บทความ

Thein Sein

รูปภาพ
            อองซาน ซูจี ถูกควบคุมตัวอยู่ 15 ปี ระหว่างปี 1989-2010 เมื่อรัฐบาลทหาร(เปลี่ยนือจาก"สลอร์ค"ในปี 1997) จัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในปี 2010  พรรคึ NLD มีมติบอยคอตการเลือกตั้ง เพราะมองว่าเป็นการเลือกตั้งที่ไม่เป็นธรรม แต่อย่างน้อยที่สุด หลังการเลือกตั้งปี 2010 และการขึ้นดำรงตำแหน่งของประธานาธิบดี เต็ง เส่ง จากพรรค USDP พม่าก็มีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดี เร่ิมมีการแก้ไขกฎหมายเพื่ออำนวยความสะดวกให้นักลงทุนทั้งภายในและภายนอกประเทศแต่ในด้านการเมืองและการจัดการความขัดแย้ง รัฐบาลฃเต็ง เส่ง ยังอยู่ีภายใต้การควบคุมของกองทัพ ซึ่งยังมีนายพล ตาน ฉ่วย ควบคุมใอยู่ อิทธิพลของกองทัพพท่าเป็นอุปสรรคสำคัญที่สุดในการก้าวสู่คงวามเป็นประชาธิปไตย...เมื่อการเมืองของประชาชนฝากความหวังไว้ที่ NLD มาโดยตลอด NLD จึุงเป็นพรรคการเมืองในฝั่งประชธิปไตยเพียนงพรรคเดียวที่พอจะสร้างความเปลี่ยนแปลงได้ และประชาชนเอง แม้จะเป็นในพื้นที่ของพรรคกลุ่มชาติพันธุุ์ ก็พร้อมใจกันเลือก NLD เข้าไป เมื่อมีการเลือกตั้งในปี 2012 เพราะเชื่อว่า แตกต่างและจะทำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนดีขึ้นได้จริง การขาดพรรคการเมื

NLD (National League for Demacracy)

รูปภาพ
             พรรค NLD หรือสันนิบาตแห่งชาสติเพื่อประชาธิปไตย เกิดขึ้นมาพร้่อมๆ กับการประท้วงครั้งใหย๋ที่สุดในประวัติศาสตร์การเมืองสมัยใหม่ของพม่าใน 1988  ก่อตั้งเมื่อ 24 กันยายน พ.ศ. 2531 เพื่อต่อต้าน "สภาฟื้นฟูระเบียบและกฎหมายแห่งรัฐ" หรือ "SLORC" ซึ่งเข้ายึดอำนาจการปกครองในนามของคณะทหาร ทำให้เกิดการจลาจลนองเลือดในเมืองใหญ่ของพม่าหลายเมือง ผุ้ก่อตั้งพรรคได้แก่ อองซาน ซูจี อองจี และติ่นจู พรรคการเมือง NLD กลายเป็นพรรคการเมืองที่ใหญ่ที่สุดและมีอิทธิพลสุงสุด มีสมาชิกทั่วประเทศถึง 2 ล้านคน ในปัจจะบันอาจกล่าวได้ว่าความนิยม NLD เกิดขึนเพราะความนิยม อองซาน ซูจี...           "อองซาน ซูจี"เกิดเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2488 เป็นบุตรสาวคนสุดท้องของนายพลอู อองซาน "วีรบุรุษอิสรภาพของประเทศพม่า" ผู้นำการต่อสู้กับญี่ปุ่นและ สหราชอาณาจักร จนนำไปสู่การได้รับอิสรภาพเป็นรัฐเอกราช นายพล อู อองซาน ถูกลอบสังหารก่อนทีพม่าจะได้รับเอกราช ขณะนั้น ออง ซาน ซูจีมีอายุเพียง 2 ขวบ           ในปี พ.ศ. 2503 นางดอว์ซิ่นจี มารดาของอองซาน ซูจีได้รับการแต่างตคั้งให้ไปดำรงตำแหน่งท

"SLORC" State Law Order Restoration Council

รูปภาพ
           คณะนายทหารที่เรียกว่า สภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ หรือรัฐบาล "สลอร์ค State Law Order Restoration Council-SLORCc และ พรรึคเอกภาพแห่งชาติ ร่วมกันปกครองพม่าหลัง ตามคำสังนายพล เนวิน ดดยมีนายพลซอ หม่อง ทำรัฐประหารเมืองวันที่ 18 กันยายน            เืพ่อสร้างภาพว่ารัฐบาลกำลังจะเปลี่ยนระบบการปกครองและเสณาฐกิจไปสู่ความเป็นเสรีมากขึ้นได้ยกเลิกรัฐธรรมนูญของปี ค.ศ.1974 และเป็ดประเดศด้วยการปรับนโยบายเศรษฐกิจไปสู่ระบบตลาดเปิดเสรีให้ต่ารงชาตินำเงินเข้ามาลงทุนใช้ทราัพยากรธรรมชาตอันอุดมสมบูรณ์ และยกเลิกระบบเศรษบกิจแบบสังคมนิยมที่นายพล เนวิน ประกาศใช้เมือ 26 ปีก่อน และการจัดตั้งพรรคสันนิบาตแห่งขาติเพื่อประชาธิไตยหรือ NLD National League for Democracy) ที่อีอ่อง ยี เป็นประธานพรรค และนาง ออง .าน .ูจี เป็นเลขาะิการพรคฯ ทั้งหมดนี้นับเป็รเริ่มขบวนการประชาธิไตยและสร้างภาพลักษณ์ใหม่ให้แก่ประเทศและรัฐบาล          รัีฐบาล "สลอร์ค" เปลี่ยนชื่อประเทศพม่าเป๋น "สหภาพเมียนมาร์โดยอ้างว่าเป็นชื่อที่มีความเป็นเอกภาพมากกว่า พม่า และสิ่งทีไม่ได้คาดไว้ก็เกิดขึ้น คือ ในอี่ก 1 ปีต่อมาราัฐบ

Burma Soldier (ทหารพม่า)

รูปภาพ
            แนวความคิดทางการปกครองประเทศ ของนายพลเน วิน และหลังจากยุคสมัยนั้น มีความแตกต่างกันไม่้มากนัก มีผู้กล่าวไว้ว่า ผู้นำทางทหารยังคงมีจุดยืนว่าประเทศหรือรัฐ รัฐบาล และกองทัพเป็นสามสิ่งที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ดังนั้นก่อนและหลังการป้วงของพม่า ในปี 1988 รัฐบาลและกองทัพจึงถูกมองว่าเป็นสองสิ่งที่ถูกรวมเข้าด้วยกันอยางแนบแน่น การรักษาควารมมั่นคงของรัฐเท่้ากับการรักษาความมั่นคงในอำนาจจของคณะทหารเพื่อคงอำนาจการบริหารให้่อยู่ภายใต้รัฐ มีผู้วิเคราะห์ว่าผู้นำทหารของเมียนมามีมโนทัศน์ที่ยึดถือร่วมกันคื อการรักษาเอกภาพ บูรณภถาพ และอธิไตยของประเทศ ซั่งนั้นคือเหตุผลหลักที่ทำให้กองทัพยัคงปกป้องอำนาจของตนเอง รวมถึงพร้อมที่จะปราบปรามฝ่ายตรงข้เามด้วย           กองทัพพม่าสมัยใหม่มีกำเนิดมาจากสงครามโลกครนั้่งที่ 2 โดยขบวนการชาตินิยมพม่าพยายามหาความช่วยเหลือจากต่างประเทศทั้งในด้านอาวุธ ยุทธโธปกรณ์และการฝึกฝนสทางทหาร กลุ่มตรีทศมิตครที่ประกอบด้วย ออง ซาน และคณะที่เคึลื่อนไหวเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษ ได้เดินทางไปฝึุกอาวุธ ที่เกาะไหหลำภายใต้การอำนวยการของทหารญี่ปุ่ถน ถือเป็นต้นกำเนิดของกองทัพเอราชพม่้าท

Four Eights Uprising' 8888 (การประท้วง วันที่ 8 เ้ดือน 8 ปี ค.ศ. 1988)

รูปภาพ
            "ข้าพเจ้าต้องแจ้งให้ท่ารซึ่งเป็นพลเมืองของสหภาพ(พม่า) รู้่ว่ากองทัพต่างๆ ได้ร่วมกันเข้ายึดอำนาจ และขอรับผิดชอบต่อการรักษาความปลอดภัยของประเทศชาติ ทั้งนี้ต่อเนื่องมา แต่สภาพอันเสื่อมโทรมของสหภาพ             "ข้าเจ้าขอร้องให้ท่าน จงปฏิบัติหน้าที่ดังเข่นที่ใด้กระทำมาแต่เดิม โดยปราศจากความกลัวภัยและความไม่สบายใจ            "เราซึ่งเป็นกลุ่มคณะปฏิวัติจะพยายามอย่างที่สุด ในอันที่จะเสริมสร้างควารมสุขและความอยู่กินดีให้แก่บรรดา ประชาชน ทุกคนของสหภาพ"            นายพลเนวิน (ในฐานะหัวหน้เาคณะปฏิวัติ) ได้กล่าวคำปราศรัยแก่ประชาชนทางวิทยุ             นายพลเนวินได้ทำการรัฐประหาร ยึดอำนาจจาก นายอูนุ นายกรัฐมนตรีของพม่าหลังได้รับเอกราช โดยนายอูนุ บริหารประเทศด้วยระบอบประชาธิไตย และพยายามสร้างรัฐสวัสดิการ แต่ทั้งนี้ นายอูนุ ได้ยอมรับว่าปัญหาของพม่ากว่า หมื่นสองพันกว่าเรื่อง ต้องใช้เวลาในการสะสางกว่า 20 จึงจะลุล่วง            ในเวลานั้นประชาชนพม่าโดยทัี่วไป ต่างก็แสดงความยินดีต่อการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากปัญหาต่างๆ ทั้งทางการเมืองเศรษฐกิจ สังคม และศาสนาเพิ่มขึนมากมาย ื    

ฺBurma : religious conflict (ความขัดแย้งทางศาสนาในพม่า)

รูปภาพ
           การเหยียดชาติพันธ์ุและศษนาที่มีความรุนแรงในปัุจจุบันกระทั้งเกิดปัญหา "โรฮิงญา" กล่าวได้ว่าเป็นผลจากการตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ในขช่วงที่อังกฤษเป็นเจ้าอาณานิคม ได้มีชขาวต่างชาติเข้ามาในพม่าจำนวนมาก เช่น ชาวจีนและชาวอินเดียเป็นพิเศษ กล่าวว่าชาวอินเดียมีบทบาทสำคัญเพราะอังกฤษใช้ชาวอินเดียเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการดูแลพม่า อย่างในเขตหุบเขาตอนใต้ "South Valleys" ที่ถูกนับเป็นส่วนหนึ่งของอินเดีย การถูกชาวต่างชาติควบคุมดูแลในช่วงอาณษนิคมทำให้ชาวพม่าไม่พอใจ อีกทั้งยังมีควารมไม่เท่าเทียมและความโกรธแค้นจาการถูกกดขี้จากทั้งโครงสร้างสังคมและเศรษฐกิจ อย่างกรณีที่ชาวพม่าจำนวนมากได้กลายเป็นลูกหนี้ต่อระบบกู้ยืมเงินของชาวอินเีย ส่งผลให้ผุ้ที่ไม่สามารถาขำรีะหนี้คืนต้องสูญเสียที่ดินทำนาไป ความเกลี่ยดกลัวคนต่างชาตจิในปัจจุบันจึงเกิดขึ้นและบ่มเพาะม           ความเกลียดชังนี้ส่งผลต่อชารวโรฮิงญาโดยตรนง เพราะถึงแม้บรรพบุรุษชาวโรฮิงญาจะเข้ามาตคั้งรกตากใสนพม่าตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 7 และมีบวามสัมพันธ์กับพมท่ามาหลายศตวรรษ แต่การที่ชาวดรฮิงญามีลักษณะทางกายภาพ ภาษา วัฒนธรรมและศาสนาที่คล้า

ฺิิิืืืืืฺิิ้่่ีBurma : Ethnic (ชาติพันธ์ในพม่า)

รูปภาพ
          พม่าประกอบขึ้นจากคนกลุ่้มใหญ่และถชนกลุ่มน้อย ซึ่งทั้งสองกลุ่มนี้่มีชาติพันธ์ที่แตกต่างกัน ชนกลุ่มใหญ่นั้นหมายถึงชนที่มีเชื้อสายพม่าโดยแท้ ส่วนชนกลุ่มน้อยประกอบขึ้นจากหลายกลุ่มชาติพนธ์ด้วยกัน โดยที่พม่าซึ่้งมีเชื้อชาติพม่าแท้มีเพียง กึ่งหนึ่งของประชากรทั้งหมด ที่เหลือเป็นพลเมองชาติพะนธ์อื่น เช่น ฉานหรือไทยใหญ่ มอญ กะเหรีียง คะฉิ่น ฉอ่ม คะย้า จนและแขกลดหลั่นกันตามลำดับ..กลุ่มชาติพันธ์เหล่านี้มาอยู่รวมกันในพม่า แต่ก็มีการแบ่งอาณาเขตคกันอยู่เป็นชาติพันธุ์ไป โดยที่แต่ละชาติพันธุ์ได้อยู่รวมกันเป็นรัฐและส่งตัวแทนไปร่วมรัฐบาลเพื่อปกครองประเทศที่กรุงย่างกุ้ง อย่างไรก็ตามกลุ่มชาติพันธ์ที่ต่างกันนี้ มีจำนวนน้อยกว่า ชาวพม่าแท้่และยังคงไม่สามารถรวมตัวได้ แม้ในปัจจุบันจะมีการตั้งไแนวร่วมแห่้งชาติประชาธิอไตย" เพื่อต่อต้านรัฐบาลกลาง แต่ก็ยังไม่มีอิทธิพลที่จะทำให้วัตถุปรสงค์ของกลุ่มบรรลุเป้าหมายได้ ดังนัี้นจึงถูกพม่าแท้่เข้าครอบงำทางการเมืองการปกครองกและพยายามกำหนดนโยบายของประเทศตามความต้องการของตัน ซึ่งเป็นสิ่งที่เพิ่มความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกลางกับชนกลุ่มน้อยที่มีอยู่เดิมแล้วให้ขยายวงก