาร์เตอร์ ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาลำดับที่ 39 จาพรรคเดโมเครติกนำการบริหารประทเศระหว่างปี 1977-1981 โดยมี Walter F. Mondal เป็นรองประธานาธิบดี ซึ่งรู้จักกันโดยทั่วไปว่า จิมมี่ คาร์เตอร์      จิมมี คาร์เตอร์ เป็นประธานาธิบดีคนแรกของอเมริกันที่จบจากโรงเรียนนายเรือ เป็นจากกลุ่มรัฐทางใต้สุด เป็นคนแรกที่ได้รับเลือเป็นประธานาธิบดีนับแต่เกิดสงครามกลางเมืองและเป็นประธานาธิบดีคนแรกที่หลังเสร็จสิ้นพิธีสาบานตนเข้ารับตำแหน่างประธานาธิบิเลือกเดินบนถนนเพนซิลวาเนียพร้อมภรรยาจากอาคารพิธีกลับทำเนียบขาวเพื่อแสดงภาพลักษณ์ใหม่ของความเป็นสามัญชนของประธานาธิบดี      นโยบายต่างประเทศของประธานาธิบดีคาร์เตอร์ เน้นในเรื่องการเคารพในสิทธิมนุยชน อันหมายถึรัฐบาลต้องยอมรับในเสรีภาพของประชาชนด้านการพูด การพิมพ์ การนับถือศสนา การเดินทาง แรลงคะแนนรวมถึงได้รับการพิพากษาที่ยุติธรรมเมืองกระทำความผิด ประธานาธิบดีคาร์เตอร์จะจำกัดหรือยกเลิกการให้ความช่วยเหลือและหยุดส่งสินค้าให้แก่ประเทศใดก็ตามที่ประธานาธิบดีคาร์เตกรอืเชื่อว่ารัฐบาลกดขี่ข่มเหงหรือละเมิดสิมธิของประชาชนอันกได้แก่บางประเทศในทวีปเอเชีย แอฟริก

international relations (Cold War)

รูปภาพ
     ภาวะ “สงครามเย็น”กับการดำเนินนโยบายของอภิมหาอำนาจสองประเทศคือ สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต มีดังนี้      การเนินนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา แนวนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกานับจากภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงปัจจุบัน แบ่งศึกษาได้เป็น 2 ระยะได้แก่ช่วงก่อนทศวรรษที่ 1980 และหลัง      - แนวนโยบายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 –1980 สหรัฐอเมริกามีประธานาธิบดีทั้งสิ้น 6 คน แต่แนวนโยบายต่างประเทศทีเป็นหลักมีเพียงเเนวทางเดียว คือ “การสกัดกั้นการแผ่ขยายของลัทธิคอมมิวนิสต์ซึ่งความแตกต่างในแต่ละสมัยจะเป็นเรื่องวิธีปฏิบัติ และความเข้มของนโยบาย แฮรี เอส ทรูแมน ในสมัยนี้นโยบายสกัดกั้นการแผ่ขยายของลัทธิคอมมิวนิสต์มีความเข้มสูง ทั้งนี้เพราะได้เกิดวิกฤตการณ์ทางการเมืองของในหลายพื้นที่ ที่สำคัญคือการที่กองทัพแดงของสหภาพโซเวียตบุกเข้าไปในโปแลนด์และฮังการี ในปี 1956 และเชโกสโลวะเกียในปี 1968 นอกจานั้น ตุรกี ยังถูกคุกคาม และดินแดนบางส่วนของอิหร่านถูกยึดครองโดยกองทัพของสหภาพโซเวียตผุ้นำของสหัฐอเมริกาจึงเริ่มมีความเชื่อมั่นว่าสหภาพโซเวียตจะขยายลัทะคอมมิวนิสต์ไปทั่วโลก เพื่อทำลายระบอบการเมืองการปก