บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก เมษายน, 2017

ASEAN-Korea Free Trad Agreement : AKFTA

รูปภาพ
             เขตการต้าเสรีอาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี ลงนาม 27 กุมภาพันธ์ 2552(2009) เร่ิมลดภาษี 1 มกราคม 2553(2010) ลดภาษีเป็น 0             ในการประชุมผุ้นำอาเซียน-เกาหลี เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2003 อาเซียนและเกาหลีเป็นชอบให้จัดตั้งคณะผู้เชี่ยวชาญร่วมเพื่อศึกษาการขยายความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจและการพัฒนาระหว่างอาเซียนและเกาหลี ซึ่งรวมถึงการศึกษาควมเป้ฯไปได้ในการจัดทำเขตการต้าเสรี และกลุ่มผุ้เชียวชาญได้สรุปผลการศึกษาว่า การจัดทำเขตการต้าเสรีระหว่างอาเซียนและเกาหลีจะเพิ่มมูลค่าการต้าและการลงทุนระหว่างกัน รวมทั้งส่งผลดีต่ออาเซียนและเกาหลีในด้านอื่นๆ ด้วยในการประชุมผุ้นำอาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี ครั้งที่ 8 เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2004 ณ กรุงเวียนจันทน์ สาธารณรับประชาธปิปตยประชาชนลาว ผุ้นำอาเซียนและเกาหลีเห็นขอบให้เร่ิมการเจรจาจัดทำความตคกลงเขชตกาต้าเสรีอาเซียน-เกาหลี ในช่วงต้นปี 2005 และกำหนดให้สรุปผลเจรจาภายใน 2 ปี โดยการเจรจาจะครอบคลุมการเปิดเสรีการต้าสินค้า การต้าบริการ การลงทุน และความร่วมมือทางเศราฐกิจภายในภูมิภาคอาเซียน-เกาหลี            กลไกการดำเนินการ            -จัดตั้งคณะเจรจาการต้า

ASEAN-India Free Trade Agreement : AIFTA

รูปภาพ
               อาเซียนและอินเดียได้ลงนามความตกลงการต้าเสรีอาเซียน-อินเดีย หรือ ASEAN-India Free Trade Agreement  เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2552 (2009) ที่กรุงเทพฯ การลงนามความตกลงดังกล่าวเป็นผลมาจากความพยายามในการเจรจาตั้งเขตการต้าเสรีอาเซียน-อินดเีย มายาวนานกว่า 6 ปี ตั้งแต่ปี 2545 และทั้งสองฝ่ายได้ลงนามกรอบความตกลงว่าด้วย ความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่ครอบคลุมด้านต่างๆ หรือ Framework Agreement on Comprehensive Economic Cooperation Agreement(CECA) เมื่อปี 2546 โดยภายใต้ความตกลงว่าด้วยการต้าสินค้า หรือ Agreement on Trade in Goods (TIG) มีผลให้อินเดียย มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย เร่ิมลดภาษีตั้งแต่วันที่ 1 มกตรคม 2553(2010) และประเทสมาชิกอาเซียน 5 ประเทศได้แก่ บรูไน มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ ไทย และอินเดียจะยกเลิกภาษีศุลการกรของสินค้าโดยรวมประมาณร้อยละ 80 ของรายการสินค้าภายในปี 2559 ขณะี่ประเทศสมาชิกใหม่อาเซียนอื่นๆ ได้กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม และอินเดียจะยกเลิกภาษีภายในปี ส่วน 2564 ประเทศฟิลิปปินส์และอินเดียจะยกเลิกภาษีภายในปี 2562 ฝ่ายไทยมอง่า อินเดียวเป็นประเทศี่มีศักยภาพด้านเศรษบกิจ และมี

๋Joint Commitee on ASEAN-EU FTA

รูปภาพ
             ความตกลงการต้าเสรีอาเซียนและสหภาพยุโรป การต้าและการลงทุนระหว่างอาเซียนและสหภาพยุโรปนั้นมีอยุ่อย่างมีนัยสำคัญ โดยพบว่าในปี 2013 มูลค่าการค้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5 คิดเป็น 246.2 พันล้านเหรียญสหรัฐ การส่งออกของอาเซียนไปยังสหภาพยุโรปคิดเป็น 124.4 พันล้านเหรียญสหรัฐ โดยปรับตัวลดลงร้อยละ 0.4 จากปีก่อนหน้าและสหภาพยุโรปเป็นคู่ค้าที่ใหญ่เป็นอันดับ 3ของอาเซียน ด้านการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ จาสหภาพยุโรปมายังอาเวียนเพ่ิมขึ้นร้อยละ 53.2 คิดเป็น 26.7 พันล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งยังคงเป็นแหล่เงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่ใหญ่ที่สุด ด้วยส่วนแบ่งร้อยละ 22.3             ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจระหว่างอาเซียนและสหภาพยุโรปมีพัฒนาการขึ้นอย่างเป็ฯลำดับ จนเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2007 ณ ประเทศบรูไนฯรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนและกรรมาธิการการต้ายุโรปได้มีการประกาศเจตนารมณ์จัดทำความตกลงการต้าเสรีระหว่างอาเซียนและสหภาพยุโรป โดยในกระบวนการเจรจาได้มีการตกลงให้จัดตั้งคณะกรรมการร่วมจัดทำความตกลงการต้าเสรีอาเซีบยนและสหภาพยุโรป เพื่อมีหน้าที่กำหนดรายละเอียดรูปแบบการเจรจากรอบการเจรจา และระยะเวลาการเจรจา ซ่งต่อมาคณะก

ASEAN-Australia-New Zealand Free Trade Agreement : AANZFTA

รูปภาพ
              การเจรจาจัดทำความตกลงการต้าเสรีอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อผุ้นำ ของประเทศสมาชิกอาเซียน ออกสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ลงนามในแถลงการณ์ร่วมเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2547 ตกลงให้เริ่มการเจรจาจัดทำความตกลงการค้าเสรีระหว่างกัน เพ่อส่งเสปริมการวมตัวทางเศรษฐกิจในภูมิภาค โดยก่อนหน้านี้ อาเซียนได้จัดทำการศึกษา ซึ่งมีข้อสรุปว่า การจัดทำเขตการต้าเสรีระหว่างอาเซียนกบออสเตรเลียและนิวซีแลนด์นั้นเป็นไปได้และเป็ฯส่ิงที่ควรทำเพื่อให้ทั้งสองฝ่ายสามารถก้าวทันการเปลี่ยนแปลงอันรวดเร็วของโลกปัจจุบันเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเสณษบกิจของอาเซียน ออสเตรเลียและ นิวซีแลนด์ ได้ร่วมหารือกันครั้งแรกในเดือนกุมภาพันะื 2548 และเห็นชอบให้จัดตั้ง ASEAN#Australia-New Zealand Trade Negotiating  Committee (AANZTNC)เป็นคณะทำวานหลักในการเจรจา โดยมีหัวหน้าคณะเจรจาของบรูไนทำหน้าที่ประธานฝ่ายอาเซีียน AANZTNC ได้ตั้งคณะทไงานและกลุ่มผุ้เชี่ยวชาญขึ้นมาเพื่อรับผิดชอบการเจรจาในเรื่องกฎว่าด้วยถ่ินกำเนินสินค้า, การต้าและบริการ, การลงทุน, ประเด็นกฎหมาย, ความร่วมมือทางเศราฐกิจ, พิธีการศุลกากร,, สุขอนามัยแล

Agreement on Comprehensive Economic Partnership among Member States of the Association of Southeast Asian Nations and Japan : AJCEP

รูปภาพ
              AJCEP หมายถึง ความตกลงหุ้สส่วนเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิดระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนและญี่ปุ่น เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2545 ผู้นำประเทศอาเซียนและญี่ปุ่นเห็นชอบให้มีการตั้งคณะกรรมการตวามร่วมมือหุ้นส่วนเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดระหว่างอาเซียน-ญี่ปุ่น เพื่อจัดทำกรอบความร่วมมือหุ้สน่วนเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดระหว่างอาเซียน-ญี่ปุ่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำเขตการต้าเสรีอาเซียน-ญ่ปุ่น ให้แล้วเร็จภายในปี พ.ศ. 2555(2012) สำหรับประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ ปละปี พ.ศ.2560(2017) สำหรับประเทศสมาชิกใหม่ 4 ประเทศ..(thailand.prd.go.th/..AJCEP ย่อมาจาก..)             AJCEP             เร่ิมเจรจาเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2543(2004) ผู้นำอาเซียน-ญี่ปุ่นได้ร่วมลงนามในกรอบความตกลงหุ้ส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2546(2007) ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย             เริ่มเจรจากอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2548(2009) จนสิ้นสุดการเจรจาในปี 2550(2011) รวม 11 ครั้ง กรอบเจรจาครอบคลุม 4 ประเด็นสำคัญคือ             - การเปิดเสรี (การค้าสินค้า การค้าบริการ และการลงทุน)             - กฎเกณฑ์ทางการค้า (กฎว่า

ASEAN-China Free Trade Agreement : ACFTA

รูปภาพ
           ความตกงลงเขตการต้้าเสรี อาเซียน-จีน            วัตถุประสงค์ เพื่อขยายความร่วมมือทางเศราฐกิจระหว่างประเทศสมาชิกอาเซีียนทั้ง 10 ประเทศ และสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมุ่งขยายการ้าและกาตลงทุนระหว่างกัน เพื่อให้ประเทศภาคีความตกลงฯ มีการพัฒนาทางเศรษฐฏิจ มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่ 1 มกราคม 2547 (2004) โดยประเทศสมาชิกอาเซียนและจีน จะให้สิทธิพิเศษฯ แก่สินค้าเกือบทุกรายการปัจจุบันยกเลิกอัตราภาษีภายใต้ ACFTA และ้วกว่าร้อยละ 90 ของรายการสินค้า หรือราว 8,000 กว่ารายการ           การลดหย่อนภาษี           - สินค้าที่นำมาเร่งลดภาษีทันที่             1 ต.ค. 2546 ไทย-จีนพิกัด 07-08 ลดอัตราภาษีเป็น 0             1 ม.ค. 47 อาเซียน-จีน พิกัด  01-08 ลดอัตราภาษีเป็น 0 ภายใน 3 ปี           - สินค้าปกติ เริ่ม 20 ก.ค. 48 แบ่งการลดเป็น 2 ส่วน             NT I ลดอัตราภาษีเป็น 0 ภายใน 5 ปี             NT II ลดอัตราภาษีเป็น 0 ภายใน 7 ปี ท้้งไทยและจีน ทั้งไทยและจีน ไม่เกินประเทศละ 150 รายการ           - สินค้าออนไหว แบ่งกาลดเป็น 2 ส่วน             สินค้าอ่อนไหว ลดอัตราภาษีเป็น 20% ในปี 2555 และเหลือ ).5%

ASEAN + 1

รูปภาพ
             สมาคมอาเซียนได้เสริมสร้างความสัมพันธ์ทวิภาคีกับหุ้นสวนต่างๆ ผ่านการจัดตั้งกลไกและร่างเอกสารข้อตกลงต่างๆ  โดยปัจจุบัน กรอบความร่วมมืออาเซียนบวก 1 คือ กรอบความร่วมมือที่บรรลุผลงานหลายด้านและเป้นกลไกความร่วมมือนอกลุ่มที่มี่ประสิทธิภาพที่สุดของอาเซียน              อาเซียน + 1 คือกรอบความร่วมมือทวิภาคีขงอาเซียนกับหุ้นส่วนภายนอกที่ได้รับการจัดตั้งเป้ฯอันดับแรกก่อนกลไกความร่มมืออื่นๆ ของอาเซียน นับตั้งแต่ได้รับการก่อตั้ง อาเซียนได้สภาปนาความสัมพันธ์ทวิภาคกับประเทศ องค์การต่างๆ ในภูมิภาคและโลกพเพื่อเสริมสร้างสถานะ โดยปัจจุบัน อาเซียนได้ธำรงความสัมพันธ์กับ 10 หุ้งส่วน ประกอบด้วย จีน สาธารณประชาชนจีน สาธารณรับเกาหลี แคนาดา ญี่ปุ่น อินเดีย ออสเตรเลีย สหรัฐ สหภาพยุโรปหรือียู รัสเซียนและนิวซีแลนด์             ผลักดันความร่วมมือด้านเศรษฐกิจเพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน ในเวลาที่ผ่านมา ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับหุ้นส่วนต่างๆ ในกรอบอาเซียนบวก 1 ได้รับการผลักดันและยกระดับให้สูงขึ้น โดยนอกจากการดำเนินนโยบายการต่างประเทศที่เปิดกว้างแล้ว อาเซียนยังคงให้ความสำคัญต่อการรักษาความสัมพันธ์ระหว่างอ

ASEAN Plus

รูปภาพ
             ASEAN Plus หมายถึง กรอบความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา กรอบความร่วมมือเหล่านี้มีหลายด้าน ทั้งในด้านการเมือง ความั่นคง สังคม และศรษบกิจ และปัจจบุัน มีการนำคำศัพท์ ASEAN Plus มาใช้ในหลายบริบท ดังนี้ ASEAN Plus One (ASEAN + 1) หมายถึงกรอบความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา 1 ประเทศ เช่น ความตกลงเขตการต้าเสรีอาเซียน-จีน และความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน-ญี่ปุ่น จัดเป็นเขตการต้าเสรีแบบ ASEAN Plus One ASEAN Plus Three (ASEAN + 3) หมายถึงกรอบความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งริเริ่มขึ้นตั้งแต่ ปี 2540             ASEAN Plus 6(ASEAN + 6) โดยทั่วไปอ้างอิงถึงข้อริรเ่ิมในกรอบการประชุมสุดยอดเอเซียนตะวันออก (East Asia Summit : EAS) ซึ่งมีการประชุมครั้งแรกในปี 2548 โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อริเริ่มเรื่องการจัดทำพันธมิตรทางเศราฐกิจอย่างใกล้ชิดในเอเชียตะวัยออก (Closer Economic Parnership in East Asia : CEPEA) เนื่องจากเวทีการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกในช่วงเริ่มต้นมีประเทศผุ้เข้าร่วม 16 ประเทศ คือ อาเซียน 10 ประเทศ จีน เกาหลี ญี่ปุ่น อินเดีย ออสเตรเล

Digital Free Trad Zone : DFTZ

รูปภาพ
         แจ็คหม่า เจ้าพ่ออาลีบาบา ยักษ์ใหญ่ E-commerce ของจีน ประกาศลงทุนใหญ่ตั้งศูนย์กระจายสินค้าประจำภูมิภาคอาเซียนที่มาเลเซีย และร่วมผลักดันมาเลเซียให้เป็น "ศุนย์กลาง E-Commerce" ประจำภูมิภาค เพื่อนผมไม่น้อยรู้สึกแปลกใจ และเสียดายเทนรัฐบาลไทย แต่ผมกลับคิดว่า รัฐบาลเราอาจไม่ได้เสียใจอะไรมากก็ได้..เนื่องจากยังไม่พร้อม และไม่กล้าเดิมพันเหมือนกับรํฐบาลมาเลเซีย หรือ เรายังไม่แน่ใจว่าถ้าเเจ็คหม่า บุกเรา เราจะได้ประโยชน์จริง หรือแจ็คหม่าและสินค้าจีนจะกินรวบประเทศไทย...          นโยบายเขตการต้าเสรีดิจิตัล(DFTZ) ของมาเลเซีย สิ่งสำคัญที่มาเลเซียนอมตามข้อเสนอของเจ็คหม่า ก็คือ การจัดตั้ง "เขตการต้าเสรีดิจิตัล" แจ็คหม่าให้สัมภาษณ์ว่า ตัวเขาพยายามนำเสนอไอเดียนี้กับรัฐบาบยุดรปและรัฐบาลในประเทศเอเซียหลายประทเศ แ่ทุกประเทศของเวลาศึกษาก่อน มีนายกฯ นาจิบของมาเลเซียที่ตกลงรับข้อเสนอ และใช้เวลาต่อมาอีก 4 เดือน ก่อนประะกาศจัดตั้งเขต การข้าเสรีดิจิตัลอย่างเป้ฯทางการ          เขต DFTZ นับเป็นเขตการต้าเสรีดิจิตัลแห่งแรกของโลก สินค้า E-Commerce (ไม่จำกันว่าเป้ฯสินค้าจากชาติไหน) ที่ส่ง

ASEAN's 50th Anniversary(201ึ7)

รูปภาพ
            สมาคมประชาชาติแห่งเอเซียนตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน เปิดตัวโลโก้ใหม่ "Visit ASEAN@ 50 Golden Celebration 2017" เพื่อนำเสนออคมเปญการท่องเที่ยวของอาเวียน โดย 10 ผุ้นำประเทศอาเซียน ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ณ กรุงเวียงจันทน์สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เมื่อ 2 กันยายน 2016             โดยแคมเปญใหม่นี้มีวัตถุประสงค์ที่จะส่งเสริมการท่องเทียยวอาเซียนในปี 2560 ในวาระครอบรอบ 50 ปีของการก่อตั้งสมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน ให้เกิดความร่วมมือกันสร้างการก่อตั้งที่สมาคมประชาชาิแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน ให้เกิดความร่วมมือกันสร้างเอกลักษณ์การท่องเที่ยวอาเซียนหรือในภูมิภาคเอเซียนตะวันออกเแียงใต้ ที่มีความหลากหลาย ให้เป็นจุดหมายปลายทางการทองเที่ยวเดียว เพื่อสร้างกระแสการรับรู้และเพ่ิมจำนวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศให้มาเที่ยวอาเซียน จาก 108.9 ล้านคนในปี 2558 เพ่ิมข้นเป็น 121 ล้านคนในปี 2560 และสร้างรายได้เพิ่มจาก 75 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯในปี 2557 เป็น 83 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯภายในปี 2560             ทั้งนี้ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งสิบ จะมีการจั

AEC Blueprint 2025 (2015)

รูปภาพ
          ในการประชุมสุดยอดผุ้นำอเซียน ครั้งที่ 27 (ASEAN Summit 27th) ณ กรุงกัะวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซียระหว่างวันที่ 19-22rพฤศจิกายน 2558 นัดส่งท้ายก่อนที่ประเทศมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ จะก้าวเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน อย่างสมบูรณ์ในวันที่ 1 มกราคม 2560 เป็นความหวังที่ทำให้ "ตลาดอาเซียน" ซึ่งเป็นตลาดส่งออกเบอร์ 1 ของไทยกลับมาคึกคักอีกครั้ง          ในการประชุมครั้งนี้ฝ่ายไทย พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี พร้อมด้วยนางอภิรดี ตันตราภรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ นำคณะเข้าร่วมให้การรับรองแผนงานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในอีก 10 ปีข้างหน้า ( 2559-2568) หรือ AEC Blueprint 2025 ร่วมกับสมาชิกอีก 9 ประเทศ ถือเป็นการดำเนินงสนต่อยอดจากมาตรการเดิม เพิ่มประสิทธิภาพ และขยายความร่วมมือทางเศราฐกิจทั้งในเชิงกว้างและเชิงลึกยิ่งขึ้น ส่งเสริมความร่วมมือรายสาขา ให้ความสำคัญกับวิสาหกิจขนาดย่อมและขนาดกลาง นวัตกรรม การวิจัยและพัฒนา เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนดึงดูดการค้าและากรลงทุนจากต่างประเศ พร้อมกนนี้ยังมการจัดประชุมคณะมนตรีประชาคมเศรษบกิจอาเซียนครั้งที่ 14