บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน, 2017

Thailand and ASEAN Connect

รูปภาพ
          เมื่อคณะรัฐมนตรี(ครม.) ได้อนุมัติร่างยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พงศ. 2558-2560 ในช่วงที่ผ่านมา ทำให้กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเร่งเดินหน้ายุธศาสตร์เขตพัฒนาพื้นที่ท่องเที่ยว โยใช้กลยุทธ์อาเซียนคอนเน็ก เชื่อมโยง 5 ประเทศ สร้างท่องเที่ยวคุณภาพในแข็งแกร่งยิ่งขึ้น ในเเรื่องนี้ นางกอบกาญจน์ รัฒนวรางกุร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กล่ว่า ได้เร่งให้ทุกหน่วยงานเดินหน้าอย่างเต็มที่เพื่อนำไปสู่เป้าหมายการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ สร้างรายได้แก่ประเทศอย่างยั่งยืน โดยจะเป็นการพัฒนาทุกมิติ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดล้อมในการนำไปสู่การพัฒนาที่สมดุล ช่วยกระตุ้นให้เศรษฐกิจขยายตัวได้ตามเป้าหมาย           ขณะที่อาเซียนคอนเน็กซึ่งเป็นกลยุทธ์หนึ่งในแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558-2560 ได้ดำเนินการไปแล้วในหลายส่วน เช่น การประชุมรัฐมนตรีท่องเที่ย ACMECS ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศราฐกิจอิรวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง เป้นต้น ทั้งนี้ นางกอบกาญจน์ กล่าวว่าการท่องเทียวแบบเขตพัฒนาพื้นที่ท่องเที่ยวจะเป็นทิศทางอนาคตของการท่องเที่ยวไทย เพราะอารยธรรมนกลุ่มล้านนาอีสานใต้และความเป็

MPAC 2025 II

รูปภาพ
ข้อริเริ่มที่ 7 : การจัดตั้งกรอบความร่วมมือร่วมมือเรื่องการจัดการข้อมูลดิจิทััลของอาเซียน                      วัตถุประสงค์ของข้อริเร่ิมนี คือ เพื่อสนับสนุ ASEAN ICT Master Plane 2025 ซึ่งส่งเสริมให้มีการจัดตั้งกรอบความร่วมมือในการปองกันข้อมุลส่วนบุคคลที่สอดคล้องและครอบคลุมกัน เร่ิมจากการสร้างความโปร่งใส ดดยวางแนวทางสำหรับการกำหนดข้อปฏิบัติและข้อพึงประสงคในการจัดการข้อมูลโดยประเทศสมาชิกอาเซียน และการพิจารณาแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในระดับสากล ผ่านการจัดกตั้งเวทีเพื่อแบ่งปันประสบการณ์สำหรับประเทศสมาชิกอาเซียน                     3. โลจิสติกส์ไร้รอยต่อ                          วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์                          - เพื่อลดค่าใช้จ่ายของห่วงโซ่อุปทานในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน                          - เพื่พัฒนาความรวดเร็วและความน่าเชื่อถือของห่วงโซ่อุปทานในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน ข้อริเริ่มที่ 8 : การเสริมสร้างความแข็.แกร่งในการแช่งขันของอาเซียนผ่านการพัฒนาเส้นทางการต้าและ                       โลจิสติกส์                       วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื

MPAC 2025 (MASTER PLAN ON ASEAN CONNECTIVITY 2025)

รูปภาพ
             อาเซียนได้จัดตั้งคณะกรรมการอาเซียน ว่าด้วยความเชื่อมโยงระหวางกันในภูมิภาค เพื่อติดตามการดำเนินงานตามแผนแม่บทฯ นี้คณะกรรมการดังกล่าวจะทำงานอย่างใกล้ชิดกับผู้ประสานงานระดับชาติ และหน่วยงาน ตลอดจนองค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียน ในสาขาที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการตามยุทธศาสตร์และมาตรการสำคัญที่ได้ระบุไว้ในแผนแม่บท นอกจากนั้นได้มีการจัดตั้งหน่วยงานเฉพาะ ในสำนักเลขาธิการอาเซียน เพื่อให้การสนับสนุนคณะกรรมการประสานงานฯ ในการประสานงาน ตรวจสอบ ติดตามเร่งรัด และรายงานผลความคือหน้าในการดำเนินการตามแผนแม่บทฯ ต่อผู้นำอาเซียน ผ่านคณะกรรมาธิการประสานงานอาเซียน.         แผนแม่บทฯ เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ของผุ้นำอาเซียนที่จะขับเคลื่อนกระบวนการรวมตัวและก่อตั้งประชาคมอาเซียนในปี 2558 และรักษาแนวโน้มการขับเคลื่อนของการเป็นประชาคมอย่างต่อเนื่อง ภายหลัง ปี 2588         แผนแม่บทฯ ว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนมีบทบาทเสมือนเชือกที่เชื่อมโยงและร้อยรัดเสาทั้งสามของประชาคมอาเซียนเข้าไว้ด้วยกัน  ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน, ประชาคมเศณาฐฏิจอาเซียน และ ประชคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน โ

ASEAN CONNECTIVITY IV

รูปภาพ
            ความท้าทายอันเกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน             1 การปรับตัวของภาคการเกษตร ในปัจจุบันาคการเกษตรของไทยจะมีสัดส่วนมูลค่าการผลตเพียงแค่ร้อยละ 10 ของGDP ของทั้งประเทศ แต่ประเทศไทยยังคงเป็นประเทศที่มีศักยภาพในการส่งออกสินค้าเกษตรในระดับสุง โดยสินค้าส่งออกหลักของไทย ประกอบด้วย             - ข้าว ซึ่งในปี 2553 มีมูลค่าส่งออกไปทั่วดลก 5.341.1 ล้านดอลลาร์ ส่งไปตลาดอาเซียน 706.8 ล้านดอลล่าร์ ( 13.23%)             - น้ำตาลทรายและกากน้ำตาลในปี 2553 มีมุลค่าส่งออกทั่วโลก 2,182.5 ล้านดอลลาร์ ส่งไปตลาดอาเซียน 1,263.1 ล้านดอลลาร์ ( 57.79%)             - ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง ปี 2553 มีมูลค่าส่งออกไปทั่วดลก 2,161.4 ล้านดอลลาร์ ส่งไปตลาดอาเซียน 535.7 ล้านดอลลาร์ ( 16.36%)             ยางพารา ในปี 2553 มีมูลค่าส่งออกไปทั่วโลก 7,896 ล้านดอลลาร์ ส่งไปตลาดอาเซียน 1,467.8 ล้านดอลลาร์ (18.59%)              หากมองในภาพรวมแล้ว โดยมีประเทศสมาชิกอาเซียนต่างมีภูมประเทศที่คล้ายคลึงกัน ลักาณะสินค้าจึงไม่ได้มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน ทำให้ปริมาณการส่งออก หรือนำเข้าสินค้าจึงไม่ได้มี

ASEAN CONNECTIVITY III

รูปภาพ
            กรอบความตกลงว่าด้วยการอำนวยความสะดวกด้านการขนส่ง            ในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมาอาเซียนได้มีข้อริเริ่มหลายประการในการอำนวยความสะดวกทางการขนส่งเพื่อสร้างระบบโลจิสติกส์ และระบบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบที่มีประสิทธิภาพ เืพ่อากรเคลื่อยย้ายสินค้าและการเชื่อมโยงการขนส่งข้อริเร่ิมเหล่านี้ ได้แก่            - กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขน่ส่งสินค้าผ่านแดน ซึ่งมีวัตถุปรสงค์เพื่ออำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้า โดย อนุญาตให้รถยนจ์ขนส่งที่จดทะเบียวในประเทศสมาชิกอื่นๆ สามารถขนส่งสินค้าผ่านเขตแดนขอวงประเทศตนได้            - กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการขนส่วอเนื่องหลายรูปแบบ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสรมการเชื่อมโยงการขนส่งต่อเนื่องทั้งทางบก ทางทะเล และทางอาเกาศ เพื่อำนวยความสะดวกในการส่งสินค้าไปึงผุ้รับในรูปแบบต่างๆ         - กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งวข้ามแดน ซึ่งมีวัตถุประสคืเพื่ออำนวนความสะดวกในการขนส่งสินค้าข้ามแดน โดยอนุญาตให้ผุ้ประกอบการขนส่งในประเทศหนึ่งสารถขนส่งินค้าเข้า หรือออกาจาอีกประเทศหนึ่ง และมีสิทธิในการบรรทุุกแล

ASEAN CONNECTIVITY II

รูปภาพ
      โครงการพัฒนาความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนที่สำคัญ         โครงข่ายทางหลวงอาเซียน คือ โครการก่อรสร้างโครงสร้างพื้นฐานสำหรับการขนส่งทางบกนำร่องซึ่งจะรวมกันเป็นเส้นทางสายหลัก หรือ ทางหลวงระหว่างประเทศ เพื่อสร้างเป็นระบบเรือข่ายการขนส่งโดยรวมของอาเซียน ทางหลวงอาเซียนจะมีส่วนร่วมห้ผุ้ประกอบการสามารถเข้าถึงตลาดที่ใหญ่ขึ้น รวมทั้งลดต้นทุนการขนส่งและการค้า ทำหน้าที่เชื่อต่อห่วงโซ่อุปทานระดับภูมิภาคและระดับโลก ตลอดจนส่งเสริมความร่วมมือ การรวมตัว และการลดช่องว่างทางการพัฒนาในภูมิภาคอาเซียน         การดำเนินงานก่อสร้างทางหลวงอาเซียนในปัจจุบัน ยังคงมีเส้นทางขนส่งสินค้าผ่านแกนในบางช่วงที่ไม่ต่อเนื่อง และมีลักษณะถนนที่ต่ำกว่าขั้นที่ 3 ดังนั้นโครงข่ายทางหลวงอาเซียนจึงมีวัตถุประสงค์หลักในหารก่อสร้างถนนเพ่ิมเติมในช่วงของการขนส่งที่ไม่ต่อเนือง และทำการปรับปรุงยกระดับถนนที่ต่ำกว่าขั้นที่ 3 ในเส้นทางที่กำหนด ภายในปี พ.ศ. 2558         สำหรับช่วงของการขนส่งที่ขาดหาย และต้องการเชื่อมต่อการขนส่งที่ต่อเนื่องมุ่งเน้นไปที่การก่อสร้าง 1) ทางหลวง AH 112 ระยะทาง 60 กม. เชื่อมโยงระหว่างท่าตอน เมาะละแห่ง

ASEAN CONNECTIVITY

รูปภาพ
           แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนเป็ฯเอกสารทางยุทธศาสตร์เื่อเร่งรัดการเชื่อมโยงระหวา่งประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศให้เป็หหนึ่งเดียวทั้งในด้านโครงกสร้างพื้นฐาน ด้านกฎระเบียบ และด้านประชาชน โดยมีเป้าหมายสูงสุดเพื่อการสร้างอาเซียนให้เป็นประชาคมอย่างแท้จริงในปี 2558 และเป็นศูนย์กลางของสถาปัตยกรรมภูมิภาค            แม้ว่าอาเซียนจะมีศักยภาพทางภูมิศาสตร์ที่เอื้อต่อการเชื่อมโยงกับภูมิภาคอื่นๆ และภายใต้กรอบความร่วมมือในอนุภูมิภาคทั้งหบลาย ได้มีการจัดทำแผนการเชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมที่สำคัญหลายโครงการแต่การใช้ประโยชน์จากความเชื่อมโยงที่เพิ่มขึ้นเหล่านี้ เพื่อเข้าสู่ตลาดที่มีขนาดใหญ่เขึ้นและขยยการต้าการลงทุนให้เพ่ิมมากขึ้น ยังต้องเผชิญความท้าทายอยุ่อีกมาก ทั้งในด้านการระดมทุนเพื่อให้แผนงานที่กำหนดไว้ในแผนการเชื่อมโยงในกรอบอนุภูมิภาคเหล่านั้นบรรลุผลสำเร็จ การพัฒนาทักษณะและขีดความสามารถของผุ้ประกอบการแรงงานฝีมือ และประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การส่งเสริมความตระหนักรู้ในการเป็นชาวอาเซียน และการเรียนรู้ภาษาอาเซียนเพื่อการสื่อสารสร้างความเข้าใจระหว่างกัน          แผนแม่บท