บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤษภาคม, 2017

National Institute for Emergency Medicine

รูปภาพ
               สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ(สพฉ.) เป็นสถาบันที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉินปี พ.ศ. 2551 เพื่อเป็นองค์กรรับผิดชอบการบริหารจัดการ การประสานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ และเอกชน รวมถึงการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถ่ินให้เข้ามามีบทบาในการบริหารจัดการการจัดบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ทั้งนี้เหตุปลดังกล่วได้ปรากฎในส่วนของหมายเหตุ : เหตุผลประกอบในการประกาศใช้พระราชบัญญัติ                ใน พ.ศ. 2536 กระทรวงสาธารณะสุขได้รับความช่วยเหลือทางเทคนิคจาก องค์การของญี่ปุ่น JICA ในการจัดตั้งศูนย์อุบัติเหตุ ณ โรงพยาบาลขอนแก่น ซึ่งครอบคลุการให้บริการช่วยเหลือก่อนถึงโรงพยาบาล ด้วย ต่อมา พ.ศ. 2537 โรงพยาบาลวชิรพยาบาลได้เปิดให้บริการรถพยาบาลฉุกเฉินโดยใช้ชื่อว่า SMART ตามแผนป้องกันอุบัติภัยของกรุงเทพมหานคร และ พ.ศ. 2538 กระทรวงสาธารณสุขได้เปิดตัวต้นแบบระบบรักษาพยาบาลก่อนถึงโรงพยาบาล ณ โรงพยาลาลราชวิถีในชื่อ "ศูนย์กู้ชีพนเรนทร์" โดยภายหลัง โรงพยาบาลนพรัตนราชธานีและโรงพยาบาลเลิดสิน ได้เข้าร่วมเครือข่ายให้บริการด้วยต่อมากระทรวงสาะารณสุขได้จัดตั้งสำนึกงานระบบบริกา

AHA Center

รูปภาพ
              ASEAN coordinating  Centre for Humanittarian ศูนย์ประสานงานเพื่อการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมเกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติ AHA Center เป็นองค์กรระหว่างรัฐบาลที่มีเป้าหมายเพื่อำนวนความสะดวกในการประสานงานระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนกับสหประชาชาติแลองค์การระหว่างประเทศในการจัดการภัยพิบัติและตอบสนองฉุกเฉินในภูมิภาคอาเซียน               ศูนย์ประสานงานอาเซียนเพื่อการช่วบเหลือด้านมนุษยธรรมเกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติ เป็ฯองค์กรระหว่างรัฐบาลที่มีเป้าหมายเพื่อำนวยความสะดวกในการประสานงานนระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนกับสหประชาชาติแบะองค์การระหว่างประเทศในการจัดการภัยพิบัติและการตอบสนองฉุกเฉินในภูมิภาคอาเซียน ศูนย์ฯ ก่อตั้งขึ้นโดยประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ เมื่อวันที่ 17 พศจิกายน พ.ศ. 2554 โดยผ่านการลงนามในข้อตกลงจัดตั้งศูนย์ประสานงานอาเซียนเพื่อช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมในการจัดการในบาหลี อินโดนีเซีย  ข้อตกลงดังกล่าวได้ลงนามดดยรัฐมนตรีต่างประทเศอาเซียนซึ่งได้รับการเห็นจากประมุขแห่งรัฐอาเซียน  ศูนย์อาเซียนถูกควบคุมโดยสมาชิกขงอคณะกรรมาธิการอาเซียนว่าด้วยการจัดการภัยพิบัติ ACDM ประกอบด้วยประมุข

Disaster

รูปภาพ
            ภัยพิบัติ ตามคำจำกัดความของ Webster's New Encyclopedic Dictionnary, 1994 หมายถึงภัยำิบัติที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันยากที่จะคดกาณณืได้ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากสภาพดั้งเดิม ทำความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน ขณะที่นิยามขอ Center for Research on the Epidemiology of Disasters ซึ่งเป็นหน่วยงานที่จัดทำฐานข้อมูบเืองภัยพิบัติให้คึำนิยาม ว่า หมายถึง สถานการณ์หรือเกตุกาณณ์ที่ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างใหญ่หลวงเป็นความสูญเสีย และความทุกข์ยากของมนุษย์ เกิดโดยไม่คาดคิด หรือเกิดขึ้นอย่างกะทันหัน เกิดความสามารถขงอท้องถ่ินที่จะแก้ไช ต่องระดมความช่วยเหลือภายนอกในระดัาติหรือนานาชาติ ซึ่งในพ.ศ. 2550 CRED กับหน่วยงสรที่เกี่ยวข้อง ได้ร่วมกันจัดทำคำจำกัดความที่เป็นมารตฐานซึงเบื้องต้นมีการแบ่งภัยพิบชัรออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ภัยพิับัิตทางะรรมชาติ และภ-ัยพิบัติทางเทคโนโลยี ซึ่งภัยพิบัติแต่ละประเทเภทยังมีการแบ่งบ่อยลงไปเป็นประเภทต่างๆ            - ภัยพิบัติทางธรรมชาติ แบ่งเป็น Biological disaster เช่น โรคระบาด(แมลง,ไวรัส,แบคที่เรียฯลฯ),  Geophysical disaster เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินเลื่

ASEAN Committee on Disaster Management : ACDM

รูปภาพ
            อาเซียนได้จัดตั้งคณะกรรมการจัดการภัยพิบัติกับอาเซียน เด้วยเล็งเห็นถึงปัญหาซึ่้งเกิดจาภัยพิบัติ พร้อมกับได้จัดการประชุมประจจภ-ปีขึ้นครั้งแรในเดือนธันาคม 2546 ณ เมืองบันดาเสรีเบการ์วัน ประเทศบรูไน พร้อมกับมีการจัดประชุมขึ้นทุกปี โดยเจ้าภาพการประชุมจะเวียนตามลำดับตัวอักษรภาษาอังกฤษของชื่อประเทศสมาชิก เป้าหมายหลักของณะกรรมการจัดการภัยพิบัติอาเซียน คือร่วมกันจัดทำโครงการจัดการภัยพิบัติในภูมิภาคอาเซียน หรือ ASEAN Regional Programme on Disaster Manament : ARPDM              - เพื่อกำหนดกรอบความร่วมมือ ยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการรวมทั้งกำหนดภารกิจและกิจกรรมเร่งด่วยตมามลำดับก่อนหลังเพื่อลดภับพิบัติ ดังนั้นภารกิจสำคัญเร่งด่วนของ ตามลำดับก่อนหลังเพื่อลดภัยพิบัติ ดังนั้นภารกิจสำคัญเร่งด้่วยของ ARPDM  คือ การสร้างกรอบการทำงานบริหารจัดการภัยพิบัติในภูมิภาคอาเซียน ภายใต้กรอบการดำเนินงานนี้จะมีการพัฒนความตกลงในภูมิภาคว่าด้วยกาจัดการภัยพิบัติ และการทำงานในภาวะฉุกเฉิน พัฒนากมาตรฐานการทำงานช่วยเหลือในยามเกิดภัยพิบัติตามความตกลง เสริมสร้างประสิทธิภาพในการทำงานของคณะทำงานในแต่ละประเทศสมาชิกเ

Cybersecurity

รูปภาพ
              ความมั่นคงไซเบอร์ หมายถึงการใช้ประโยชน์จาเทคดนโลยี เพื่อปกป้องระบบเครือข่าวคอมพิวเตอร์รวมถึงข้อมูลในโลกออนไลน์จากการถูกดจมตี ดจรกรรม หรือการเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต ในโลกยุคปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศไ้กลายเป็นองค์ประกอบสำคัญของวิธีชวิตแทบทุกด้านของมนุษย์ โลกไซเปบร์ได้กลายเปรดาบองคม เพราะนอกจากจะมีประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตทางเศราฐกิจและยกระดับคุณภาถชีวิตของประชาช ยังกลายเปฯนพื้นที่สุ่มเสียงต่อการถ๔ูกคุกคาม อันทำให้รัฐต่างๆ ต้องหันกลับมาทบทวนถึงความจำเป็นในการรับมือกับภัยคุกคามความมั่นคงที่ติดตามมาพร้อมกับความเจริฐก้าวหน้าทางเทคโนโลยี             สำหรับอาเซียน ความมั่นคงไซเบอร์เป็นสวนหนึ่งของความร่วมมือภายใต้เสาหลักประชาคมการเมือง - ความมั่นคง โดยกลไกหลักที่เป็นเวทีหารือและทบทวนความร่วมมือด้านความมั่นคงไซเบอร์ คือการประบุมระดับรัฐมนตรีอาเวียนว่าด้วยอาชญากรรมข้ามชาติ และการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนว่าด้วยอาชญากรรมข้ามชาติ เป็นตครี้งแรก สะท้อนภึงการตระหนักว่าอาชญากรรมข้ามชาติมิได้จำอยู่เพียงอาชญากรรมที่พบเห็นได้เฉพาะหน้า เช่น การก่อการร้าย การต้ามนุษย์ หรือการต้าอาวุะสง

ASEAN Under The Attack II

รูปภาพ
               17 พฤษภาคม 2560 สื่อมาเลเซียรายงานวา ผุ้ก่อการ้ายหลายสิบคนหรือบุคคลอันตรายที่ไม่สามารถเข้าร่วมกับกลุ่มก่อการร้ายไอซิส ใประเทศซีเรียได้นั้น ขณะนี้กำลังเดินบนท้องถนนในประทเศมาเลเซียอย่างเสรีในฐานะนักท่องเที่ยว ตามรายงานเปิดเผยว่า ทางการตุรกีได้ยื่นข้อเสนอและแนะทางเลือกให้กับพวกเขา 30 คนดังกล่าว่าจะกลับไปยังประเทศของตนหรือไปยังประเทศมาเลเซีย ซึ่งพวกเขาทั้งหมดเลือกมาเลเซียเพราะมันเป็นประเทศมุสลิมและจากนั้นก็เดินทางเข้ามาในประทเศมาเลเซีย                New Straits Times รายงานว่า บางประเทศที่คอยให้การสนับสนนุบุคคลอันตราย ซึ่งพวกเขาไม่ประสงค์จะใช้ชีวิตในประเทศของตน จึงได้จัดเตรียมเอกสารให้กับพวกเขาและจากนั้นใช้เอกสารดังกล่าวเดินทางไปประเทศมาเลเซียในฐานะนักท่องเที่ยว                ด้วยเหตุนี้มาเลเซียจึงกลายเป็นประเทศที่คอยให้การต้อนรับแขกผุ้ก่อการร้ายต่างประทเศโยที่ไม่รู้ตัว หลังจากที่พวกเขาถูกขวางไม่ให้เข้าไปในซีเรียเพื่อร่วมต่อสุเคียงข้างกลุ่มก่อการร้ายไอซิส รายงานยังเสริมว่า บุคคลเหล่านี้ส่วนมากจะเป็นบุคคลที่อันตรายมาก เพราะก่อนหน้านี้ที่สนามบินหลายประเทศได้ทำการจับกุมต

ASEAN Under The Attack

รูปภาพ
              ในปี พ.ศ. 2558 สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ าเซียนะได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการรวมตัวจากสมาคม เป้ฯประชาคมอาเซยน หรือ ASEAN Community โดยแบ่งการการทำงานออกเป็น 3 เสาหลักสำคัญ คือ                - เสาที่ 1 ด้านประชาคมความมั่นคง                - เสาที่ 2 ด้านประชาคมเศราฐกิจ                 - เสาที่ 3ด้านประชาสังคมและวัฒนธรรม                ปัจจุบันหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในประเทศไทยให้ความสำคัญ ในการเตรียมพร้อมของประชาชนในภคต่างๆ เพื่อการเข้าสุ่ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน หรือ AECV  ส่วนอีก 2 เสานั้น คือ ASC และ ASCC ยังไม่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐเพื่อสร้างควมเข้าใจและสร้างความพร้อมให้ กับ ประชาชนมากนัก เสาที่ดุจะเป้นปัญหาในาทงปฏิบัติมากที่สุด คือ เสาประชาคมความมั่นคง เนื่องจากว่าประเทศสมาชิกอเาซียนเองนั้น ได้มีการทำข้อตกลงไว้นเรื่องการ เพมืองและความมั่นคงอยุ่หลายข้อและข้อที่สำคัญประการหนึ่ง คือ กาไม่ยุ่งเกี่ยวการเมืองภายในของประเทศสมาชิกด้วยกัน ดังนั้น เสาประชาคมความมั่นงคงจึงอาจำไม่สามาตถพัฒนาได้มากนักหลังจากการเข้า สุ่ประชาคมอาเซียน                อย่า

30th ASEAN Summit & 50th Aniversary of ASEAN

รูปภาพ
               ระหว่างวันที่ 28-29 เมษายน พ.ศ. 2560 นายกรัฐมนตรีและคณะได้เดินทางไปประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 30 และได้เข้าร่วมการประชุมระดับผุ้นำแผนงานการพัฒนาเขตเศราฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย ครั้งที่ 10 เพื่อสนับสนุนการเชื่อมโยงของโครงสร้างพื้นฐาน                 สำหรับการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งนี้ มีประเทศมีฟิลิปปินส์เป็นประธาน โดนจัดขึ้นในปีที่อาเซียนก่อตั้งครบรอบ 50 ปี ซึ่งถือเป็นความร่วมมือที่ยาวนานและแน่แฟ้นย่ิงกว่าความร่วมมือในภูมิภาคใดๆ ในโลกใบนี้                 ในปีนี้ ผุ้นำอาเซียนได้ร่วมกันย้ำถึงความสำคัญในการที่จะทบทวนและพิจารณราเพิ่มศักยภาพการดำเนินการของประชาคม โดยเน้นประชาชนเป็นศูนย์กลาง โดยจะไม่ทอดท้ิงใครไว้ข้างหลัง ถึงปม้ความร่วมมือในอาเซียนจะประสบความสำเร็จมาระดับหนึ่งแล้ว แต่เราต้องยอมรัีบว่า ยังต้องส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในภูมิภาค และสร้างความตะกนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนให้มากขึ้นควบคู่ไปด้วย                นอกจากนี้ ที่ประชุมยังเห้นตรงกันว่า การเปลี่ยนแปลงและความไม่แน่นอนด้านความมั่นคงในภุมิภาคนี้ ทำให้อาเซียนต้องรักษาความเป็นแกนกลางในด้านคว

Aok Hug Jak ASEAN (อกหักจากอาเซียน)

รูปภาพ
              "อกหักจากอาเซียน" โดย ปศ.ดร. กิตติ ประเสริฐสุข ผู้ประสานงานโครงการ "จับตามอาเซียน"                ประชาคมอาเซียมี่ว่ากันวา จเปิดขึ้นในวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ก่อให้เกิดความตื่อนเต้นในสังคมไทยในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมา ดดยเฉพาะความคาดหวังจากความเสรีในการนำเข้าส่งออกสินค้า การลงทุนและการเคลื่อนย้ายแรงงาน ดังนัน หลายภาคส่วนจึงประโคมข่าว จัดกิจกรรมทที่คิดว่าเป็นการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน อาทิ จัดสัมมนาที่ใช้ช่อเกี่ยวกับอาเซียนบ่อยครั้ง (แม้เนื้อหาอาจไม่เกี่ยวนัก) มีการประดับธงชาติอาเวียนตามสถานศึกษาและหน่วยราชาการต่างๆ มีการปรับหลักสูตรไส่เนื้อหาอาเซียนในการศึกษาแทบทุกระดับ  มีการฝึกพูดคำทักทายในภาษาชาติอาเซียน ท่องจำดอกไม้ประจำชาติ เรียกว่า "กระแสอาเซียน" มาแรงมาก                การที่สังคมไทน "ออกตัวแรง" กับประชาคมอาเซียนนนี้ น่าจะสร้างความผิดหวัง(อกหัก) ในหมู่คนไทยบที่มีความคาดหวังต่ออาเซียนมากเพราะเอาเข้าจริง เมื่อเปิดอาเซยนจะม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงมากอย่างที่คาดหวัง ทั้งนี้เป็นเพราะสังคมไทยมีสมมุติฐานความเข้าใจต่อประชาคมอาเซี

East Asia 2016

รูปภาพ
              วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2559 สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา ร่วมกับคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดสัมมนาประจำปี "เอเชียตะวันออกในปี 2016" ณ ห้องสัมนากลาง สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รังสิต                ปาฐกถาเกียรติยศจาก รศ.ดร. จุลชีพ ชินวรรโณ กีรติยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แล่าวถึงความสำคัญของภูมิภาคอเมิรกาที่ถอถอยอำนาจลงไป แม้ว่าสิ้นสุดสงครามเย็นสหรัฐอเมริกาได้เป็นอภิมหาอำนาจโลกอันสามารถกำหนดวาระความเป็นไปทางการเมืองโลกจนนำสู่เหตุการณ์ 911 ที่นำสหรัฐอเมริกาสู่สงครามต่อต้านการก่อการร้าย ส่งผลให้เกิดปัญหาเศราฐกิจตามมาเหนื่องจากรายจ่ายในการสงคราม และการให้ความสนใจภูมิภาคตะวันออกกลางในสงครามต่อต้านการก่อการร้ายทำให้อิทธิพลของสหรัฐอเมริกาในเอเชียตะวันออกถดถอยลงไป ทำให้จีนมามีอิทธิพล ดดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านเศราฐกิจที่จีนมีการพัฒนามาโดยตลอดทำให้การทหารของจีนมีการขยายตัวไปด้วยนับตั้งแต่ปี 1995 เป็นต้นมา              นอกจานี้ จีนยังได้ใช้อำนาจสังคมหรือ Soft Power ในการขยายอำนาจของตน อาทิ กาเปิดสถาบันขงจื้อ การสอนภาษาจนผ่านอาเสาสมัคร และก