บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กรกฎาคม, 2017

Bahasa ; Confict Part 2

รูปภาพ
อักษรรูมี            รูมี "หรือ" ยาวี "ข้อถกเถียงที่ยังไม่จบ            ชะเอมรีบยา นราธิวาสได้รับรางวัลสาขาวิชาเอกสุนทรียะในปี พ.ศ. 2553 พลวัตภาษามลายูในสามจังหวัดชายแดนภาคี มี ความเห็นพ้องด้วย เขียนขึ้นและลงในหมู่นักวิชาการด้านศาสนาในหมู่นักวิชาการด้านศาสนาเท่านั้นอาจมีสื่อยาที่คุณถนอมผลิตจากกลุ่มจิตแพทย์            "อักษยาวีที่นี่น่าจะหหว่าเป็นคนที่มีอิทธิพลมากในความหวาดกลัวคนสามารถอ่านเขียนไทยได้ดีกว่ายาวี โดยเฉพาะคนที่มีการศึกษา" ซะการีย์ยากล่าวและว่า "ในสามาจังกวัดผมจะพูดจะเขยนว่า วิศวกรรมศาสตร์เป็นยาวียังไง เหมือนเราตกหลุม และหยุดชะงัก แต่ที่มาเลเซียและอินโดนีเซียภาษาเขาก็อัพเลเวลอย่่างรวดเร็ว แต่ภาษาในสามาจังหวัด ัไมไปไหน"            ซะการีย์ยา กล่าวหนังสือที่ใช้อักษรยาวี แต่ตำราศาสนาเป็น ที่ใช้เรียนปอเนาะ ซึ่งถูกเขียนขึ้นเมื่อร้อยปีที่แล้ว จังไม่มีศัพท์ที่ร่วมสมัยเพื่อใช้พุดถึงเรื่องในชีวิตประจำวันแม้ว่าจะมีความพยายาจัดทำหนังสือด้วยอักษรยาวีมากขึ้น แต่นั่นก็ไม่เพียงพอ "โดยหลักแล้ว ภาษามันต้องเดินไปหมดเป็นองคกพยพ ทั้งนิตยสาร หนังสือ

ฺBahasa ; Confict

รูปภาพ
           ปมความขัดแย้ง "ภาษามลายู" สามจังหวัดชายแดนใต้ เมื่อรัฐไทยพยายามกลืนความเป้นปาตานีผ่านภาษา หนึ่ง ในชนวนความรุนแรง หวั่นอัตลักษณ์ปาตานีสิ้นสูญ มารา ปาตานี เตรียมเสอนวงคุยสันติภาพนำข้อเสนอฮัจญีสฺหลงกลับมา ใช้ภาษามลายูป็นภาษาราชการ            มูฮำหมัด คือราแม ริ่เร่ิมการทำหนังสือพิมพ์ "ซีนารัน" ซึ่งนสพ. รายสองเดือน ภาษามลายูอักณายาวี เป็นครั้งแรก นสพ. ดังกล่าวมีเนือหาเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวในวงการภาคประชาสังคมมลายู ข่าว สังคม และเรื่องบุคคลนีน่าสนใจในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือที่คนท้องถ่ินเรียกกันว่า ปาตานี           เพื่อป้องกันการถูกระแวงและสงสัยจากฝ่ายความมั่นคง เขาได้ออกแบบให้บนหน้าปกของซีนารันมีการแนะนำเรื่องในฉบับเป้นภาษาไทยด้วย "เราจะใช้ยาวีร้อยเปอร์เซนต์ไม่ได้ เพราะเราจะถูกฝ่าวความั่นคงสงสัยทันที่วาเรื่องอะไร เราเจอนิสัยคนไทยว่า ไม่ค่อยแฮปปี้กับความแตกต่างเท่าไหร่ ภาษาไทยบนหน้าปกจะช่วยลดความหวาดระแวง           กลุ่มเป้าหมายหนึ่งของซีนารันนี้คือ ขบวนกาเพื่อเกราชปาตานี โดยเฉพาะคนที่อยู่ต่างแดนที่อาจอ่านภาษาไทยไม่ได้" ถ้าจะสื่อส

ฺBahasa

รูปภาพ
            "ภาษามลายูเป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มมลาโย - โพลลีเซียนเป็นกลุ่มย่อยของภาษาตระกูลออเคสตร้าเซียนภาษามลายูเป็นภาษาราชการและภาษาประจำชาติของมาเลเซียมาเลเซียและสิงคโปร์"               รัฐธรรมนูญของประเทศมาเลเซียมีประชากรหลายเชื้อชาติที่จะเรียกใช้ภาษาประจำชาติว่าภาษามลายูเป็นภาษาของชนชาติมลายูจะดูไม่เป็นคนธรรมดาอีกต่อไปกลุ่มชนกลุ่มน้อยคือการพูดคุยกับชนกลุ่มน้อยและอื่น ๆ ภาษาอังกฤษ จึงขึ้นด้วยเหตุผลดังกล่าว               ขณะที่อินโดนีเซียนเรียกภาษามลายูว่า ภาษาอินโดนีเซีย เพราะภาษาอินโดนีเซียนั้นเป็นภาษาใหม่ กำเนิดขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1945 มีรากฐานมาจากภาษามลายูเช่นเดียวกับภาษามาเลเซีย แต่ต่างกันที่สำเนียงการพุดและคำศัพท์บางคำ เนื่องจากอนโดนีเซียเคยเป็นอาณานิคมของดัตช์ ถึง 3 ศตวรรษ              นากนี้ภาษาอินโดนีเซียยังได้รับอิทะิพลจากภาษาชวา ฮินดู บาลี อาหรับ อังกฤษ เปอร์เชีย ดปรตุเกสพัฒนาเรื่อยๆ มาจนมีการเปลี่ยนแปลงการสะกดคำที่ทันสมัยและง่ายขึ้นอย่างที่ใช้ในปัจจุบัน              ส่วนบรูไนกับสิงคโปร์เรียกภาษามลายูว่า ภาษามลายุ ตามชื่อเดิม และใช้ภาษามลายูเป็นภาษาประจำชาติ แต่สิงค

Lolo-Burmese languages

รูปภาพ
           หลักฐานที่เก่าแก่ทีุ่ดในพม่าที่เกี่ยวข้องกับการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์โบราณมีอยู่ต้ั้งแต่เมื่อประมาณ 750,000-11,000 ปีก่อนคริสตกลาล มาก่อนแล้ว หลักฐานชี้บ่งบอกว่ามนุษย์ตั้งถิ่นฐาของตัวเองในแถบแม่น้ำอเรวดีตั้งแต่ยุค "อญาเทียน" (ยุคหินพม่า) ช่ววเดียวกับยุคเก่าและยุคกลาวของยุโรป ในุษย์ยุคหินใหม่ในพม่าเริ่มีการเพาะปลูกและเลบี้ยงสัตว์ โดยมีการต้รพบถิ้สามแก่งใกล้เมืองตองยีของรัฐฉาน ประมาณ พันห้าร้อยปีก่อนคริสตกาล ยุคทองแดงพท่า ไ้เิร่ิมทำการปลลูกข้าวและเลี้ยงไก้และหมู ซึ่งถอืว่าเป็น กลุ่มมนุษย์แรกๆ ที่ได้พัฒนาทำแบบนั้น ห้าร้อยปีก่อนคริสตกลกา ชาวพม่าได้ย้ายถิ่นฐานลงทางตอนใต้ซึ่งปัจจุบันคือเมืองมัณฑะเลย์ และมการ้นพบโลงศพของมนุษย์ยุคทองแดงซึงบรรจุ เครื่องปั้นดินเผาจำนวนมากไว้ในนั้น หลักษฐานทางโบาณคดีที่หมู่บ้านซาหม่องทางตอนใต้ของมํณฑะเลยพบว่ามีการปลูกขจ้าวและค้าขายกับจีนมาตั้งแต่ 500-200 ปีกอ่นคริสตกาลมาแล้ว            ชาวปยูเป็นกลุ่มแรกในพม่าที่ตังอาณาจักรของตนะเองในทางตอนเหนือของพม่าแบแม่น้ำอิรวดี สันนิษฐานว่าชาวปยูอพยพมาจากบริเวณมณฑลชิงใไห่กับกานสูของจนลงมาสู่ประเทศพม่า

Laos - Phutai Language group II

รูปภาพ
               คงจะไม่มีขาติพันธุ์ไทกลุ่มไหนที่มีความสับสนในการเรียกชื่อ ตลอดจนประวัติศาสตร์ของตนเองเหมือนผุ้ไท (ภูไท) ที่บริเวณสองฝั่งโขงบย่อยครั้งที่เข้าใจผิดว่าเป็นกลุ่มที่คล้ายคลึงกับไทที่เวียดนามเหนือและจีนตอนใต้ คำว่าผู้ไทมีสองความหมายชื่อชาติพันูะ์ของผุ้ไทและผุ้คนหรือคนไททั่วไป เนื่องจากที่ผ่านมามีนักเขียนหลาท่านใช้คำว่าผ "ผุ้ไท" ในการเรียกชื่อกลุ่มชาติพันธ์ต่างๆ เช่น กลุ่มตะวันตกเแียงใต้ ในเวียดนาม ได้แก่ "ผู้ไทดำ" ผู้ไทขาว" ผู้-ไทแดง" และกลุ่มกลางในจีนตอนใต้ เช่น "บู้ได่" ฯลฯ ว่าเป้นกลุ่มชาติพันูะ์เดียวกันหรือคล้ายๆ กันกับผุ้ไท ซึงสร้างความสับสนแก่ผุ้ศักษาภายหลัง ดังนั้นในบทความนี้จึงขออธิบายความหมาย ของผุ้ไท ซึ่งสร้างความสับสนแก่ผุ้ศึกษาภายหลัง ดังนั้นในบทความนี้จึงของอธบายความหมารยของผุ้ไท ซึ่งแบ่งเป้ฯ 2 ความหมาย คือ               ความหมายแรก เป้นชื่อเแพาะของกลุ่มชาติพันู์สองกลุ่มที่ไม่มีความเกี้วข้องกัน ได้แก่ ผู้ไท ในภาคตะวันออเแียงเหนือของไทยและตอนกลางของสปป.ลาว และ สองเป้ฯทราบกันมานานกว่าร้อยปีแล้วว่ามีกลุ่มไท(ไต่) ต่างๆ ในบริวเ

Laos - Phutai Language group

รูปภาพ
              ภาษาลาว เป็นภาษาราชการของลาว เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ในภาษากลุ่มไท และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษาอีสานของประเทศซึ่งเป็นสำเนียงหนึ่งของภาษาลาว ระบบการเขชียนในภาษาลาวจะใช้อักษรลาว ซึ่งเป้นระบบอักษรสระประกอบ (ระบบการเขียนที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์แทนพยัญชนะและตามด้วยสระที่อยู่ด้านหน้า หลัง บน ล่าง ของพยัญชนะ) และสัมพันธใกล้ชิดกับอักษณไทย              สำเนียงภาษาถิ่น ของภาษาลาวสามารถแบ่งได้ 6 สำเนียง              - สำเนียงลาวเวียงจันทน์ เวียงจัน บอลิคำไซ              - ภาษาลาวเหนือ หลวงพระบาง ไชยบุรี อดมไซ หลวงน้ำทา              - ภาษาลาวตะวันออกเฉียงเหนือ เชียงขวาง หัวพัน              - ภาษาลาวกลาง คำม่วน สุวรรณเขต              - ภาษาลาวใต้ จำปาศักดิ์ สาละวัน เซกอง อัตตะปือ              - ภาษาลาวตะวันตะวันตก ร้อยเอ็ดในประเทศไทย             ทางการประเทศลาวไม่ได้กำหนดให้สำเนียงถิ่นใดเป้นสำเนีนงภาษากลาง แต่การใช้ภาษาลาวอย่่างเป็นทางการ เช่น ทางสถานี้โทรทัศน์แห่งประเทศลาว สถานีวิทยุแห่งประเทศลาว จะใช้สำเนียงเวียงจันทน์ซึ่งเป็นสำเนียงของคนเมืองหลวง สามารถเข้าใจกันได้ทั่วประเทศ การ

Thai Language

รูปภาพ
              ภาษาไทยจัดอยู่ในกลุ่มภาษาตระกูลไท-กะได (Tai-Kadai) แต่ยังมีผู้สงสัยว่าตระกูลภาษาไท-กะไดอาจมีความสัมพันธ์ุทางเช้อสายกับตระกูลภาษาอื่นๆ โดยมีนักภาษาศาสตร์ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางเชื้อสายภาษาตระกูลภาษาไท-กะได ไว้ 3 ฝ่าย คือ             - นักภาษาศาสตร์เชื่อว่าภาษาตระกูลไท-กะได มีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายกับภาษาตระกูลจีน-ทิเบต หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ภาษาตระกูลไท-กะได เป็นตระกูลย่อยของภาษาตระกุลจีน-ทิเบต เนื่องจากข้อค้นพบที่ว่าคำในภาษาไทยและคำในภาษาจีนมีความใก้เคยงกันมาก จึงสันนิษฐานว่าภาาาไทยและภาษาจีนอาจมีต้นกำเนิดมาจากตระกูลภาษาเดียวกัน            - นักภาษาศาสตร์เชื่อว่าภาษาตระกูลไท-กะได มีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายกับภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน โดยนักภาษาศาสตร์ที่ชื่อว่า พอล เค เบเนดิกต์ ให้ข้อคิดว่า ภาษาไทยและภาษาจีนไม่ได้มีความคล้ายคลึงเพราะมีเชื่อสายภาษาเดียวกันแต่ความคล้ายคลึงนั้นอาจเกิดมาจากการยืมภาษานั่นเอง              อย่างไรก็ดี พอล เค เบเนดิกต์ เชื่อว่าภาษากะได ซึ่งเขาให้คำนิยามเป้ฯคนแรกว่า หมายถึงกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาลักกยา (พูดในอำเภอจิ่นซิ่ว มณฑลก

Tai-Kadai Ethnography

รูปภาพ
              กลุ่มชาติพันธ์ไท-กะได หรือบางครั้งเรียกว่า กลุ่มชาติพัธุ์ไต-ไท เป็นชื่อเรียกโดยรวของกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมดในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได กระจายตัวอยุ่ในภูมิภาคอุษาคเนย์ รับประทานข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก นิยมปลูกเรือนเสาสูงมีใต้ถุน อาศัยทั้งในที่ราบลุ่ม และบนภูเขา ประเพณีศพเป็นวิธีเผาจนเป็นเถ้าแล้วเก็บอัฐิไว้ให้ลูกหลานบูชา ศสนาดั้งเดิมเป็นการนัถือผี นับถือบรรพบุรุษ และบูชาแถน (ผีฟ้า หรือเสื้อเมือง) มีประเพณี สำคัญคือ ประเพณีส่งกรารต์ ซึึ่งเป็นปรพเพณีเฉลิมฉลองวสันตวิษฺวัต และการขึ้นปีใหม่ ทั้งนี้ คำเรียก ไต เป็นคำที่กลุ่มชนตระกูลไทยหใญ่ใช้เรียกตนเอง ส่วน ไทเปนคำเดียวกัน แต่เป็นสำเนียงของชาวไทน้อย และไทยสยาม บางครั้ง การใช้คำ ไต-ไท ในวงแคบจะหมายถึงเฉพาะผู้ที่ใช้ภาษาในกลุ่มภาษาไท (ไม่รวมกลุ่มภาษา กะได เช่น ลักเกีย แสก คำต้ง หลี เจียม ลาว ฯลฯ) เทือกเขาอัลไต              ในอดีต เชื่อกันว่า กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได อพยพมาจากเทือกเขาอัลไต ต่อมาก็เชื่อว่าอพยพมาจากตอนกลางของประเทศจีน และก็เลื่อกัน่ากำเนิดในบริเวณจีนตอนใต้ เป้ฯอาณาจักน่านเจ้า และอพยพลงมาทา