บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤศจิกายน, 2017

Thai Idrntity in History

รูปภาพ
              ความหมายของ "อัตลักษณ์"               พจนานุกรมภาษาไทย - อังกฤษหรืออังกฤษ-ไทย คำแปลของ Identity คือ คำว่า "เอกลักษณ์" ซ่งตรงกับความมหายของคำนี้ในพจนานนุกรมภาษาอังกฤษ นั้นก็คือ สิ่งที่เป็นีุณสมบัติของคนหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง และมีนัยขยายต่อไปว่าเป็นคุณสมบัติเฉพาะของส่ิงนั้น ที่ทำให้สสิ่งนั้นโดดเด่นขึ้นมา รหื แตกต่างจากสิ่งอื่น ทว่าในแวดวงสังคมศาสตร์ปัจจุบัน แนวโน้มทางทฤษฎียุคใหม่ ทำให้เกิดการตั้งคำถามอย่างมากกับวิะีการมองโลก การเข้าถึงความจริง ของสิ่งต่างๆ ..กลายเป็นนิยามความหมาย ซึ่งสมารถเลื่อหนไลเปลี่ยนแปรไปได้ตามบริบท มิได้หมายถึงคุณสบัติเฉาพะตัวอีกต่อไป ดังนั้นคำว่า "อัตลักษณ์" ดูจะเหมาะสมกว่าเอกลักษณ์...              อัตลักษณ์ (ศรินยา) ให้ความมหายของคำอัตลักษณ์ว่า เป็นคำผสมระหว่างคำว่า "อัตฎกับ "ลักษณ์" คำว่า "อัต" เป็นภาษาบาลี (อตฺต) แปลว่ ตนหรือตัวตน ส่วนคำว่าลักษณ์ (ลกฺษณ) เป็นภาษาสันสกฤต แปลว่า เครื่องสแดงสิ่งหนึ่งให้เห็นว่าต่างกับอีกส่ิงนหึ่ง ดังนั้น ถ้าแปลตามรูปศัพท์อัตลักษณ์จึงแปลได้ว่า "สิ่งที่แสด

Community Identity to Education Foundation

รูปภาพ
             อัตลักษณ์ชุมชนรากฐานสู่การศึกษา ชุมชนแต่ละชุมชนย่อมมีแหล่งที่มแตกต่างกัน อาจเนื่องด้วยพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมและเมื่อเวลาผ่านไปก็ส่งผลถึงบทบาทของชุมชนในการที่จะสรางอตลักาณ์ ซึ่งเป้นที่บงลอกความเป็นตัวตนของชุมชน อันเป็นภูมิปัญาที่มีความโดยเด่น ซึ่งควรค่าแก่การสืบสานและถ่ายทอดไปยังคนรุ่นหลัง ฉะนั้นแล้วสิงทีสำคัญที่สุด คือการเข้าใกล้ เข้าใจและเข้าถึง รู้จักชุมชนหรือท้องถ่ินของตนเองอย่างถ่องแท้เพื่อที่จตะสามารถถ่ายทอด สืบสาน และแห้ปัญหาในท้องถ่ินนั้นได้โดยที่ไมีการนำมาเรียนรู้เข้าสู่การศึกษาโดยเน้นการถ่ายทอดภูมิปัญญา อันเป็นตัวตนของท้องถิ่น นั้นๆ ด้วยวิธีการที่หลากหลายและเหมาะสม จึงจะทำให้เป็นการเรียรู้และเป้นการเรียรฮุ้ที่ยั่งยืนและมีความหมายเพราะองค์ความรู้ในชุมช ท้องถ่ิน และภ๓มิปัญญา มีอยู่มากมาย หากแต่ขาดการถ่ายทอดและการเรียรู้ ซึ่งทั้งนี้จะต้องส่งเสริมให้มีการเรียนรู้โดยเป้นการเรียนรู้ตลอกชีิวติอย่างยั่งยืน และด้วยความสำคัญขององค์ความรุ้อันเป็นภูมิปัญญาท้องถ่ินที่เป็นอัตลักษณ์ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องนำพเอาภูมิปัญญาท้องถ่ินเข้ามาปรับใช้ในการเรียนการสอนเพื่อที่จะัพัฒนา

Identities in the Uniqueness of National Museum of Japanese History

รูปภาพ
             อัตลักษณ์ในเอกลักษณ์ : พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่นประเทศไทย              พิพิธภัฒฑ์ประวัติศาสตร์แห่งชาติญี่ปุ่น" ตั้งอยู่ที่เมืองซากุร จังหวัดชิบะรัฐบาลฐี่ป่นุสร้างพิพิิธภัณฑ์แห่งนี้ขึ้นเนื่องในวาระครอบรอบ 100 ปี แห่งการปฏิรูปประเทศสมัยเมจิ จโดยเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1983 พิพิธภัณฑ์แห่งนี้เป้นทีเดี่ยในประเทศญี่ปุ่นที่มีลักษณะเฉพาะเป็นเอกลักษณ์สสำคัญ คือเป็นพิพิธภัณฑ์ประัตสาสตร์แห่งชาติเป้น "สถาบันการวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัย"ด้านประวัติศาสตร์ และเป็นศูนย์กลางการศึกษาประวัติศาสตร์ โบราณคดีและวิถีชีวิตชนบธรรมเนียมพื้นบ้าน              จากลักษณะเฉพาะดังกล่าวมีส่วนทำให้พิพิธภัณฑ์มีวิธีการและเลือกเรื่องราวที่จะนำเสนอในรูปแบบที่น่าสนใจคือ มีข้อมูลที่หลากหลาย มีกลักการทางวิชาการมากกว่าที่อื่นและให้ความสำคัญกับคุณค่าทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิตคนในสังคม ภาพประวัติศาสตร์ที่ปรากฎในการจัดแสดงจึงไม่ใช่้ภาพวีรกรรมความกล้าหาญของบรรพบุรุษของผุ้ปกครองหรือของกลุ่มอำนาจแต่เป็นภาพวิถีชีวิตที่เป้ฯสามัญของผุ้คนทุกกลุ่มที่อยุ่ร่วมกันบนเกาะญี่ปุ่น สะท้อนให้เห็น

Cultural identity

รูปภาพ
          อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม : มิตินิทัศน์เพื่อพิจารณาอัตลักษณ์ของชาติ           วัฒนธรรมเกิดขึ้นจากความเป็นมนุษย์ ที่จะต้องอยู่รวมกันเพือสามารถดำรงอยู่ไดและกาอรอยู่ร่วมกันก็ต้องมีการสร้างอะไรบางอย่าง และส่ิงที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อให้ดำรงอยู่ร่วมกันให้ได้นั้นคือส่ิงที่เรียกว่า วัฒนธรรมซึ่งจะแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมของแต่ละสังคมซึ่งลักษณะเด่นของแต่ละวัฒธรรมที่เป็นลักาณะเฉพาะของสังคมที่ทำให้แต่ละสังคมแตกตางกันนั้นเรยกว่า อัตลักษณ์ ฉะนั้นอัตลักษณ์ถือได้ว่าเป็นผลรวมของการดำเนินการหรือการกำรกระทำของสังคมนั้นๆ             ลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรมในด้านตางๆ ในแต่ละสังคมที่หลากหลายของโลกนี้นั้น เราสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างพื้นฐานระหว่าง "ลักษณะตะวันตก" และ "ลักษณะตะวันออก" ด้วยใช้เกณฑ์ขงอ แอนเดอร์สัน เจน เซอร์แวซส์ ที่ได้สรุปไว้ในหนังสือ คอมูนิเคชั้น เยียร์บุค ในบทความเรื่อง " Cultural Identity and Modes of Communication" ซึ่งสามารชี้ให้เห็นลักษณะของแต่ละวัฒนธรรมโดยทัวไปไว้คือ             - แนวคิดเกี่ยวกับโลก ในวัฒนธรรมตะวันออกนั้นมีความเชือในเรื่องของความ

Teacher : A Tap Root of Nation Identity

รูปภาพ
             ครู : วิถีแห่งการสร้างอัตลักาณ์ของขาติ              การศึุกษาไทยจำเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องทำให้ครูมีความรู้สึกผุกพันและหยั่งรากลึคกลงไปในทุกพื้นที่ท้ังในเขตที่อุดมสมบูรณ์ (เขตเมือง) และเขตที่แห้งแล้ง (เขตชนบท) เพราะเป้าหมายของความจริงสูงสุด คือ ความรุ้และธรรมะ ซึ่งความรุ้นั้นเป็นความรุ้มี่สามารถนำมาเป้นหางเสือและปรับใช้ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตประจำวันได้โดยไม่ต้องเกิดสภาวะคับข้องใจหตรือสภาวะทางเลหือก ส่วนะรรมะจเป็นการให้ตระหนักและรับรู้ำด้อย่างเด่นชัดว่า ชีวิตมีคุณค่าและมีความหมายซึ่งทั้งความรุ้และะรรมะนี้ต่างต้งมีครุเป้นผุ้ให้ "ส่วนผสม" นี้เพื่อก่อให้เกิดเป็เนื้อเดีวกัน ฉะนั้น วิถีของการสร้างชาติจึงควรมีทิศทางดังนี้            1 การลุ่มลึกถึงวิธีสอนของการสร้าฝชาตินิยมครุจำเป็นต้องศึกษาและสร้างกระบวนการและคุณค่่าแห่งวิชาพลเมืองศึกษาและสร้างกระบวนการและคุณค่าแห่งวิชาพลเมืองศักษา ให้เกิดการสำนึกรวมกัน ไม่ว่าจะมีชาติพันธ์ ฐานคติ ความเชื่อ ศาสนา ชนชั้น หรือแม้แต่วัฒนวิถีแห่งตนเอง ต้องสอนให้เกิดความรุ้สึกและความสำนึกของความเป็นเนื้อเดียวกันในความเป้นชาติ ครุจะต้องหล่

ASEAN identity as a socio - cultural region

รูปภาพ
              อัตลักษณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมของภุมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในแง่ของภูมิศาสตร์และยุทธศาสตร์ อัตลักษณ์ของเอชียตะวันออกเฉียงใต้ นั้นถึงแม้จะเป็นเรื่องของ "การส้าง" และจินตนาการ โยคนอเมริกันและยุโรปตะวันตก ซึ่งเป้นนักวิจารณ์ที่จะหากฎเกณฑ์ร่วใรการกำหนดความเป้นภุมิภาคของเอเชียอาคเนย์ก็ได้ยอรับว่า "แม้จะเป้นการสร้างแต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในฐานะเป็นภูมิภาคหนึ่ง เป้นความเป้นตริงสำหรับนักวิชาการและประชาชนในแถบนี้ด้วยกันทั้งสิ้น และอัตลักษณ์นี้มีลักาณเป็นรูปธรรมมากขึ้นเมื่องมีการก่อตั้งสมาคมอาเซียนขึ้นมา           แม้ว่าจะมีความแกต่างกันในการกำหนดแนวคิดและอัตลักษณ์ของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้แต่ก็เป็นที่ยอมรับร่วมกันวว่า มีลักาณะสำคัญทางสังคมและวัฒนธรรมที่เป็นลักษณะร่วมของประเทศตางๆ ในภูมิภาคนี้มากพอที่จะแดงให้เห็ฯลักษณเฉพาะที่แตกต่างไปจากจีน และอินเดีย ถึงแม้ว่าจะไม่ถึงระดับทีจะบอกได้ว่าเป้นลกัษระที่มีร่วมกันของทั้ง 10 ประเทศในภูมิภาคที่มีขอบเขตที่ชัดเจนโดดเด่นและไม่มีข้อโต้แย้งใดๆ ได้ก็ตาม ลักาณะทางสังคมและวัฒนธรรมเหล่านี้นับเป้นลักาณะเฉาพะของเอ

ASEAN Inditification

รูปภาพ
          อัตลักษณ์อาเซียน ชาตินิยมเหนือภูมิภาค นักวิชาการไทยมอง การสร้างอัตลักาณือาเซียน มีอยุ่ แต่ไม่ถูกผลักดันประชาสัมพันธ์เท่าที่ควร            ในช่วงเวลาที่ทุกภาคส่วนในไทยำลังเตรียมพร้อมสำหรับการเปิดประชาคมอาเวียนในปี 2558 โดยเฉพาะในด้านเสรษบกิจการเมือง เรื่องของวัฒนธรรมกลับไม่ค่อยมีใครพูดถึง โดยเแพาะการสร้างอัตลักษณ์อาเซียน ซึ่งนักวิชาการไทยมองว่ามีอยุ่ แต่กลับไม่ถูกผลักดันประชาสัมพันธ์เท่ารที่ควร            คงต้องยอรับว่าในช่วง 2-3 ปีมานี้ ภาพธงอาเวียนปลิวไสว หรือการจัดกิจกรรมสัมนา ไปจนถึคงรายการและข่ายตามสื่อมวลชนทุกแขนงเกี่ยวกับอาเซียน เป้นหลักฐานบ่งบอกได้เป็นอย่างดีว่าสังคมไทยกำลังตื่นตัวกับการเข้าสู่การเปิดเสรีประชาคมอาเซียนอย่างเต็มรูปแบบในปลายปี 2558 ที่จะถึงนี้อย่างมาก            แต่ส่วยใหญ่แล้ว การพูดคุยภกเถียง และเตรียมความพร้อมสำหรับทั้เงเอกชนและราชการไทย มุ่งเน้นที่ความร่วมมือ้ดานเศรษบกจและการเมืองมากกว่าในด้านสังคมวัฒนธรร ทั้งๆ ที่เรื่องของอัตลักษณ์และวัฒนธรรมร่วมอาเซียนเป็นปัจจัยหลักที่จะส่งเสริมให้การรวมประชาคมอาเซียนเป็นไปอย่างราบรื่น ตามคำขวัญอันสวยหรูที่

The Story of Thai' Identity

รูปภาพ
          คำถามว่าอัตลักษณ์ของคนไทยคืออะไร และคนไทยจะสามารถรักาาอัตบักาณ์ของตนไว้ได้นานเพียงไรในกระแสแห่งการเปลี่ยนแปลงเช่นทุกวันนี้           คำว่า "อัตลักษณ์" นั้นหมายถึงอะไร ซึ่งถ้าพูดกันง่ายๆ ก็คือสิ่งที่แสดงถคึงความเป็นตัวตนของตนไทย ซึ่งส่วนหนึ่งก็จะเป็นลักษณะของตัวตนภายนอก เช่น กิริยาท่าทาง ภาษา และการแสดงออกต่อบุคคลอื่น กับลักษณะของตัวตนภายใน ได้แก่ ความรู้สึกนึกคิด นิสัยใจคอ คตินิยม ความเชื่อ และส่ิงยึดเหนี่ยวจิตใจ           ในสมัยก่อนนั้น เมื่อพูดถึงคนไทยในสายตาของชาวต่างประเทศ ก็คือการย้ิมแย้ม จนไ้ดรับสมญาว่า เป็น แลนด์ออฟสไมล์ หรือ ดินแดนแห่งรอยยิ้ม ถัดมาก็คือ การเป็นมิตรกับชาวต่างชาติ และความเอื้ออารี           โดยปกติคนไทยมักจะเป็นคนที่สุภาพเรียบร้อย รักสนุก ชอบความสะดวกสบาย และเก็บความรู้สึก..นอกจากรอยยิ้มแล้ว คนไทยไม่ค่อยแสดงอะไรออกมาทางสีหน้าหรือากัปกิริยา ไม่ว่าจะชอบหรือไม่ชอบ จะเห้นด้วยหรือไม่เห็นด้วย ดังนั้น จึงออกจะเป็นการยากที่จะคาดเดาความหมายจากรอยยิ้มของคนไทย            ขณะเดียวกันก็มีบางคนที่มองโลกในแง่ร้ายดล่าวว่า ลักาณะสำคัญของคนไทยได้แก่ การไม่เ

Malaysia and Identification

รูปภาพ
           ความพยายามของมาเลเซียในกสรสร้างอัตลักษณ์ของชาติผ่านระบบการศึกษา            มาเลเซียนมีความพยายามอย่างย่ิงที่จะปับแนวทางการศึกษาของประเทศให้มีความสอดคล้องกับความแตกต่างหลากหลายทางเชื้อชาติ สังคมและวัฒนธรรมซึ่งเป้นหัวใจหลักที่ีความสำคัญต่อการปยุ่รดของความเป้ฯประเทศมาเลเซียโดยเฉพาะอย่งยิ่งการนำเาอแนวคิดศาสนาอิสลาม มาปรับใช้ตั้งแต่ปี 1979 รวมทั้งการวงหลักสูตรภาษาต่างผระเทศที่สะท้อนความหลกหลายของความเป้ฯมาเลเซีย เพื่ตอกย้ำความเป้นอันหนึ่งอันเดียวกันของประเทศได้กลายนาเป็นปรคัชญาทางการศึกษาที่สำคัญมาจนถึงปัจจุบัน             แรงผลักดันที่สำคัญ นอกเหนือไปจากความเป็นพหุสังคมของมาเเซียนแล้ว ปัจจัยด้เานการเป็นประเทศมุสลิม รวมถึงการเปลี่ยนสแปลทืางการเมืองภายในและภายนอกประเทศก็ล้วนแล้วแตผลักดันห้มาเลเซียต้องพยายามแสวงหาเครื่องมือหรือกลไกในการผลัดันความเป้นเอกภาพผ่านหลักสูตรทางการศึกษาของชาติ            ดังนั้น ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายซึ่งได้จากบทเรียนของความสำเร็จของมาเลเซีย ซึ่งสามารถปรับใช้กับประเทสไทยรวมทั้งสามจังหวัดชายแดน มีดังนี ้ คือ 1) วางปรัชญาทางการศึกษาของชาติให้มีความชัดเจน

ASEAN Committee on Culture and Information : ASEAN-COCI

รูปภาพ
            นับเป็นเวลาเกือบ 40 ปี ที่ประเทศไทยมีควาร่วมมือทางด้านวัฒนธรรมกับประเทศต่างๆ ใอาเซียนผ่านกลไกความร่วมมือของคณะกรรมการอาเซียนว่าด้วยวัฒนธรรมและสนเทศ โดยมีผลงานที่สำคัญในการเผยแพร่เพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจให้กับบุคคลทั่วไปเกี่ยวกับวัฒธรรมของอาเซียน ได้แก่การรวบรวมและจัดทำหนังสือเพื่อเป็นการเผยแพร่องค์ความรู้ด้ารวัฒนธรรมที่ได้มีการค้นคว้าและรวบรวมเอาไว้ ซึ่งครอบคลุมมิติต่าง ๆทางวัฒนธรรม ได้แก่ วรรณกรรม อาเซียนศึกษา ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ศิลปะร่วมสมัย มรดกทางวัฒนธรรม ฯลฯ ดังนี้           1 งานด้านวรรณกรรม เป็นการรวบรวมวรรณกรรมประเทสต่างๆ ทั้งงานวรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณกรรมศษสนา วรรณกรรมการเมือง งานด้านประวัติศาสตร์ ซึ่งแสดงให้เห็นวิถีชีวิตในแต่ละยุคสมัย ของผุ้คนในที่ต่างๆ ที่มีควมหลากหลายทางวัฒนธรรม ตลอดจนเห้นถึงพัฒนากรของงานวรรณกรรมในอาเซียน            2 งานอาเซียน เป็ฯการรวบรวมเพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับประสบการณ์ด้านการจัดการทางวัฒนธรรมของประเทศในอาเวียนโดยเฉพาะงานด้านพิพุิธภัณฑ์ ตลอดจนงานึกาาเกี่ยวกับสื่อในอาเซียนทั้งในแง่ของประเภท รูปแบบ ตลอดจนการวิเคราะห์ถึงความสำคัญต่อ