บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มีนาคม, 2013

WWI:11/11 /1918

รูปภาพ
     บัลแกเรียเป็นประเทศของฝ่ายมหาอำนาจกลางที่เจรจาสงบศึกในวันที่ 29กันยายน 1918 และตามมาด้วยจักรวรรดิออตโตมันเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 1918      หลังจากยุทธการวิตโตริโอ เวเนโต ของอิตาลีก็ทำให้ออสเตรีย-ฮังการีถึงจุดจบ การสลายตัวของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี กรุงบูดาเปสต์ ปราก และแซกเกร็บประกาศเอกราช การสงบศึกจัดการโดยทางโทรเลขกับฝ่า่ยสัมพันธมิตรในกรุงปารีส มีการลงนามในวิลลา กิอุสติ  เมื่อวันที่่ 3 พฤศจิกายน 1918 ออสเตรียและฮังการีแยกกันลงนามสงบศึกหลังล้มล้างราชวงศ์ฮัมส์บูร์ก     ต้นปี 1917 เยอรมนีประสบปัญหาและความยุ่งยากหลายประการ เนื่องจากประเทศเยรมนีใช้เงินที่มีอยุ่ในการทำสงครามจนหมด เกิดการปั่นป่วนทางภาวะการเงินและเศรฐกิจของประเทศ เสบียงอาหารและวัตถุดิบที่ผลิตในประเทศไม่พอเลี้ยงทหารและประชาชน การติดต่อกับประเทศที่เป้นกลาง และพันธมิตรของตนถูกขัดขวางจากฝ่ายตรงข้าม โดยอังกฤษทำการปิดล้อมและขัดขวางการติดต่อของเยอรมนีกับโลกภายนอก ในขณะที่ฝ่ายพันธมิตรได้รับความช่วยเหลือจากอาณานิคมของตน และได้รับการสนับสนุนทางการเงินและอาวุธจากประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก     แม้ในช่วงต้นเยอรมนีจะได้เปรียบคู่ต

WWI:การตอบโต้

รูปภาพ
     เยอรมนีเริ่มปฏิบัติการเกอเก็ทเธอร์  ที่เมืองท่าช่องแคบอังกฤษทางหนือ ทางใต้เริ่มปฏิบัติกรบบลอแชร์และยอร์ค ซึ่งเป้าหมายคือกรุงปารีส ปฏิบัติการมาร์นเริ่มภายหลังต่อมาโดยพยายามจะล้อมแรมส์และเร่ิมต้นยุทธการแม่น้ำมาร์นครั้งที่ 2     การตีตอบโต้ของสัมพันธมิตรได้ผลและกลายเป็นจุดเริ่มต้นของการรุกร้อยวันในเวลาถัดมา      20 กรกฏา 1918 กองทัพเยอรมนีถูกผลักดันข้ามแม่น้ำมาร์นโดยไม่บรรลุวัตถุประสงค์ใดๆ       การรุกร้อยวันโดยฝ่ายสัมพันธมิตรเริ่มในวันที่ 8 สิงหารคม 1918 ในยุทธการอาเมียง ทัพอังกฤษ อยู่ทางปีกซ้าย ทัพฝรั่งเศสอยู่ทางปีกขวา โดยมีกองทัพน้อยออสเตรเลียและแคนาดาเป็นหัวหอกในการโจมตีตรงกลาง  สามารถรุเข้าไป12 กิโลเมตรในดินแดนที่เยอรมนถือครองเพียงเจ็ดชัวโมง     20 สิงหา 1918 ฝรั่งเศสทางปีกขวาจับกุมเชลยศึก 8,000 คนปืนใหญ่ร้อยกระบอก และยึดครองที่ราบสูง Aisne ซื่งเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่ได้เปรียบและสามารถมองเห็นที่ต้องของเยรมนีทางเหนือ      ในขณะที่กองทัพอังกฤษทางปีกซ้ายรายงานว่าข้าศึกบนแนวรบลดจำนวนลงจากความสูญเสียและล่าถอย คำสังโจมตีด้วยรถถัง 200 คนเพื่อเปิดฉากยุทธการอัลแบ โดยมีจุดมุ่งหมายเจาะ

WWI:Hutier tactics

รูปภาพ
      ปี 1918 แนวรบด้ารตะวันตก การรุกฤดูใบไม้ผลิมีจุดประสงค์เพื่อแยกกองัพอังกฤษและฝรั่งเศสออกจากกันด้วยการหลอกและการรุกหลายครั้ง โดยต้องการโจมตีอย่างเด็ดขาดก่อนที่กองกำลังสหรัฐขนาดใหญ่จะมาถึง เริ่มปฏิบัติการในวันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 1918   โดยโจมตีกองทัพอังกฤษที่อเมนส์และสารารถรุกเข้าไปได้ถึง 60 กิโลเมตรนับเป็นความสำเร็จที่ไม่เคยปรากฎมาก่อน        การนำรูปแบบการรบเข้ามาใช้ในสงครามและเพื่อเจาะผ่านแนวสนามเพลาะของผรั่งเศสและัอังกฤษและประสบความสำเร็จ โดยตั้งชื่อยุทธวิธีนี้ตามชื่อพลเอกชาวเยรมนีคนหนึ่ง      โดยเป็นการแทรกซึมทหารราบขนาดเล็ก เข้าโจมตีจุดที่อ่อนแอ จุดสั่งการและพื้นที่ขนส่ง หลีกเลี่ยงการปะทะหนัก และเมื่อโดดเดียวพื้นที่เป้าหมายได้แล้วจึงส่งทหารราบเข้าบดขยี้ภายหลัง       แนวหน้าเคลื่อนตัวห่างจากกรุงปารีส 120 กิโลเมตรปืนใหญ่รถไฟยิงกระสุนเข้าใส่กรุงปารีส ชาวปารีสจำนวนมากต้องหลบหนี ความสำเร็จในครั้งจักพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ทรงประกาศให้วันที่ 24 มีนาคมเป็นวันหยุดราชการ เยอรมันจำนวนมากคิดว่าชัยชนะของสงครามอยู่แค่เอื้อม..แต่การหาเป็นเช่นนั้นไม่ หลายคนกล่าวว่าการหยุด 1 วันดังกล่าวเป็นจุดหั

WWI:การเข้าร่วมสงครามของประเทศต่าง ๆ

รูปภาพ
     นอกจากกลุ่มไตรภาคี และกลุ่มไตรสัมพันธมิตร ซึ่งเป็นมหาอำนาจในยุโรปที่แบ่งเป็นสองขั้วอำนาจเพื่อทำสงครามซึ่ง      กลุ่มไตรภาคีหรือ มหาอำนาจกลางได้แก่ จักรวรรดิเยอรมัน จักวรรดิออสเตรีย-ฮังการี จักรวรรดิออตโตมัน      กลุ่มไตรสัมพันธมิตรได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย แล้วยังมีประเทศต่าง ๆ ที่ทยอยเข้าร่วมสงครามด้วยเหตุผลและแรงจูงใจที่ต่างกัน        อิตาลี  เป็นพันธมิตรกับบเยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการี อิตาลีมีเจตนาของตนบนพื้นที่ออสเตีย จึงทำสัญญาอย่างลับ ๆ กับฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการลบล้างพันธมิตรเก่าอย่างส้นเชิง อิตาลีปฏิเสธการเข้าร่วมสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางโดยอ้างว่าฝ่ายตนเป็นผู้กระทำผิด        ออสเตรีย-ฮังการี ได้เสนอในหอิตาลีวางตัวเป็นกลางโดยยื่นข้อเสนออาณานิคมตูนิเซียเป็นการตอบแทนแต่ทางสัมพันธมิตก็ยืนข้อเสนอเพื่อดึงอิตาลีมาเป็นพวกตนเช่นกัน จึงเป็นการนำมาซึ่งสนธิสัญญาลอนดอน หลังการรุกรานตุรกี อิตาลีจึงเข้าร่วมสงคราม โดยประกาศสงครามต่อออสเตรีย-ฮังการีในวันที่ 23 พฤษภาคม 1915 และอีก15 เดือนให้หลังจึงประกาศสงครามกับเยอรมนี     โรมาเนียเป็นอีกประเทศที่ประกาศตนเป็นกลางและให้เหตุผลว่าฝ

WWI:Battlesship

รูปภาพ
   อังกฤษแสดงให้เห็นถึงการเป็นจ้าวแห่งทะเลกว่าศตรวรรษในยุทธนาวีจัตแลนด์ เป็นการปะทะเต็มอัตราศึกของกองทัพเรือทั้งสองฝ่าย ใช้เวลา 2 วัน ในทะเลเหนือนอกคาบสมุทรจัตแลนด์ แม้ผลของยุทธนาวีไม่มีฝ่ายใดแพ้ชนะ แม้กองเรื่อเยอรมนี่สมารถหลบหนีกองเรืออังกฤษที่มีกำลังเหนือกว่า และถึงแม้จะสร้างความเสียหายให้แก่กองเรืออังกฤษได้มากกว่า แต่ในทางยุทธศาสตร์ ฝ่ายอังกฤษแสดงสิทธิในการควบคุมทะเล และกองเรือผิวน้ำส่วนใหญ่ของเยอรมนีถูกกักอยู่แต่ในท่ากระทั่งสงครามยุติ      เมื่อพระเจ้าไกเซอร์ที่ 2 ขึ้นครองราชย์ ทรงเป็นกษัตริย์ที่สนพระทัยและให้ความสำคัญในกิจการทหารเรือเป็นอยางมาก ทรงกำหนดนโยบาย พัฒนาสมุทานุภาพ เสริมสร้างกำลังทางทะเลเพื่อคุ้มครงอการค้าขายำบต่างชาติ อันจะเป็นหนทางของอาณาจักร เพื่อก้าวขึ้นสู่การเป็นประเทศมหาอำนาจของโลกในที่สุด     ราชนาวีอังกฤษจับตาการเติบโตอย่างไม่กระพริบตาประเมินว่าจะเป็นปัญหาต่อตนหรือไม่ จึงมีการแข่งขันการเสริมสร้างกำลังทางเรือขนานใหญ่ระว่างสองประเทศ รวมถึงการแบ่งข้างตั้งกลุ่มขึ้นอย่างชัดเจนเพื่อให้การคุ้มครอง การค้าทางทะเลและเป็นเหตุผลหนึ่งของสงครามโลกครั้งนี้      เมื่อเข้า

WWI:บอลข่าน

รูปภาพ
       ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซีมีเลียน ของออสเตรีย-ฮังการี แล้วพระราชนัดดา อาร์คดยุคฟรานซ์ เฟอร์ดิมานด์ ได้รับตำแหน่งองค์รัชทายาทสืบต่อจากอาณ์คดยุครูดอล์ฟ ซึ่งถูกลอบปลงประชนเมื่อเสด็จราษฎรที่กรุงซาราเจโว โดยชาวเซอร์เบียจึงนำมาสู่ภาวะสงคราม      การเคลื่อนไหวของเซอร์เบียมีรัสเซียคอยในการช่วยเหลืออยู่อิตาลีประกาศตัวเป็นกลางตั้งแต่เริ่มสงคราม เมื่อเริ่มสงครามกองทัพถูกแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนหนึ่งบุกโจมตีเซอร์เบีย ขณะที่อีกส่วนโจมตีรัสเซีย การบุกเซอร์เบียนั้นไม่ประสบความสำเร็จ แต่การบุกรัสเซียสามารถเอาชนะรัสเซียได้ในสมรภูมิเล็มเบิร์ก และล้อมเมืองพริเซ็มมิวส์ได้แต่ก็ต้องถอนทัพออกในเดือนมีนาคม ปี 1915      23 พฤษภาคม 1915 อิตาลีประกาศสงครามต่อ ออสเตรีย-ฮังการี และประกาศสงครามต่อเยอรมันในสิบห้าเดือนให้หลัง      แม้ว่าในทางการทหาร อิตาลีจะมีความเหนือกวาทางด้านกำลังพลก็ตาม แต่ข้อได้เปรียบนี้ไม่ส่งผลดีแต่ประการในเนื่องจากสภาพภูมิประเทศที่สลับซับซ้อนและยุทธศาสตร์และยุทธวีธีที่ใช้ด้วย ในช่วงสิบเดือนแรกของปี 1915 ออสเตรีย-ฮังการีใช้ทหารกองหนุนส่วนใหญ่สู้รบกับอิตาลี

WWI:แนวร่วมกับข้อผูกมัด

รูปภาพ
         สัญญาและประกาศฝ่ายสัมพันธมิตรที่ทำกับผู้แทนของประชาชนในตะวันออกกลางนำโดยอังกฤ ซึ่งได้ยิวและอาหรับ โดยมีจุดประสงค์ที่จะให้คนเหล่านี้เป็นฝ่ายเดียวกับสัมพันธ์มิตร   สัญญาดังกล่าวระบุข้อควาที่แสดงความเห็นอกเห็นใจประชาชนที่อยู่ภายใต้การปกครองของเติร์ก และจะช่วยให้ประชาชนเหล่านั้นมีสิทธิในการปกครองตนเองเมืองสงครามสิ้นสุด   ซึ่งมีลักษณะผูกมัดตนเองอังกฤษจะต้องรับผิดชอบต่อคำสัญญาดังกล่าว 3 ประการด้วยกัน      ประการแรก เป็นสัญญาที่อังกฤทำกับผู้แทนฝ่ายอาหรับ โดยมีจุดมุ่งหมายคือให้อาหรับเป็ฯฝ่ายเดียวกับอังกฤษและอังกฤษจะช่วยให้อาหรับได้รับสิทธิของตนในตะวันออกกลาง      ประการที่ 2 เป็ฯสัญญาที่อังกฤษทำกับผู้แทนของฝ่ายยิวโดยมีความต้องการเหมือนกันคือให้ยิวเป็ยฝ่ายเดียวกับตน และอังกฤษก็จะช่วยให้ความหวังของยิวประสบผลสำเร็จนั้นคือ การสร้างประเทศชาติยิว      ประการที่ 3 เป็นคำสัญญาปลีกย่อยที่อังกฤษทำกับอาหรับหลายคนและรวมทั้งการที่ฝรั่งเศสเสนอข้อเรียกร้องให้อังกฤษตระหนักถึงความปรารถนาของฝรั่งเศสในการมีอิทธิพลในเลอวองบริเลอวอง บริเวณฝั่งตะวันออกของเมดิเติร์เรเนียน                    การต

WWI:ชาตินิยมอาหรับ

รูปภาพ
นับแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 กระทั่งการปฏิวัติของพวกยังเติร์ก ชาวอาหรับที่นับถือคริสต์ศาสนาเท่านั้นที่ต้องการอิสรภาพ ส่วนชาวอาหรับมุสลิมปรารถนาเพียงการปฏิรูปและการให้อำนาจแก่ชาวอาหรับเท่านั้น         ชาตินิยมอาหรับส่วนใหญ่ เป็นศัตรูกับรฐบาลออกโตมัน ซารีฟ ฮุสเซน และโอรสอีกลายองค์เป็นผู้นำขบวนการชาตินิยมภายในเวลา 2-3 เดือนก่อนสงคราม โอรสของฮุสเซน องค์หนึ่งได้ตั้งกงสุลทั่วไปและแต่ตั้งชาวอังกฤษประจำไคโร การกระทำครั้งนี้สร้างความตึงเครียดระหว่าง ซารีฟและสุลต่านและนำเข้าสู่วิกฤต แต่ถ้าสุลต่านขับไล่ซารีฟด้วยสาเหตุนี้ย่อมเกิดการปฏิวัติแน่นอนเหตุเพราะซารีฟเป็นกษัตริย์ที่ได้รับความนิยมจากประชาชน        การต่อต้านจักรวรรดิและลัทธิชาตินิยมทั้งตุรกีและอาหรับเด่นชัดขึ้นเมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1        สงครามในตะวันออกกลางปะทุหลังยุโรปเล็กน้อย อังกฤษและฝรั่งเศสประกาศสงครามต่อออตโตมัน อังกฤษผนวกไซปรัส และประกาศให้อียิปต์เป็นดินแดนในอาณัติ ก่อนการประกาศสงครามกับเติร์กอังกฤษทั้งกองทัพบกและกองทัพเรือของอังกฤษจากอินเดียมุ่งสู่ลุ่มแม่น้ำไทกริส-ยูเฟติส ในอิรักและได้รับความขช่วยเหลือจากคูเวต อังกฤษตอ

WWI:ตะวันออกกลาง

รูปภาพ
     ก่อนสงครามจะปะทุ2-3 ปีการแข่งขันของมหาอำนาจยุโรปเพื่อเข้ามามีอิทธิพลเหนือตะวันออกกลาง โดยมีจุดมุ่งหมายเดียกันคื อการได้สัมปทานอุตสาหกรรน้ำมันในตะวันออกกลาง โดยเป็นการแข่งขันระหว่างประเทศมหาอำนาจคือ อังกฤษ ฝรั่งเศษและเยอรมนีแม้ปัญหาดังกล่าวจะมิใช่สาเหตุสำคัญประการเดียวที่เป็นต้นเหตุแห่งสงคราม แต่ปัญหาในตะวันออกกลางมีความสำคัญมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องอุตสาหกรรมน้ำมัน โดยที่แต่ละประเทศต้องการมีอิทธิพลและผงประโยชน์แต่เพียงผู้เดียในอิรักโดยเฉพาะอังกฤษกับเยรมนี      ตะวันออกกลางเป็นดินแดนส่วนสำคัญส่วนหนึ่งของจักวรรดิออตโตมัน ซึ่งมีอาณาบริเวณกว้างขวางมาก แต่รัฐบาลของจักรวรรดิซึ่งเป็นเติร์กนั้นไม่มีประสิทธิภาพ กรทั่งยุโรปเรียกจักรวรรดินี้ว่าเป็น “คนป่วยของยุโรป”      เติร์กหนุ่ม(Young turk) เป็นกลุ่มทหารชั้นกลางมีการศึกษาและค่อนข้างหัวรุนแรงไม่พอใจสุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2 แห่งจัรวรรดิออตโตมันเนื่องจากการนำรัฐธรรมนูญมาใข้ให้อำนาจเด็ดขาดแก่สุลต่าน พวกเตอร์หนุ่มทำการปฏิวัติและสำเร็จ เติร์กหนุ่มจึงเป็นผู้ปฏิบัติการของรัฐบาลในระยะแรกเติร์กหนุ่มสามารถทำให้เกิดความสมานฉันท์โดยเฉพาะระหว่างเต

WWI: แอฟริกา

รูปภาพ
       ชาวยุึโรปส่วนใหญไม่สนใจแอฟริกา เนื่องจากดอนแดนตอนเหนือของแอฟริกาที่อยู่ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลทรายซาฮารา เป็นที่ดินที่มีประชากรอยู่อย่างหนาแน่นจึงไม่มีที่ว่างพอให้ชาวยุโรปเข้าไปแสวงหาผลประโยชน์ และทางแอฟริการใต้ซึ่งมีทรัพยกรธรรมชาตินั้นเป็นเมืองปิดซึ่งห้ามคนแปลกห้าเข้าเมือง ในขณะที่แอฟริกากลางเป็นป่าดงดิบไม่มีใครรู้จักดินแดนแห่งนี้มาก่อน ชาวยุโรปจึงไม่กล้าเสี่ยงลงทุนด้านเกษตรกรรมในแอฟริกา          หนึ่งในข้ออ้างในการเข้ายึดครองแอฟริกาคือชาวอังกฤษคิดว่า อังกฤษจะต้องยึดครองเส้นทางที่จะไปยังประเทศอินเดียเพื่อเป็นหลักประกันความมั่นคง ทั่้งทางด้านการเมืองและการค้า อังกฤษจึงพยายามกีดกันฝรั่งเศสเข้ามามีอิทธิพลในอียิปต์  แต่แล้วอังกฤษก็ดำเนินนโยบายผิดพลาดโดยยอมให้นักวิศวกรฝรั่งเศสทำการขุดคลองสุเอซ เพราะเมื่อคลองสุเอซสำเร็จลงผู้ที่เฝ้าอยู่ตรงคอคอดปากคลองสุเอซ คือฝรั่งเศสและชาวอียิปต์ ซึ่งเป็นเจ้าของแผ่นดิน อังกฤษจึงเปลี่ยนแปลงนโยบายทางการเมืองในทวีปแอฟริกา โดยให้ความสำคัญกับอียิปต์และลุ่มแม่น้ำไนล์ว่าเป็นบริเวณที่มีความสำคัญอันดับหนึ่งของแอฟริกา         สมัยล่าอาณานิคม ยุโ

WWI:ราซีย์สกายาฟิดิรัตซียา

รูปภาพ
     ในสมัย "ซาแห่งสันติภาพ" หรือซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย เนืองจากสามารถแ้ปัญหาจากการปฏิวัติทุกรูปแบบ ทางด้านต่างประเทศรัสเซียดำเนินนธยบายเป็นมิตรกับจักวรรดิเยอมนีและจักวรรดิออตโตมัน กระทั่งเกิดปัญหารเรืองดินแดนในคาบสมุทรบอลข่าน รสเซียจึงเปลี่ยนนโยบายไปเป็นมิตรกับฝรั้่งเศสและอังกฤษ กลุ่มต่อต้านระบบกษัตริย์ได้หายไปอย่างรวดเร็ว มีเพียงกลุ่มหนึ่งได้พยายามวางแผนลอบปลงพระชนม์ แต่ถูกขัดขวางโดยตำรวจลับรัสเซีย นักศึกษาจำนวนหนึ่งถูกแขวนคอ รวมทั้งอเล็กซานเดอร์ อุลยานอฟ ซึ่งเป็นพี่ชาย วลาดีมีร์ เลนิน ซึ่งอีกหลายปีต่อมาใช้เวลาส่วนใหญ่กับขบวนการปฏิวัติใต้ดอน เพื่อล้างแค้นให้พี่ชาย       อเล็กซานเดอร์ที่ 3 สเด็จสวรรคต เมือพระชนมายุได้ 49 พรรษา มกุฎราชกุมารนิโคลัสขึ้นเป็ฯซษร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย ทรงเป็นจักรพรรดิ์องค์สุดท้ายของรัสเซีย ทรงครองราชย์พร้อมกับการเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสไม่สามารถตกลงอะไรกันได้กับอังกฤษ และได้รับการกล่าวขานว่าเป็นจักรพรรดิที่อ่อนแดไม่สามารถจักการกับสถานการณ์ที่ปั่นป่วนของประเทศพ่ายแพ้การรบทางเรือในสางครามรัสเซ๊ย-ญี่ปุ่น และทรงเข้าบัญชาการรบในสงครามโ

WWI:U-boat

รูปภาพ
u-boat ฝูงหมาป่าแห่งท้องทะเล เรือพิฆาต หรืออะไรก็ตามแต่ เรือยู ทำหน้าที่หลักในการตัดเสบียงที่ขนส่งทางท้องทะเล เรือยูเป็นเรือดำนำกองทัพเรื่อเยอรมนี      นายพลแทพลิทซ์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการขยายกองทัพเรือเยอรมันในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 1 ไม่กล้าตัดสินใจที่จะเสี่ยงนำกำลังทางทะเลออกต่อสู้กับราชนาวีอังกฤษ     กองทัพเรือเยอรมันจึงใช้เรื่อดำน้ำ(ยู-โบสต์)ทำสงครามกับอังกฤษ โดยเน้นการใช้เรื่อดำน้ำเข้าโจมตีทำลายเมืองตาอมชายฝั่งทะเลอังกฤษ     ...เยอรมันไม่เคยประสบความสำเร็จในการดำเนินกลยุทธ์ทางทะเลกับอังกฤษ       ในเดือนพฤศจิกายน ปี 1915 เรื่อเดินทะเล ลูซินาทาเนีย ถูกตอร์ปิโดของเรือดำน้ำเยอรมันจมลง มีชาวอเมริกันเสียชีวิต 139 คน เหตุการณ์ดังกล่าวทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างเยอรมันกับอเมริกาเลวลงถึงขั้นจะประกาศสงคราม แต่อย่างไรก็ดีเยอรมันอ้างว่าเรือลูซิทาเนียทำการลักลอบขนสัมถาระทงหหารจากสหรัฐมาสู่เกาะอังกฤษ        ในเดือนมีนาคา ปี  1916 เรือยูจมเรื่อซัสเซ็กส์ ซึ่งสร้างความโกรธแค้นต่ออเมริกาเป็นอย่างมาก เยอรมันจึงยุตินโยบายการใช้เรือดำน้ำแบบไม่จำกับขอบเขตชั่วคราว        นโยบายการใช้เรือดำน้ำใ

WWI:Schlieffen Plan

รูปภาพ
Wrolde War One หรือสงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่งบางที่ก็เรียกว่า The Great War            สมรภูมิในยุโรป แนวรบด้านตะวันตก      แผนชลีเฟน Schlieffen Plan        เป็นเวลาหลายปีก่อนสงคราม เสนาธิการทหารเยอรมัน หลายคนต่างคาดการณ์ว่า ในอนาคตเยอรมันต้องเผชิญศึก 2 ด้านพร้อมกัน โดยทางตะวันตกเยอรมันต้องต่อสู้กับฝรั่งเศส และทางตะวันออกคือรัสเซีย       นายพล อัลเฟรด กราฟ ฟอน ชลีเฟน เมื่อเข้ารับตำแหน่งเสนาธิการ ได้ประเมินสถานการณ์ และมีแนวคิทีตรงอข้ามกับอดีตเสนาธิการที่ผ่านๆ มา โดยเห็นว่า เยอรมันควรเผด็จศึกทางด้านตะวันตกก่อน(ฝรั่งเศส)โดยเคลื่อนทัพผ่านอ้อมแนวป้องกันอันแข็งแกร่งผ่านเบลเยี่ยมซึ่งขณะนั้นวางตัวเป็นกลาง ปิดล้อมปารีส หลังจากนั้นจึงย้ายกำลังรบไปยังรัสเซีย      จากแผนยุทธการดังกล่าวชลีเฟนกำหนดกำลังรบเป็น 8 ส่วน 7 ส่วนบุกผ่านเบลเยี่ยม เข้าทางตะวันตกเฉียงเหนือของฝรั่งเศสบุกยึดปารีส กำลังอีก 1ส่วนจะอยู่ทางใต้ คอยระวังเมืองอุตสาหกรรมสำคัญของเยอรมัน ในแผนการนี้ชลีเฟนเห็นว่าอาจจะได้รับการต่อต้านอย่างรุนแรงที่เมือง Liege และ Namur จึงวางแผนที่จะเดินทัพ เข้าไปในเนเธอร์แลนด์ซึ่งเป็นตอนเหนือของเบ

Sarajevo ซาราเจโว

รูปภาพ
     ผลกระทบจากสงครามบอลข่านครั้งที่ 2 ทำให้ออสเตรีย-ฮังการีกับเซอร์เบียเพิ่มความเป็นศัตรูต่อกันมากยิ่งขึ้น  และชัยชนะที่เซอร์เบียได้รับยังเป็นสิ่งกระตุ้นให้เกิดความรู้สึกชาตินิยมแก่พวกสลาฟในดินแดนบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาที่ต้องการปลดแอกตนเองจากการยึดครองของออสเตรีย-ฮังการีเพื่อไปรวมกับเซอร์เบีย      เพื่อเป็นการลดความกดดันทางการเมืองต่อความรู้สึกต่อต้านออสเตรีย-ฮังการี อาร์ชดยุก ฟรานซิส เฟอร์ดินาน ผู้เป็นองค์รัชทายาทของอาณาจักรออสเตรีย-ฮังการีและพระชายาจึงเสด็จไปเยือนกรุงซาราเจโวซึ่งเป็นเมืองหลวงของบอสเนีย..แต่ทั้งสองพระองค์ถูกลอบปลงพระชนม์! โดยกาวริโลปรินชิป นักศึกษาชาวเซิร์บซึ่งเป็นสมาชิกสมาคม แบล็ค แฮนด์ ซึ่งเป็นสมาคมลับต้อต้านออสเตรีย-ฮังการีรัฐบาลเซอร์เบียได้รู้ถึงแผนการดังกล่าวก่อนแล้วแต่ก็ไม่หาทางป้องกัน       ภายหลังจากเหตุการณ์รัฐบาลออสเตรีย-ฮังการีถามความเห็นไปยังรัฐบาลเยอรมันในกรณีที่จะทำสงคราม รัฐบาลเยอมันมีความเชื่อว่าเซอร์เบียเป็นฝ่ายผิด รัฐบาลเยอรมันยืนยันที่จะให้การสนับสนุนต่อออสเตรีย-ฮังการี จากคำยืนยันดังกล่าวออสเตรีย-ฮังการี จึงใช้เป็นข้ออ้างในการประกาศสงครามกับ