บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2017

Nationalism : Sukarno

รูปภาพ
         ภายหลังสงครามนโปเลียนดัทช์ได้เข้ามาปกครองอินโดนีเซียอย่างเข้มงวดกว่าเดิม เพื่อต้งการที่ะรื้อฟื้นอำนาจ และเพิ่มรายได้ให้กับรัฐบาลฮอลันดา ดัทช์ได้ตกลงทำสัญญาแบ่งเขตอิทธิพลในหมู่เกาะอินโดเนียเซีย ภายหลัง ค.ศ. 1824 ดัทช์จึงได้ใช้กำลังทหาเข้าปราบปรามดินแดนในปมุ่เกาะที่ไม่ยอมอยู่ใต้อำนาจของดัทช์จนปลายศตวรรษที่ 19 จึงปราบอะเจห์รัฐสุดท้ายได้อย่างราบคาบ และรวมอินแดนในหมู่เกาะนี้เขาด้วยกันเรีกว่า อินโดนีเซีย มีศุนย์กลางการปกครองอยู่ที่ปัตตาเวีย และแต่งตั้งผุ้ปกครองชาวดัทช์เข้าประจำตามเมืองต่างๆ ทั่วหมู่เกาะการต่อต้านดัทช์ของชาวพื้นเมืองเกิดขึ้นเนื่องจาก        - ดัทช์เข้ามาปกครองอินโดนีเซีย โดยมิได้ถือว่่าเป็นส่วนหนึ่งเนเธอร์แลนด์ทั้งกฎหมายที่ใช้ปกครองก็เป็นกฎหมายที่ดัทช์ร่างขึ้น เพื่อปกครองอินโดนีเซียโดยเฉพาะ ดัทช์พยายามแยกตัวจากคนพื้นเมืองโดยถือว่าคนละชนชั้นกัน ไม่สนใจที่ยกระดับฐานะทางสังคม และความเป้ฯอยู่ให้เท่าเทียมกับชาวฮอลันดา        - ไม่สนใจที่จะสงเสริมการศึกษาของคนพื้นเมือง เพราะถือว่าจะทำให้ปกครองยากระบบการศึกษาที่จักตั้งขึ้นก็จำกัดเฉพาะคนยุโรป ชาวดัทช์และพวกชาวอินโดนีเซียชั

Nationalism : Malayu

รูปภาพ
           การปกครองของอังกฤษในมลายูมีหลายรูปแบบ ต่างจากการปกครองพม่าและอินเดีย เนื่องจากอาณานิคมนี้ได้มาจากการเจรจาตกลงแบ่งเขตอิทธิพลกับฮอลันดา ด้วยการทำสนธิสัญญากับไทย อังกฤษได้สร้างความเจริญให้แก่มลายู ในด้านการปกครอง สังคมและเศรษฐกิจ ทำให้ชาวมลายู่ได้รับความสะดวกสบาย และสงบสุขมากกว่าเดิม ขบวนการชาตินิยมในมลายูจึงเกิดขึ้นช้ากว่าในดินแดอื่นๆ แต่ก็ยังมีขบวนการชาตินิยม ทำสงครามกองโจรต่อต้านอังกฤษ ทำให้เกิความไใาสงบขึ้นในประเทศ เนื่องจากมีพลเมืองประกอบด้วยชนชาติ และนับถือศาสนาที่แตกต่างกัน ทำให้อังกฤษต้องใช้วิะีการปกครองและใช้กำลังเข้าควบคุม ให้ประชาชนอยู่ในความสบล กระทรั่งในที่สุดอังกฤษได้แบ่งการปกครองออกเป็น 3 รูปแบบคือ            - สเตรท เซทเทิลแมนท์ มีข้าหลวงปกครองโดยตรง ได้แก่ ปีนัง มะละกา สิงคโปร์ โปรวินส์และเวสลีย์            - สหพันธรัฐ ประกอบด้วย เประ ปะหัง สลังงอ และเนกรีเซมบิลัน ซึ่งมีสุลตานเป็นประมุข มีข้าหลวงอังกฤษเป็นที่ปรึกษางานของรัฐบาล            - รัฐนอกสหพันธ์ ได้แก่ ไทรบุรี เคดะห์ กลันตัน ตรังกานู ปะลิส และยะโฮร์ อยู่ในฐานะรัฐในอารักขาของอังกฤษ           ขบวนการช

Nationalism : King Norodom Sihanouk II

รูปภาพ
            สาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา เป็นรัฐบาลที่จัดตั้งในกัมพูชา โดยแนวร่วมสมาัคคีประชาชาติกู้ชาติกัมพูชา ซึ่งเป็นกลุ่มของกัมพูชาฝ่ายซ้ายที่อยู่ตรงข้ามกับกลุ่มของเขมรแดง ล้มล้างรัฐบาลกัมพูชาประชาธิปไตยของ พล พต โดยร่วมมือกับกองทัพของเวียดนาม ทกให้เกิดการรุกรานเวียดนามของกัมพุชา เพื่อผลักดันกองทัพเขมรแดงออกไปจากพนมเปญ มีเวียดนามและสหภาพโซเวียตเป็นพันธมิตรที่สำคัญ           เนื่องจากความขัดแย้งเรื่องพรมแดน เวียดนามส่งกองทัพบุก กัมพูชา โดยส่งกำลังเข้าช่วยเพื่อการปลดปล่อยประชาชาติ ที่ก่อตั้งขึ้นโดยเฮง สัมริน เพื่อต่อต้านรัฐบาลเขมรแดง เวียนามเข้ามาแมรกแซงในกัมพูชา มีการจัดตั้งรัฐบาล เฮง สัมริน เป็นหุ่นเชิดให้กับทางเวียดนาม พอล พต ต้องลงจากอำนาจและกลุ่มเขมรแดงถ่อยล่น และกระจัดระจาย เกิดรัฐบาลร่วมสามฝ่าย รู้จักกันในนามเขมรสามฝ่าย เพื่อต่อต้าน เฮง สัมริน ในช่วงเวลาที่เฮง สัมรินครองอำนาจนี้ ชาเวียดนามอพยพมาอยู่ในกัมพูชามากขึ้น เกิดกลุ่มต่อต้านเวียดนาม ซึ่งแบ่งออกเป็น กลุ่มเขมรเสรี ซึ่งมีนาย ซอน ซาน เป็นผู้นำ และกลุ่มที่สนับสนุนและยังจงรักภักดีกับเจ้านโรดม สีหนุ หรือกลุ่มมูลินากา ทั้ง 2 กลุ่ม

Nationalism :King Norodom Sihanouk I

รูปภาพ
              แม้ฝรั่งเศสจะเข้าควบคุมทางการทหาร การบิหาร และการเมืองทั้งหมด กีดกันกษัตริย์ที่ได้รับอิทธิพลอินเดียออกไปจากการมอำนาจที่แท้จริงโดยสิ้นเชิง แต่ฝรั่งเศสก็ช่วยป้องกันกัมพูชาให้พ้นจากความต้องการแลการบีบที่ีอยู่ตอดเวลาจากประเทศที่มีอำนาจมากกว่า คือ เวียดนามและไทย ดังนั้นการคคุ้มครองของฝรั่งเศสทำให้การสืบสันตติวงศ์คงมีอยู่ต่อไป และมีความสงบสุขภายในประเทศ การเปลี่ยนแปลงจากประเทศในอาณานิคมไปเป็นรัฐอิสระจึงเป็นไปอย่างราบรื่น ยิ่งกว่านั้นการเศรษฐกิจแบบชนบทของกัมพูชาไม่ได้ดึงดูดใจนักลงทุนชาวฝรั่งเศ ดังนั้นชาวชนบทจึงไม่ต้องพบกับการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ดังที่พม่าและเวียดนามได้ประสบ กัมพูชากอ่รูปแบบ "การปกครองทางอ้อม" ขึ้นโดยมีวัฒนธรรมสมัยใหม่เข้าไปเพียงเล็กน้อย การศึกษาแบบฝรั่งเศสให้ประโยชน์แก่สมาชิกแต่เพียงจำนวนน้อยทีเลือกสรรแล้วจากราชสำักและพวกขุนาง ความจริงแล้ว การศึกาาระดับสูงกว่ามีให้เพียงในเวียดนาม แต่ไม่มีในกัมพูชาเอง ชาวต่างชาติคือชาวจีนและชาวเวียดนาม มากว่าจะเป็นคนพื้นเมือง ที่เป็นผุ้ให้บริการทางด้านการบริหารและการเศรษฐกิจที่เป็นแบบสมัยใหม่              การหมดอำนาจล

Nationalism : The Red Prince

รูปภาพ
            ลาวขึ้นมาจากความไม่มีชื่อเสียงในฐานะประเทศอาณานิคมมาสู่สายตาของคนทั้งหลายจากเรื่องการขัดแย้งระหว่างชาติในทศวรรษที่ 1950 นั้น กรณีของลาวแสดงให้เห็นว่าการปกครองแบบอาณานิคมทางอ้อมก็ดี หรือความสสงบในทองถ่ินก็ดีไม่ได้ทำให้เกิดเสถียรภาพขึ้นได้ในปลายศตวรรษที่สิบเก้า ฝรั่งเศสได้ตัดอาณานิคมลาวตามอำเภอใจ ลาวในสมัยปัจุจบันมีอยู่ตามสภาพทางภูมิศาตร์มากกว่าทางด้านการเมือง ไม่เหมือนกับกัมพุชาและเวียดนาม ลาวเป็นประเทศที่ 5 ของอินโดจีนของฝรั่งเศสสมัยก่อน ทำให้ขาดการรวมกันเป็นกลุ่มก้อนทางประวัติศาสตร์และขาดความรู้สึกในการวมกันเป็นชาติ การอยู่ในอารักขาของฝรั่งเศส ทำให้การบาดหมางระหว่างราชตระกูหรือระหว่างบุคคลสงบลงได้ แม้จะมไ่หมดสิ้นไป สิ่งทสำคัญที่ทัดเทียมกันอีกอย่างหนึ่งคื พวกลาวที่อยู่ในที่ลุ่มเป็นเพียงชนกลุ่มน้อยของประเทศ (พวกลาวส่วนใหญ่ที่จริงแล้วอยู่ในประเทศไทย) ส่วนพวกชาวเขาเผ่าต่างๆ ได่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมกับการปกครองของราชอาณาจักรที่ฝรั่งเศสก่อตั้งขึ้นมาเลย            แม้ก่อนหน้าที่ฝรัง่เศสจะปล่อยให้ลาวเป็นอิสระใน ค.ศ.1954 ประเทศเพื่อบ้านของลาว คือ เวียดนามและไทย เริ่มหาประโยชน์อย่า

Nationalism : Thakin

รูปภาพ
               กลุ่มนักศึกษาและปัญญาชนชาวพม่าที่ได้รับกาศึกษาแบบตะวันตก และพวกที่ไปศึกษาในอังกฤษได้เห็นระบบการปครองของยุโรปกลับมาเปียบเทียบกับการปกครองของอังกฤษในพม่า ซึ่งอังกฤษไม่ค่อยเปิดโอกาสให้ชาวพม่ามีส่วนร่วมในการปกครองตนเอง จะเปิอโอกาสให้บ้างแต่ก็เป็นเพรียงตำแหน่งข้าราชการเล็กๆ ซึ่งไม่ความำคัญอะไร นอกจากนั้นพวกปัญญาชนที่จบจากมหาวิทยาลัยร่างกุ้งหางานทำใไม่ได้ จึงทำให้เกิดการรวมกลุ่มกันต่อต้านอังกฤษ ประกอบกับในระยะสงครามโลกครั้ง ที่ 1 เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ข้าวขายไม่ออก ชาวนามีหนี้สินมาก ขณะที่นายทุนชาวอินเดียและพวกอังกฤษไม่เกิดความเดือนร้อน นอกจากนั้นก็ยังได้เห็นตัวอย่างการต่อสู้ของมหาตมะคานธีในอิเดีย ทำให้พม่ามีกำลังใจที่จะต่อสู้เพื่อเอกราช โดยได้รับการกระตุ้นจากพวกนัการเมืองอินเดียหัวรุนแรง ที่องักฤษเนรเทศเข้ามาอยู่ในพม่า             ปลายปี 1930 พวกนักศึกษาในมหาวิทยาลัยร่างกุ้งได้จัตกลุ่มตะขิ่น ขึ้นมา คำว่า ตะขิ่น มีความหมายว่านาย ซึ่งอังกฤษให้ชาวพม่าเรียกอังกฤษ่า ตะขิ่น เพราะฉะนั้น จึงใช้คำว่าตะขิ่นนำหน้าชื่อ เพื่อแสดงให้เห็นว่า คนพม่าเท่าเทียมกับอังกฤษ ผุ้นำของตะขิ่นที่สำคั