บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ธันวาคม, 2017

ASEAN new generation Part 2

รูปภาพ
                       นูร์ ฮุดา อสมาอิล นักวิจารความขัดแย้งรุ่นใหม่ชาวอินโดนีเซีย            อินโนีเซีย : การก่อตัวของกลุ่มหัวรุนแรง กับมุมมองใหม่เพื่อต่อสู้ปัญหาก่อการร้ายจากระดับรากหญ้า            อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซี และสิงคโปร์ คือกลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่พบความเคลื่อนไหวของคนรุ่นใหม่ที่เดินทางไปร่วมรบกับกลุ่มหัวรุนแรงในตะวันออกกล่างอย่างต่อเนื่อง และอินโดนีเซียคืออีประเทศที่กำลังเผชิ(ญกับความขักแย้งทาง เชื้อชาติ ศาสนรา และการก่อการร้าย            นูร์ ฮุดา อสมาอิล คือนักวิจัยด้านความขัดแย้งรุ่นให่ช่าว อินโนีเซีย ที่เลือกที่จะแก้ไขปัญหาความคิดรุนแรงและากรก่อการร้ายในภูมิภาคนี้ด้วย มุมมองและวิธีการใหม่            การสัมผัสกับความตายและความรุนแรงที่เกิดขึ้นในภูมิภาคนี้ทำให้อิสมาอิลตั้งคำถามต่อสิ่งที่เกิดขึ้นว่า หากปัญหาเดิม ๆ ยังคงเกิดขึ้น แสดงว่าวิธีการแก้ไขปัญหาที่ใช้อยุ่อาจจะไม่ใช่ทางออก จากข้อสัวงเกตนี้ทำให้เขาตัดินใจไปศึกษาต่ด้านความมั่นคงและความขัดแย้ง แล้วกลับมาตั้งสถาบันวิจัยด้านสันติภาพและการแก้ปัญหาการร้ายในอินโดนีเซียน และเริ่มวิจัยและค้

ASEAN new generation

รูปภาพ
           ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา เมื่อสำรวจความเป้นไปในแต่ละภูมิภาคทั่วโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้คือภูมิภาคิที่หลายๆ ประเทศอยากจะกระชับความสัมพันธ์และขยายความร่วมมือ เพราะมองว่่าเป้นภูมิภาคแห่งความหวัง เนื่องจากปลดสงครามกลาางเมืองรุนแรงอย่างที่กำลังเกิดขึ้นในตะวันออกกลาง และยังเป็นภูมิภาคที่ขับเคลื่อนด้วยความรู้และพลังใหม่ๆ จนเป็นเขตเศราฐกิจน่าจับตามอง            แต่ภายใต้พลังใหม่ๆ ภูมิภาคนี้กำลังเผชิญปัญหาด้านการละเมิดสิทธิมนุษยชน ความเหลื่อมล้ำทางเชื้อชาติและชาติพันธุื การใช้อำนาจในทางที่ผิดของรัฐบาล และสิทะิเสรีภาพในการแสดงออกที่ถูกลิดรอน มีท้งประเทศที่กำลังเป้นประเทศประชาธิปไตยใหม่ ประเทศที่ประชาธิไตยยัคงสะดุด และประเทศที่ประชาธิปไตยยังถูกตั้งคำถาม แม้จะม่การเลือกตั้งเป้นประจำก็ตามรวมถึงยังเป็นภูมิภาคที่พบว่ามีคนเดินทางไปร่วมรบกับกลุ่มหัวรุนแรงอย่างต่อเนื่องจนกลายเป้นอีกพื้นที่ที่เฝ้าระวังกลุ่มก่อการร้ายที่สำคัญ           สิ่งเหล่านนี้คือความท้าทายที่ภูมภาคเรากำลังเผชิญร่วมกัน และ THE STANDARD เลือกที่จะสะท้อนความเป็นไปที่เกิดขึ้นผ่านการพูดคุญกับคนรุ่นใหม่ 5 ประเทศ ได้แก่ มาเล

Homeless

รูปภาพ
           คนไร้บ้านเพิ่ม ผลสะท้อนความเหลื่่อมล้ำทางสังคม             "คนไร้บ้าน" ยังคมมีให้เห็นอยุ่ทั่วพื้นที่ กทม. ปม้ว่าหลายหน่วยงานจะยื่อมือให้ความเชื่อยเหลื่อ แต่ "คนไร้บ้าน" ก็ยังเป็นหนึ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงความเหลื่อมล้ำทางสังคม และผลพวงจากการเข้าไม่ถึงสวัสดิการที่รัฐบาลจัดไว้               เผยสถิตคนไร้บ้าน               ข้อมูลจากมูลนิธิอิสรชน ที่สำรวจนำนวนคนไร้บ้านทั่ว กทม. ปี 2559 พบว่า มีจำนวน 3,486 คน เป็นชาย 2,112 คน หญิง 1,374 คนแยกเป็นปลุ่มเร่รอ่นไปมา 993 คน กลุ่มผุ้ติสุรา 858 กลุ่มผู้นอนหลับชั่วคราว 853 คน ซึ่งมีทั้งเป็นผู้เพิ่งพ้นโทษ เป็นผู้ป่วยข้างถนนถึงมีนไร้บาต่างชาติ 25 คน กลุ่มแรงงานเพื่อนบ้านต่างชาติ 25 คน กลุ่มแรงงานเพื่อนบ้านต่างชาติ 51 คน และผุ้ให้บริการทางเพศ 28 คน              มูลเหตุหนึ่งที่มุลนิธิอิสรชนชีชัดว่าเป็นเหตุผลหลักที่ทำให้จำนวนคนไร้บ้าเพ่ิมขึ้นมากว่า ปี 2558 ถึง 175 คน คือผลกระทบจาก พ.ร.บ.ธุรกิจรักษาความปลดภัย พ.ศ. 2558 ที่กำหนดคุณสมบัติเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ต้องมีวุฒิการศึกษาขั้นต่ำ ระดับ ม. 3 ส่งผลห้มีผุ้ตกงาน หร

Tax structure

รูปภาพ
          โดยทั่วไปแล้วภาษีเป็นเครื่องมือของรัฐบาลเพื่อบรรลุเป้าหมายหลากหายประการ เช่น เพื่อการายได้ให้แก่รัฐบาล เพื่อส่งเสริมและจำกัดกิจกรรมทงเศราฐกิจบางประเภท เืพ่อรักษาเสถียรภาพของระบบเศราฐกิจเพื่อลดความเหลื่อล้ำในการกระจายรายได้อีกด้วย อย่างไรก็ตามความสำคัยของแต่ละเป้าหมายมีพัฒนาการและเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละช่วงเวลา โดยความสำคัยของเป้ากมายในการดำเนินนโยบายภาษีถูกเปลี่ยนไปจากขช่วงแรกที่เน้นการสร้างความเท่าเที่ยมกนไปเน้นที่การสร้างความเจริญเติบโตทางเศราบกิจ ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากแรงกดดันที่มาควบคู่กับกระบวนการโลกาภิวัตน์ึ่งทำให้การเคลื่อนย้ายทรัพยากรมีลักษณะไร้พรมแรนมากขึ้น           ศักยภาพของการใช้ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเพื่อเป็นเครื่งอมือในการลดความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้มีความแตกต่างกันไปนแต่ละประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศกำลังพัฒนาจะมีข้อจำกัดมาก  และสำหรับกรณีของไทนนั้น คึวามสามารถ ของภาาีเงินได้บุคคลธรรมดาในการแก้ไขปัญหากระจายรายได้ยังคงมีข้อจำกัดมาก การมีภาครัฐที่มีขนาดเล็ก ทำให้รัฐบาลไทยไม่สามารถใช้เครื่องมือทางด้านรายจ่ายเพ่อลดวามเหลื่อมล้ำในสงคมได้มากนัก การมีภาครัฐที่มี

So what ? Inequality

รูปภาพ
         แต่ที่ผุ้เขียนคิดว่าน่าวิตกยิ่งกว่าภัยต่อเศราฐกิจคือ ภัยต่อการอยุ่ร่วมกันในสัคมอย่งสงบสุข          ตัวอย่างการ "เฟรม" แบบน้คือสิ่งที่ OECD พยามจะผลักดัน รายงาน จาก OECD ชี้นนี้ชี้ว่า เราควรลดความมเหลื่อล้ำเพราะความเหลื่อ้ล้ำทำให้เศรษฐกิจโตด้วยอัตราที่ต่ำลง (ถึงแม้ว่านักวิจัยจะยังไม่สามารถตกลงกันด้วยหลักานได้ว่าเป็นเพราะเหตุใด...) โดยผ่านแนวทางที่นักเศราฐกศาสตร์ตั้งสมมติฐานไว้เช่น 1.ความเหลื่อล้ที่มากขึ้นทำให้ประชาชนเรียกร้องให้ขึ้นภาษีธุรกิจ ขอให้ทำการกำกับดูแลที่รัดกุมขึ้น หรือประท้วงไม่เอานดยบายที่เป้นการช่วยเหลือกกลุ่มธุรกิจ 2" ความเหลื่อมล้ำที่มากข้นในังคมที่มี "ไฟแนลเชียล มาร์เก็ต อิมเพอร์เฟคชั่น" อยุ่แต่เดิมแล้วจะทำให้คนที่ฐานะไม่ดีไม่สามารถลงทุนในส่ิงที่ควรลงทุนเพื่อก่อให้เกิดผลตอบแทนอันมหาศาลต่อทั้งผุ้ลงทุนและผลผลิตของชาติ (ิช่นการลงทุนในการศึกาที่มีคุณภาพ)           อย่างไรก็ตาม ผุ้เขียนก็เข้าใจว่าทำไมหลายองค์กรค์ที่ต้องการลดระดับความเหลื่อล้ำถึงมักตีกรอบ ปัญหาความเหลื่อล้ำให้เป็นปัญหาเศราฐกิจ การframe ปัญหาความเหลื่อมล้ำในมุมองของกา

Cause of inqaulity II

รูปภาพ
            ปัจจัยที่หลายคนคิดว่าเป็นต้นตอของความเหลื่อล้ำนั้นมีตั้งแต่ความบ้ำมเหลวงของสมาคึมแรงงานในยุคหลังๆ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนลโยีซึ่งทำให้เกิดความต้องการแรงงานที่มีลทักษะสุงและกิดการ "โละ" แรงงานทักษระต่ำ ไปจนถึงความเหลื่อล้ำทางโอกาสการศึกษา ซึ่งวทั้งหมดนี้นักเศรษฐศาสตร์หลายคนเห้นว่าเป้นปัจจัยสำคัญ แต่ไม่สามารถอธิบายระดับความเหลื่อล้ำที่เราเห้นอย่างในกรณี "รวยกระจุกแล้วแยกวง" ที่ ปิเคทตี้ นำเสนอใน หนังสือ "แคปปิตอล"           แนวคิดของ Piketty ทีเกี่ยวข้องเหนื่อกับต้นตอของปัญหานี้ โดยกล่งถึงบทยาทของความสัมพันธืระหว่างอัตราผลตอบแทนจากทุนกับอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจในการทำให้เกิดป็ญหาความเหลื่อล้ำ           Piketty คิดว่าบทบาทของอัตราผลตอบแทนของทุนและอัตราเติบโตของเศราฐกิจมีส่วนสำคญในการก่อให้เกิดความเหลื่อล้ำ เขาเขียน  3 fundamental laws  ไว้ในหนังสือ  Capital  ดังนี้           1. a _ r x  β —–  ซึ่งแปลเป็นภาษาคนว่าส่วนแบ่งของรายได้ประชาชาติในเศราฐกิจที่ตกเป้นของผุ้ถือครองทุน (a) นั้นจะเท่ากับอัตราผลตอบแทนจากทุน (r) คุนกับอัตราส่วนระหว่างปริมาณทุน

Cause of inqaulity

รูปภาพ
          ตั้งแต่หนังสือ Capital วางแผงไปก็ได้ มการถกเถียงและแลกเปลี่่ยนความคิดเห็นกันอย่างมาก ปัจจัยที่หลายคนคิดว่าเป็นต้นตอของความเหลื่อล้ำนั้นมีตั้งแต่ความล้มเหลวของนสมาคมแรงงานในยุคหลังๆ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนดลยีซึงทำให้เกิดความต้องการแรงงานที่มีทักษระสูงและเกิดการ "โละ" แรงงานทักษะต่ำ ไปจนถึงความเหลื่อมล้ำทางโอกาสศึกษา ซึงทั้งหมดนี้นักเศรษฐศาสตร์หลายคนเห็น่าเป็นปัจจัยสำคัญ แต่ไม่สามารถอธิบายระดับคาวามเหลื่อมล้ำที่เราเห็นอย่างในกรณี"รวยกระจุกตัวแล้วแยกวง" บทความความจึงขอนำ แนวคิดที่เกี่ยวเนื่องกับตัตอของปัญหานี้....เช่น           แนวคิดของ Stiglitz ในบทความนีใช้คำว่า "ปัญหา" คูกับ "ความเหลื่อล้ำ"  แต่จากการสนทนากับผุ้คนที่หลากหลายแล้วพบ่่ามีจนจำนวนไม่น้อยที่ไม่คิดว่่าความเหลื่อมล้ำเป้นปัญหารและคิดวย่าสังคมควรเลิกเสียเวลาด้วยซ้ำ            งานวิจัย จาก Economic Policy Institute พบว่าผุ้บริหารระดับสุงในสหรัฐฯ มีรายได้มากกว่าลูกจ้าทั่วไป 303 เท่าในปี ค.ศ. 2914 (เทียบกัยราวๆ แค่ 20 เท่าในปี ค.ศ. 1965) หากแปลงสัดส่นนี้เป็นเงินดอลลาร์แล้วผุ้บริห

ASEAN : Economic Inequality

รูปภาพ
            ธ.โลก และสำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ได้วิเคาะห์แนวโน้มและพัฒนาการด้านความเลหื่อล้ำทางเศราฐกิจ ของบรระดาประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งรายงานในปี 2555 ระบุวง่า กลุ่มประเทศอาเซียนกำลังเผชิญกับแนวโน้มสำคั 2 ประการกล่าวคือ อาเว๊ยนมีความั่งคั่งที่สูงขึ้น และความเหลื่อล้ำทางเศณาฐกิจระหว่างประเทศสมาชิกมีแนวโน้มลดลง แม้ว่าช่องว่างระหว่างกลุ่มประเทศที่มีรายได้ตอหัวประชารในระดับสูงและต่ำ จะยังความระดัยสุง กล่าวคื อกลุ่มประเทศรายได้สูงมีรายได้ต่อหัวประชากรสูงกว่ากลุ่มประเทศรายได้ต่ำถึงปรมาณ 15 เท่า แต่ช่อง่างดังกล่าวได้ทยอยลดความถ่างลงเรื่อยมาในข่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมาอย่างไรก็ตาม แนวโน้มอีกประการที่ต้องตระหนักและหาแนวทางแก้ไขต้อไปคือ ความเหลื่อล้ำภายในประเทศของสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศกลับมีแนวโน้มสูงขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศที่มีรายได้สูงจะประสบกับปัญหามากกว่ากลุ่มประเทศที่มีรายได้ต่ำกว่าสิ่งนี้เป็นนัยแสดงว่า กลุ่มประเทศที่มีรายได้สูงมีการเพ่ิมขึ้นของรายได้ในอัตรเร่งที่สูงกว่าประเทศสมชิกอื่นๆ                               ข้อมูลและสถิติบางส่วนที่เก่ยวข้องได้สะท้อนให้เห็นถึงพ

Disadvantages and Inequality of ASEAN

รูปภาพ
             ใต้กระแสอาเซียน (ด้านอ้ยของ AEC และความเหลือมล้ำ              การเกิดขึ้นของประชาคมเศราฐกิจอาเว๊ยนเป้นแรงผลักดันจากมหาอำนาจทางเสณาฐกิจและกลุ่มทุนภายในประเทศอาเว๊ยนเืพ่อที่จะสร้าง/ขยาย "ตลาด" ให้กว้างขวางมากขึ้น ดดยที่ไม่ได้แยแสผบกระทบต่อผุ้คนส่วนใหญ่ในกลุ่มประเทศอาเวียนแม้แต่น้อย ขณะเดียวกัน กระแสการผลักดันประชาคมเศราฐกิจอาเซียนก็ได้สร้างกระแสการรับรู้างสังคมทีทำให้คิดและรู้สึกไปได้ว่าปัยหาต่างๆ ที่หมักหมดในสังคมอาเซียนจะแก้ไขลุล่วงไป้ดวยการเปิด "ตลาด" อาเซียน             เราจะมองเห็นแนวโน้มของผลกระทบจาก "ตลาดอาเซียน" ได้ก็ต่อเมื่อเราเข้าใจและมองเห็นปัญหาทางเศรษฐกิจสำคัญของผุ้คนในกลุ่มประเทศอาเวียน ซึ่งจะมองเห็นได้ว่าปัญหาทีหมักหมมนี้จะแก้ไขได้ด้วย "ตลาดอาเซียน" หรือไม่ อย่างไร            ความเปลี่ยนแปลงทางเศราฐกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน โดยเฉาพะในกลุ่มประเทศที่สังกัดโลกเสรีในช่วงสงครามเย็นได้ทำให้เกิดความเหลื่อล้ำทางเศรษฐกิจสูงมาก และในช่วงสองทศวรรษหลบังจากที่สงครามเย็ฯยุตลง การปรับตัวของการดำรงอยู่างเศรษฐกิจของผุ้คน่วนใหย่ในกล

Concept to Reduce inequality

รูปภาพ
           แนวคิดในการลดความเหลื่อมล้ำ             - ด้านเศรษฐกิจ การลดความเหลื่อล้ำด้านเศราฐกิจในระบบเศราฐกิจแบบทุนนิยม ซึ่งต้องเคาระสิทธิและเสรีภาพทางเศณาฐกิจของประชาชนทุกหมู่เหล่าเป็นสำคญ สามารถทได้โดยการลดความเหลื่อล้ำด้านราได้และลดความเหลื่อล้ำด้านโครงสร้างภาษี ควบคู่กันไป            1. รัฐบาลปล่อยให้ประชาชนทุกภาคส่วนแข่งขันกันเองภายใต้กลไกตลาดที่เป็นโอกาสให้ทุกคนสามารถสะสมความม่งคั่งจาการทำงานและการประกอบธุรกิจ ทว่าวิะีนี้จะสำเร็จได้ก็ต่อเมื่อประชาชนมีรายได้สุทธิหลงจากหักค่าใช้จ่ายต่างๆ แล้ว ที่เพียงพอต่อการออกม ยิ่งไปกว่านั้นโครงสร้างการแข่งขันในตลาดจะต้องเสรีและเป(็นธรรมซึงหมายความว่ารัฐบาลรัฐควรปรับปรุงกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายแข่งขันทางการต้าให้ใช้การได้จริงเพื่อลดโอกาสที่ความมั่งคั่ จะกระจุกตัวอยุ่แต่เฉพาะในหลุ่มผุ้มีอำนาจผุกขาดหรือเหนือตลาด และควรเนน้นการส่งเสริมผุ้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมมากวาผุ้ประกอบการขนาดใหญ่ที่าี "สายป่านยาว" อยุ่แล้ว นอกจากนี้ทุกคนในสังคมก็ควรมีโอากสเข้าถึงปัจจัยต่างๆ ที่จำเป็นต่อการสร้างสเสริมสมรรถภาพในการดำรงชีพหรือแขช่งขนอย่าง

Tax system for Reduce inequality

รูปภาพ
           โดยหลักการแล้ว การวิเคราะห์ระบบภาษีของประเทสใดประเทศหนึ่งจำเป้ฯจะต้องวิเคราห์ควบคู่ไปกับโครงสร้างรายจ่าของรัฐบาลในประทเศนั้นๆ ด้วยเนื่องจากโดยปกติแล้ว ภาษีคือแหล่งรายได้ที่สำคัญทีสุดของรัฐบาล ซคึ่งในกรณีที่รัฐบาลมีความต้องการจะใชจ่ายเพ่ิมเติม รัฐบาลจำเป้นต้องเพีิามการจัดเก็บภาษีตามไปด้วย            เราทุกคนควรพึงระลึกไว้เสมอว่ารายจ่ายต่างๆ ของรัฐบาลนั้นแท้จริงแล้วมีต้นทางมาจากภาษีที่จัดเก็บจากพวกเราทุกคนนั่นเง อังนั้นการใช้จ่ายต่างๆ ของรัฐบาลควรจะถุกควบคุมให้อยู่ในการอบที่พิจรณาเป้นอย่างดีแล้ว เห้ฯควรให้รัฐบาลเข้าไปบริการจัดการ            อย่างไรก็ดี วัตถุประสงค์ของบทความนี้มุ่งเน้นไปที่การวิเคราะห์ระบบภาษีของประเทศไทยแต่เพียงประการเดียว โดยประ็นในการพิจารณาระบบภาษีจะมีด้วยการหลบยรประเด็น ได้แก่           1. ระบบภาษีดังกล่าวควรสร้างรายได้ที่เพียงพอต่อการใช้จ่ายของรัฐาล           2. ระบบภาษีควรมีความเป้ฯธรรมต่อประชาชนในประเทศทุกคน           3. ระบบภาษีควรก่อให้เกิดความบิเบื่นต่อระบบเศษบกิจน้อยที่สุด           4. ระบบดังกล่าวควรเื้อต่อการรักษาเสถียรภาพของระบบเสราฐกิจ