บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มิถุนายน, 2017

Austronesian languages : Bahasa Indonesia

รูปภาพ
          ภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษาทางการของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นภาษาที่น่าสังเกตในหลายด้าน เร่ิมต้นด้วยการที่ชาวอินโดนีเซียมีส่วนใหญ่พูดภาษาอินดดนีเซียเป็นภาษาที่สอง และส่วนน้อยที่พุดเป็นภาษาแม่ในบางนัย ภาษานี้เป็นภาษาที่ค่อนข้างใหม่ เนื่องจากเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2488 และเป็นภาษาที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากเกิดคำที่ยืมมาจากภาษาอื่นๆ อยู่ตลอด ชื่อท้องถ่ินของภาษาอินโดนีเซียคือ บาฮาซาอินโดนีเซีย และชื่อนี้ก็นำมาใช้ในภาษาอังกฤษในบางโอกาส            ถาษาอินโดนีเซียเป็นทำเนียบภาษามาตรฐานของภาษามลายูเรียว ซึงแม้จะมชื่อเรียกเช่นนั้นแต่ก็ไม่ใช่ภาษามลายูที่เป็นสำเนียงท้องถ่ินของหมู่เกาะเรียว แต่หมายถึงภาาามลายุคลาสสิกที่าใช้ในราชสำนักของรัฐสุลต่านมะละกา จาเดิมที่มีผู้ใช้กันในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา ภาษามลายูได้กลายเป็นภาษากลางในบริเวณหมู่เกาะที่เป็นประเทศอินโดนีเซียในปัจจุบันมาหลายร้อยปี จารึกเกอดูกันบูกิตเป็นหลัก,านที่เก่าที่สุดที่ใช้ภาษามลายูโบราณซึ่งเป็ฯภาษาราชการในสัยจักรวรรดิศรีวิชัย ตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 12 เป็นจั้นมา ภษามลายูโบราณได้มีการใช้ในหมู่เกาะ

Austronesian languages : Tagalog

รูปภาพ
            Kumasta Ako si Phitsanu natutuwa na alamno.  ภาษาตากาล็อกเป็นหนึ่งในภษาหลักของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีความสัมพันธ์กับภาษ าอินโดนีเซีย ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาอาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีตี ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาาาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาประจำชาติและภาษาราชการคุ่กับภาษาอักฤษในประเทศฟิลิปปินส ใช้เป็นภาษากลางภายในประเทศ มีผุ้พูดราว 85 ล้านคน ในทางธุรกิจนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากกว่า             ภาษาตากการล็อกมีหน่วยเสียง 21 เสียง เป็นเสียงพยัญชนะ16 เสียง เสียงสระ 5 เสียงก่อนการเข้ามาของชาวสเปน ภาษาตาการล็อกมีเสียงสระเพียง 3 เสียง คือ /a/,/i/,/u/ มีคำยืมจากภาษาสเปนจึงเพ่มสระอีก 2 เสียง คือ /e/ และ /o/ นอกจากนั้นมีสระประสมเพ่ิมอีก 4 เสียงคือ /aI/,/oI/,/aU/ และ/iU/ พยัญชนะในภาษาตากาล็อกไม่มีเสียงลมแทรก มีการเน้นเสียงหนักภายในคำที่ทำให้เสียงสระยาวขึ้นด้วย             ไวยากรณ์ ภาษาตากการล็อกเรียงประดยคแบบกริยาภ-ประธาน-กรรม มีระบบการผันคำกรยาที่ซับซ้อนกว่าคำนาม คำขยายเรียงก่อนหรือหลัง

Austronesian languages : Sunda (Basa Sunda)

รูปภาพ
            ซุนดาหมายถึง บริเวณภาคใต้ของประเทศไทย ลงไปถึงมาเลเซีย อินโดนีเซีย เกาะบอร์เนียว เกาะสุมาตรา เกาะชวา เกาะบาหลี เกาะซูลาเวซี เกาะลอมบอก เกาะซุมบาวา เกาะฟลอเรส เกาะซุมบา เกาะติมอร์              ชาวซุนดา คือกลุ่มชาติพันธ์ุหนึ่งในประเทศอินโดนีเซียอาศัยอู่ในพื้นที่ทางตะวันตกของเกาะชวา มีจำนวนประมาณ 31 ล้านคนชาวซุนดาใช้ภาษาหลักคือภาษาซุนดาและนับถือศาสนาอิสลามเป็นส่วนใหญ่ เดิมนั้นชาวซุนดามักจะอาศัยอยู่หนาแน่นในจังหวัดชวาตะวันตกฐ บันเดิน และจากการ์ตา รวมทั้งพื้นที่ทางตะวันตกของจังหวัดชวากลาง สำหรับชวากลางและ ชวาตะวันออกนั้น เป็นถ่ิ่นฐานเดิมอขชงชาว ชวา ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มใหญ่ที่สุดในอินโดนีเซีย              วัฒนธรรมของชาวซุนดานั้นส่วนใหญ่ยืมมาจากวัฒนธรรมชวา แต่มีความแตกต่างออกไปเนื่องจากการนับถือศาสนาอิสลาม และมีลำดับชั้นทางสังคมที่แข้.แกร่งน้อยกว่ามาก th.wikipedia.org/wiki/ชาวซุนดา               ภาษาซุนดา เป็นภาษาที่ใช้พุดในหมู่ชาวซุนดา ประเทศอินโดนีเซียน ในเขตชวาตะวันตก อยู่ในตระกูลออโตรนีเซียน สาขามลาโย-โพลีนีเซียน สำเนียงปรีงาอันเป็นสำเนียงที่มีการสอนในระดับประถมศึก

Austronesian languages : Basa Jawa

รูปภาพ
            การกำหนดลักษรณะทั่วไปของตะกุลภาาาออสโตนีเซียนทำได้ยากเพราะเป็นตระกูลที่กว้างมาก และมีความหลากหลาย โดยทั่วไปแบ่งได้เป็นสามกลุ่มย่อยคือ             - ภาษาแบบฟิลิปปินส์ เรียงประดยคโดยให้คำกริยามาก่อน และมีการกำหนดจุดเน้นของกริยา             - ภาษาแบบอินโดนีเซีย             - ภาษาแบบหลังดินโดนีเซีย            ภาษาในตระกูลนี้มีผุ้พูดมากกว่า 4 ล้านคน ได้แก่             ภาษาชวา คือภาษาพูดของผุ้ที่อาศัยอยู่บนตอนกลางและตะวันออกของเกาะชวาในประเทศอินโดนีเซีย เป็นภาษาแม่ของมากกว่า 75 ล้านคน ภาษาชวาอยุ่ในภาษากลุ่มออสโตรนีเซียนจึงสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซียนและภาษามลายู ผุ้พูดภาษาชวาพุดภาษาอินโดนีเซียด้วย สำหรับวัตถุประสงค์ทางการและธุรกิจ และเพื่อสื่อสารกับชาวอินโดนีเซียอื่นๆ มีชุมชนผุ้พุดภาษาชวาขนาดใหญ่ในประเทศมาเลเซีย โดยเฉพาะรัฐเซอลาโงร์ และยะโฮร์ (คีร์ โตโย รัฐมนตรีของเซอลาโงร์ เป็นชนพื้นเมืองของชวา) อย่างไรก็ดี ภาษาชวาำม่สามารถเข้าใจกันกับภาษามลยูได้         ภาษาชวาอยุ่ในกลุ่มย่อยซุนดาของภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตก มีลักษระทางภาษาศาสตร์กล้เคียงกับภาษามลายุ ภาษาซุนดา ภา

World of Austronesian languages

รูปภาพ
            มาลายู หรือ บาฮาซา มลายู เป็นภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาออสดตรนีเซียน ซึ่งมีอายุเก่าแก่กว่า 1 หมื่นปี และเขื่อว่าผู้คนที่พุดภาษานี้ได้เคลื่อนย้ายจากแผ่นดินใหญ่จีนเข้าสู่เกาะไต้หวัน และจตากเกาะไต้หวันสู่เกาะลูซอนฟิลิปปินส์เมื่อประมาณ 5,000-5,200 ปี ก่อน จากนั้นได้ขยายตัวไปสุเกาะบอร์เนียว (บรูไน มาเลเซียตะวันออก และกาลิมันตันของอินโดนีเซีย) หมู่เกาะอินโดนีเซียน และคาบสมุทรามลายู(มาเลเซียและไทย) บางส่วนได้ข้าสุ่ภาคพื้นทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น เวียดนาม ลาว เขมร (กลายเป็นพวกจามและข่าพวกต่างๆ ) จำนวนไม่น้อยได้เคลื่อนย้ายไปสู่หมู่เกาะใหญ่น้อยในมหาสมุทรปซิฟิกไปจนถึงฮาวาย และทางใต้ไปถึงนิวซีแลนด์ และทางตะวันตกไปถึงเกาะมาดากัสการ์ (ปัจจุบันประเทศสาธารณรัฐมาดากัสการ์ป นอกชายฝั่งประเทศโมซัมบิก อาฟริการตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมามีการค้นพบภาาาไต-กะได ซึ่งภาษาไทยจัดอยุ่ในกลุ่มนี้ โดย ดร. พอล เค. เบเนดิกต์ ชาวอเมริกัน ซึ่งทุ่าเทศึกษาด้านภาษาศาสตร์เชิงประวัติ เขายังได้ตั้งทฤษฎีเกี่ยวกับภาษา "ออสโตรไท" เมื่อ ค.ศ. 1942 แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างภาษาออสโตรนีเซียนกับภาษาไต-กะได บนเกาะไหห

Austronesian languages ิืFamily II

รูปภาพ
            กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง-ตะวันออก เป็นสาขาของกลุ่มภาษาย่อยมาลาโย-โพลิเนเซียศูนย์กลาง ประกอบด้วยภาษาในกลุ่ม 700 ภาษา ประกอบด้วย กลุ่มภาษามาลาโย-โพลิเนเซยกลาง ซึ่งจำแนกออกเป็น กลุ่มภาษาบีมา-ซุมบา, กลุ่มภาษาติมอร์-ฟลอเรส, กลุ่มภาษาดามัรตะวันตก, ภาษาบาบัร, กลุ่มภาษามาลูกูตะวันออกเฉียงใต้, ภาษาเตอร์-กูร์, ภาษาอารู, ภาษาเคโกวีโอ, กลุ่มภาษาบอมเบอไรเหนือ, กลุ่มภาษามูลูกลาง.. กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันออก จำแนกออกเป็น กลุ่มภาษาฮัลมาเฮอราใต้-นิวกินีตะวันตก, ภลุ่มภาษามหาสมุทร             กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียศูนย์กลาง หรือกลุ่มภาษานิวเคลียร์มาลาโย-โพลีเนเซีย เป็นสาขาของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนซึ่งคาดว่ามีแกล่งกำเนิดอยุ่ที่เกาะซุลาเวซี แยกเป็น 2 สาขา คือ กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี หรือกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตอนใน ซึ่งรวมภาษาในเกาะซุลาเวซีและหมู่เกาะซุนดาใหญ่ และภาษานอกบริเวณนี้เช่น ภาษาชามอร์โรและภาษาปาเลา, กลุ่มภาษามาลาโย-ฑพบีเนเซียตะวันออกตอนกลาง เป็ฯภาษาที่ใช้พุดทางตะวันออกคือบริเวณเกาะซุนดาน้อย เกาะอัลมาเฮอรา หมู่เกาะโมลุกกะ นิวกีนีและหมุ่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก      

Austronesian languages Family

รูปภาพ
            ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน เป็นตระกูลภาษาที่มีผุ้พูดกระจายไปทั่วหมู่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และมหาสมุทรแปซิฟิก มีจำนวนน้อยบนผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย อยู่ในระดับมาตรฐานเดียวกับตระกูลภาษาอินโด- ยูโรเปียนและตระกูลภาษายูราลิก คือสามารถสืบหาภาษาดั้งเดิมของตระกูลได้               กล่มภาษาหมู่เกาะฟอร์โมซา เป็นภาษาของชาวพื้นเมืองในไต้หวันซึ่งมีจำนวน 2% ของประชากรบนเกาะไต้หวัน แต่มีจำนวนน้อยกว่านั้นที่ยังพุดภาษาดั้งเดิมของตน จากภาษาพื้นเมืองทั้งหมด 26 ภาษา เป็นภาษาตายแล้ว 10 ภาษาที่เหลืออีก 4-5 ภาาาเป็นภาษาที่ใกล้ตาย ที่เหลือจัดเป็นภาษาที่เสี่ยงที่จะกลายเป็นภาษาตาย              ภาษาพื้นเมืองของไต้หวันมีค วามสำคัญมากในทางภาษาศาสตร์ เพราะไต้หวันคล้ายจะเป็นจุดกำเนิดของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนทั้งหมด กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซามี 9 สาขาจากทั้งหมด 10 สาขาของตระกูลภาาาออสโตรนีเซียน โดยอีกสาขาหนึ่งคือกลุ่มภาาามาลาโย-โพลีเนีเซีย ราว 1,200 ภาษาที่พบนอกเกาะไต้หวัน แม้ว่านักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ไม่ได้ยอมรัีบรายละเอียดทั้งหมด แต่ก็ยอมรับร่วมกันว่าตระกุลภาษาออสโตรนีเซียนมีจุดกำเนิดในไต้หวัน และมีการ

Austronesian languages

รูปภาพ
           ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน เป็นตระกูลภาษาที่มีผู้พูดกระจายไปทั่วหมุ่เกาะในเอชียตะวันออกเฉียงใต้และมหาสมุทรแปซิฟิก มีจำนวนน้อยบนผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย อยุ่ในระดับมาตรฐานเดียวกับ ตระกูลภาาาอินโด-ยุโรเปียนและตระกุลภาษายูราลักคือสามารถสืบหาภาษาดั้งเดิมของตระกุลได้            คำว่าออสโตรนีเซียนมาจากภาษาละติน astro (ลมใต้ป รวมกับคำภาษาอรีก nesos ตระกูฃภษานี้ได้ชื่อนี้ เพราะสวนมากใช้พุดในบริเวณหมุ่เกาะ มีเพียงไม่กี่ภาษา เช่น ภาษามลายู และภาษาจามที่สช้พุดบนผืนแผ่นดิน สมาชิกของตระกูลนี้มีถึง 1,268 ภาษา หรือประมาณ 1 ใน 5 ของภาษาที่รู้จักกันทั่วดโลก การแพร่กระจายจากแหล่งกำเนิดของภาษาถือว่ากว้างไกล เร่ิมต้้งแต่เกาะมาดากัสการ์ ไปจนถึงเกาะทางตะวนออกของมหาสมุ รแปซิฟิก ภษาราปานูอี ภาษามาลากาซี และภาษาฮาวาย เป็นภาษาที่่ใช้พุดตามรอบนอกของขอบเขตที่มีการใช้ภาษาตระกุลนี้ ภาษาตระกุลนี้มีสาขามากมาย ส่วนมากพบในไต้หวัน ภาาากลุ่มเกาะฟอร์โมซา ในไต้หวันเป้นสาขาหลักของภาษาในตระกูลนี้ มีถึง 9 สาขา ภษาาที่ใช้พุดนอกเกาะฟอร์โมซาทั้งหมดอยู่ในภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเซยียน ซึ่งบางคร้้งเรียกวาภาษานอกเาะฟอร์โมซา