เป็นอาณาจักรบนเกาะชวา ตะวันตก อาณาจักรสิงหะส่าหรีอยู่ได้ไม่นานก็ถูกเจ้าชายยากัตวัง แห่งอาณาจักรเคดิรี โจมตีเมืองหลวงในขณะที่พระเจ้าเกอรตานาการา(เกียรตินคร) กำลังบูชาพระศิงะ และเจ้าชายวิชัย ราชบุตรเขย ก็กู้เมืองกลับมาตั้งอาณาจักรมัชปาหิต
พระเจ้าเกียรตินครแห่งชวา ทรงประสบความสำเร็จในหารรวมดินแดนเข้าด้วยกันเป็นอาณาจักรใหญ่ กระทั่งพระองค์ทรงเลี่ยนแปลงศสนาเป็น ศาสนาพุทธแบบตันตระ และสถาปนาสัมพันธไม่ตีด้วยการอภิเษกกับเจ้าหญิงแห่งราชวงศ์อาณาจักจามปา พระองค์ทรงแสวงหาทางควบคุมการค้าขายเครื่องเทศที่มีกำไรงาม ซึ่งมีฐานอยู่ในเขตหมู่เกาะโมลุกกะ และต้องอนุรักษ์ให้ชาวชวาเป็นกลางเกี่ยวกับการค้าขาย โดยเฉพาะพระองค์ทรงเกรงว่ากุบไลข่านทรงตั้งพระทัยที่จะกำจัดการควบคุมการค้านี้
ช่วงปี ค.ศ.1293 กาองกำลังทหารราบของแม่ทัพชี่ปีซึ่งได้รับมอบหมายให้บังคับบัญชาทหารราบยกทัพขึ้นฝั่ง แม่ทัพอฏ มู ซุ ควบคุมกองทัพเรือใกล้ชายฝั่ง พระเจ้าเกียรตินครทรงทราบข่าว จึงส่งกองทัพขนาดใหญ่ไปยังจุดที่จะมีการขขึ้นบก คือ ที่ จามปา และ คาบสมุทร มาเลย์ แต่การทั้งหนี้ศัตรูที่ไม่ใช่มองโกลกับเป็นผู้สังหารพระองค์นั้นคือ พรเจ้าชัยขัติติยวงศ์ผู้นำรัฐเคดิรี ทำให้อำนาจตกอยู่อยู่กับ เจ้าชายวิชัย (ราชบุตรเขย) ผู้ทรยศโดยเข้ากับมองโกลทั้งนี้เนื่องจากมีจุดประสงค์ที่จะปราบปรามผุ้ก่อการปฏิบัติ จึงร่วมมือกับคนนอก และสุดท้ายมองโกลเข้าโจมตีรัฐเคดีรี และประหารพระเจ้าชัยขัตติยวงศ์
และหลังจากทำการปราบปรามพวกปฏิวัติโดยการยืมมือมองโกลสำเร็จแล้ว จึงวางแผนที่จะเป็นอิสระจากมองโกลและสุดท้ายก็สามารถหลุดรอดจากเงื้อมือทหารมองโกลทั้งทัพบกและทัพเรือ และยังทำการขับไล่ทหารมองโกลออกจากดินแดนสำเร็จ
วันพุธที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2555
Annan Jumpa
อาณาจักรจามปา เป็นอาณาจักรโบราณอยู่ทางใต้ของจีน อยู่ทางเหนือของฟูนั้นปัจจุบันคือ เมืองเว้ กว่างนาม ถัวเถีย แผนรับและ ญาจางเนื่องจากสมัยก่อนพื้นท่นี้เป็นเขตทุรกันดาร จีนจึงไม่สามารถครอบครองพื้นที่นี้ได้
ชนชาติจามสื้อบเชื้อสายจากชาว มาลาโยโพลินีเชียน พวกจามเป็นชาวทะเลมีความสามารถางการเดินเรื่อ ได้มีผู้เขียนเรื่องของชาวหลินยี่ หรือชาวจามว่า ชาวบ้านสร้างบ้านด้วยอิฐแฃะวฉาบด้วยปูน หญิงและชายมีผ้าผ้ายฝืนเดียห่อหุ้ร่างกาย และเจาะหูห้อยห่วเหล็ก ผู้ดีใส่รองเท้าหนัง พวหไพร่เดินเท้าเปล่า พระราชาทรงพระมาลาทรงสูง ทรงช้าง และห้อมล้ามด้วยบริพารถือธงและกลดกั้น
ราชวงศ์เลของชาวเวียนามยกมาตี ชาวจามเสียชีวิตและถูกจับเป็นเชลยจำนวนมากและสูญความเป็นชาติในที่สุด ตกเป็นเมืองขึ้นของญวน และบาส่วนอพยพมาใน อาณาจักรสยาม
อันนัม ยุคที่อยู่ใต้อิทธิพลของจีน (ก่อน ค.ศ. 111-938) ราชวงศ์ฮั่นบักอาณาจักนามเวียดและผนวกเป็นส่วนหนึ่งของจีน เวียนดนามอยู่ใต้อิทธิพลของจีนนานถึง พันปี ซึ่งเป็นช่วงที่ได้อิทธเพลและรับวัฒนธรรมหลายอย่างจากจีน
- อาณาจักรแรกของชาวเวียดนาม คืออาณาจักร นามเวียด (อาณาจักรทางตอนเหนือ) เป็นเมืองขึ้นของจีนมานาน เวียดนามจึงเป็นประเทศเดียวในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ที่ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากจีนเป็นส่วนใหญ่
- ทางตอนกลางและใต้ เป็นที่ตั้งของอาณาจักรจามปา (ปัจจุบันเป็นชนกลุ่มน้อย ทางต้อนใต้ของประเทศเวียดนาม)
เมื่อเป็นเอกราชจากจีน ช่วงต้นราชวงศ์ถังเวียดนามก็สถานปนาราชวงศ์เล และในสมัยนี้สามารถเอาชนะพวกจาม ทำให้อาณาจักรกว้างขวาง และมีการวางรากฐานในการพัฒนาประเทศอยางสำคัญมากมายมีการส่งเสร้มพุทธศาสนากับลัทธิขงจื้อกับลัทธิเต๋า และย้ายเมืองหลวงมาที่ กรุงฮานอย
กุบไลข่าน ส่งทูตเชิญ พระเจ้าตรัน ถั่น ทอน กษัตริย์อาณาจักรอันนัม และพระเจ้าชัยอินทรวรมันที่ 6 แห่งอาณาจักรจามปาเสด็จไปเยื่อนอาณาจักรมองโกล แต่ไม่มีกษัตริย์องค์ใดเสด็จไป เมือไม่มีการตอบสนอง กุบไลข่านจึงตัดสินพระทัยโจมตี โดยส่งเรื่อและทหารเข้ายึดเมืองหลวงอา ณจักรจามปา ซึ่งก็สามารถยึดได้ โดยที่พระจ้าชัยอินทราวรมันที่ 6 นำทัพถอยไปซ่อนอยู่ตามภูเขากุบไลข่านสงกำลังเสริมไปช่วย แต่ประสบปัญหาหลายประการ จากความไม่คุ้นเคยกับภูมประเทศ อากาศร้อนชื้นซึ่งทหารมองโกลไม่สันทัด และโรคภัยต่าง ๆ กุบไลข่านจึงส่งกำลังเสริมไปอีกเส้นทางหนึ่งโดยใช้เส้นทางของอาณาจักรอนนัมเป็นทางผ่าน แต่กษัตริย์อันนัมปฏิเสธไม่ยอมให้ใช้ดิอนแดนของอาณาจักรอันนัมในการบุกจามปา มองโกลจึงต้องทำสงครามกับอาณาจักรอันนัม ผลของสงครามทั้งอันนัม และจามปานั้น แม้จะไม่มีการสู้ถึงขั้นแพ้ชนะเนื่องจากมองโกลเคลื่อนทัพด้วยความลำบาก แต่แล้วทั้งสองอาณาจักรก็ต้องยอมสวามิภักดิ์ โดยส่งบรรณาการไปสวามิภักดิ์กุลไลข่านทั้งสองอาณาจักร
ชนชาติจามสื้อบเชื้อสายจากชาว มาลาโยโพลินีเชียน พวกจามเป็นชาวทะเลมีความสามารถางการเดินเรื่อ ได้มีผู้เขียนเรื่องของชาวหลินยี่ หรือชาวจามว่า ชาวบ้านสร้างบ้านด้วยอิฐแฃะวฉาบด้วยปูน หญิงและชายมีผ้าผ้ายฝืนเดียห่อหุ้ร่างกาย และเจาะหูห้อยห่วเหล็ก ผู้ดีใส่รองเท้าหนัง พวหไพร่เดินเท้าเปล่า พระราชาทรงพระมาลาทรงสูง ทรงช้าง และห้อมล้ามด้วยบริพารถือธงและกลดกั้น
ราชวงศ์เลของชาวเวียนามยกมาตี ชาวจามเสียชีวิตและถูกจับเป็นเชลยจำนวนมากและสูญความเป็นชาติในที่สุด ตกเป็นเมืองขึ้นของญวน และบาส่วนอพยพมาใน อาณาจักรสยาม
อันนัม ยุคที่อยู่ใต้อิทธิพลของจีน (ก่อน ค.ศ. 111-938) ราชวงศ์ฮั่นบักอาณาจักนามเวียดและผนวกเป็นส่วนหนึ่งของจีน เวียนดนามอยู่ใต้อิทธิพลของจีนนานถึง พันปี ซึ่งเป็นช่วงที่ได้อิทธเพลและรับวัฒนธรรมหลายอย่างจากจีน
- อาณาจักรแรกของชาวเวียดนาม คืออาณาจักร นามเวียด (อาณาจักรทางตอนเหนือ) เป็นเมืองขึ้นของจีนมานาน เวียดนามจึงเป็นประเทศเดียวในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ที่ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากจีนเป็นส่วนใหญ่
- ทางตอนกลางและใต้ เป็นที่ตั้งของอาณาจักรจามปา (ปัจจุบันเป็นชนกลุ่มน้อย ทางต้อนใต้ของประเทศเวียดนาม)
เมื่อเป็นเอกราชจากจีน ช่วงต้นราชวงศ์ถังเวียดนามก็สถานปนาราชวงศ์เล และในสมัยนี้สามารถเอาชนะพวกจาม ทำให้อาณาจักรกว้างขวาง และมีการวางรากฐานในการพัฒนาประเทศอยางสำคัญมากมายมีการส่งเสร้มพุทธศาสนากับลัทธิขงจื้อกับลัทธิเต๋า และย้ายเมืองหลวงมาที่ กรุงฮานอย
กุบไลข่าน ส่งทูตเชิญ พระเจ้าตรัน ถั่น ทอน กษัตริย์อาณาจักรอันนัม และพระเจ้าชัยอินทรวรมันที่ 6 แห่งอาณาจักรจามปาเสด็จไปเยื่อนอาณาจักรมองโกล แต่ไม่มีกษัตริย์องค์ใดเสด็จไป เมือไม่มีการตอบสนอง กุบไลข่านจึงตัดสินพระทัยโจมตี โดยส่งเรื่อและทหารเข้ายึดเมืองหลวงอา ณจักรจามปา ซึ่งก็สามารถยึดได้ โดยที่พระจ้าชัยอินทราวรมันที่ 6 นำทัพถอยไปซ่อนอยู่ตามภูเขากุบไลข่านสงกำลังเสริมไปช่วย แต่ประสบปัญหาหลายประการ จากความไม่คุ้นเคยกับภูมประเทศ อากาศร้อนชื้นซึ่งทหารมองโกลไม่สันทัด และโรคภัยต่าง ๆ กุบไลข่านจึงส่งกำลังเสริมไปอีกเส้นทางหนึ่งโดยใช้เส้นทางของอาณาจักรอนนัมเป็นทางผ่าน แต่กษัตริย์อันนัมปฏิเสธไม่ยอมให้ใช้ดิอนแดนของอาณาจักรอันนัมในการบุกจามปา มองโกลจึงต้องทำสงครามกับอาณาจักรอันนัม ผลของสงครามทั้งอันนัม และจามปานั้น แม้จะไม่มีการสู้ถึงขั้นแพ้ชนะเนื่องจากมองโกลเคลื่อนทัพด้วยความลำบาก แต่แล้วทั้งสองอาณาจักรก็ต้องยอมสวามิภักดิ์ โดยส่งบรรณาการไปสวามิภักดิ์กุลไลข่านทั้งสองอาณาจักร
tribute
กุบไลข่านส่งกองทัพแผ่อำนาจลงทางใต้เพื่อล้มล้างราชวงศ์ซ่งทางตอนใต้ของจีน ซึ่งผลจากการยกทัพตามไล่ล่าดังกล่าว เป็นเหตุสำคัญที่ทำให้กองทัพมองโกลรุกรานมายังเขตยูนนาน และโจมตี อาณาจักรน่านเจ้า
หลักฐานในพงศาวดารหงวนฉบับเก่า เล่มที่ 2 แปลเรื่องราวการติดต่อระหว่างอาณาจักรสุโยทัยกับราชวงศ์มองโกล สรุปไว้ว่า กุบไลข่านทรงปรึกษาขุนนางข้าราชการระดับสูงเกี่ยวกับการยกทัพไปปราบปรามแค้วนต่าง ๆ ทางใต้ มี สุโขทัย ละโว้ สุมาตรา และอื่น ๆ เป็นเมืองขึ้น ปรากฎว่าขุนนางชื่อ เจี่ย หลู่ น่ต๋าไม่เห้นด้วยและได้กราบบังคมทูลเสนอแนะให้ทรงชักชวนให้ผู้นำดินแดนต่าง ๆ มาสวามิภักดิ์ก่อน ต่อเมือไม่ยอมจึงยกกองทัพเข้าโจมตี อาณาจักรกว่า 20 อาณาจักรยอมรับข้อ
เสนอ รวมทั้งอาณาจักรสุโขทัยด้วย
หลักฐานในพงศาวดารหงวนฉบับเก่า เล่มที่ 2 แปลเรื่องราวการติดต่อระหว่างอาณาจักรสุโยทัยกับราชวงศ์มองโกล สรุปไว้ว่า กุบไลข่านทรงปรึกษาขุนนางข้าราชการระดับสูงเกี่ยวกับการยกทัพไปปราบปรามแค้วนต่าง ๆ ทางใต้ มี สุโขทัย ละโว้ สุมาตรา และอื่น ๆ เป็นเมืองขึ้น ปรากฎว่าขุนนางชื่อ เจี่ย หลู่ น่ต๋าไม่เห้นด้วยและได้กราบบังคมทูลเสนอแนะให้ทรงชักชวนให้ผู้นำดินแดนต่าง ๆ มาสวามิภักดิ์ก่อน ต่อเมือไม่ยอมจึงยกกองทัพเข้าโจมตี อาณาจักรกว่า 20 อาณาจักรยอมรับข้อ
เสนอ รวมทั้งอาณาจักรสุโขทัยด้วย
Pagan Myanmar
ประวัติศาสตร์พม่ามีความยาวนานและซับซ้อน มีประชากรหลายเผ่าพันธุ์เคยอาศัยอยู่ในดินแดนแห่งนี้ เผ่าพันธุ์ที่เก่าแก่ที่สุดที่ปรากฎได้แก่ มอญ ชาวพม่าได้อพบยพมาจากบริเวณพรมแดนระหว่างจีน และทิเบต เข้าสู้ที่ราบลุ่มแม่น้ำอิรวดี และได้กลายเป็นชนเผ่าส่วนใหญ่ที่ปกครองประเทศในเวลาต่อมา ความซับซ้อนของ ประวัติศาสตร์พม่ามิได้เกิดจากกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนพม่าเท่านั้น แต่เกิดจากความสัมพันธ์กับเพื่อนบ้านอันได้แก่ จีน อินเดีย บังกลาเทศ ลาว และไทย อีกด้วย
อาณาจักรพุกาม เข้ามาแทนที่ภาวะสุญญากาศทางอำนาจภายหลังจากการเสื่อมสลายไปของอาณาจักรพยู อาณาจักรของชาวพุกามแต่แรกมิได้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน กระทั้งพระเจ้าอโรธา สามารถรวบรวมแผ่นดินพม่าได้สำเร็จ และเมืองทรงตีเมืองท่าตอนของชาวมอญได้ อาณาจักพุกามก็กลายเป็นอาณาจักรที่เข้มแข็งที่สุดในดินแดนพม่า
ในปี ค.ศ. 1273 กุบไลข่าน ทรงส่งคณะทูตมายังอาณาจักรพุกาม เพื่อให้ยอมจำนน ไม่เพียงแต่กษัตริย์พม่าไม่ยอมจำนนเท่านั้นยังเข้าโจมตี รัฐใต้ปกครองของมองโกลแถบยูนนาน
กุบไลข่านมีพระราชโองการให้แม่ทัพนาเซอร์ อัลดิน ขุนนางชาวมุสลิม นำทัพโจมตีอาณาจักรพุกาม มองโกลมีชัยเหนือพม่ายึดประชากรร่วมแสนครอบครัวตามชายแดนพม่า
ต่อมา กุลไลข่านส่งกองทัพเพื่อพิชิตอาณาจักรพุกาม ภายใต้การนำทัพของพระนัดดา อีเซน เตมูร์ แม่ทัพอีเซนต์นำทัพบุกถึงเมืองหลวงพม่าและยึดเมืองหลวงอาณาจักรพม่าได้ พระเจ้านรธิหบดีจึงยมอจำนนต่อมองโกลและส่งเครื่องบรรณาการ เป็นการสวามิภักดิ์ ต่อมาพระองค์ถูกลอบปลงพระชนม์
อาณาจักรพุกาม เข้ามาแทนที่ภาวะสุญญากาศทางอำนาจภายหลังจากการเสื่อมสลายไปของอาณาจักรพยู อาณาจักรของชาวพุกามแต่แรกมิได้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน กระทั้งพระเจ้าอโรธา สามารถรวบรวมแผ่นดินพม่าได้สำเร็จ และเมืองทรงตีเมืองท่าตอนของชาวมอญได้ อาณาจักพุกามก็กลายเป็นอาณาจักรที่เข้มแข็งที่สุดในดินแดนพม่า
ในปี ค.ศ. 1273 กุบไลข่าน ทรงส่งคณะทูตมายังอาณาจักรพุกาม เพื่อให้ยอมจำนน ไม่เพียงแต่กษัตริย์พม่าไม่ยอมจำนนเท่านั้นยังเข้าโจมตี รัฐใต้ปกครองของมองโกลแถบยูนนาน
กุบไลข่านมีพระราชโองการให้แม่ทัพนาเซอร์ อัลดิน ขุนนางชาวมุสลิม นำทัพโจมตีอาณาจักรพุกาม มองโกลมีชัยเหนือพม่ายึดประชากรร่วมแสนครอบครัวตามชายแดนพม่า
ต่อมา กุลไลข่านส่งกองทัพเพื่อพิชิตอาณาจักรพุกาม ภายใต้การนำทัพของพระนัดดา อีเซน เตมูร์ แม่ทัพอีเซนต์นำทัพบุกถึงเมืองหลวงพม่าและยึดเมืองหลวงอาณาจักรพม่าได้ พระเจ้านรธิหบดีจึงยมอจำนนต่อมองโกลและส่งเครื่องบรรณาการ เป็นการสวามิภักดิ์ ต่อมาพระองค์ถูกลอบปลงพระชนม์
Kamakura-jidai
อยู่ในยุคกลางของการแบ่งประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่น ยุค คะมะกุระ เป็นยุคที่เริ่มต้นการปกครองระบบศักดินาโดยจักรพรรดิเป็นผู้มีอำนาจการปกครอง แต่เพียงในนามรัฐบาลทหารที่เรียกว่า คะมะระ บะกุฟุ ซึ่งมีโชกุนเป็นหัวหน้าปกครองประเทศในนามจักรพรรดิมีอำนาจเด็ดขาดทั้งทางการเมืองและการทหาร “โยริโตโมะ” แห่งตระกูล “มินาโมโต้” ไดรับการแต่งตั้งให้เป็นโชกุนคนแรกจัดตั้งรัฐบาลทหารมีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เมือง คะมะกุระ จักรพรรดิประทับที่เมืองเฮอัง
ใน ค.ศ. 1274 กุบไลข่านตระเตรียมกำลังผสมมองโกลและเกาหลีเข้ารุกรานญี่ปุ่น หลังจากส่งทูตมายังญี่ปุ่นแต่ถูกฆ่าตายทั้งหมด กองทัพผสมข้ามทะเลมาเทียบท่าที่อ่าว ฮะกะตะ บนเกาะคิวชู เรียกว่า การรุกรานปีบุงเอ
ฝ่ายญี่ปุ่นมีโชนะ ซุเกะโยะชิ ผู้ปกครองคิวชู นำทัพญี่ปุ่นเข้าต่อสู้กับกองทัพผสมมองโกล-โครยอ แต่ไม่สามารถทัดทานกองทัพผสมได้ กระทั้งลมพายุพเข้าอ่าวฮะกะตะ ทำลายเรือของทัพมองโกลไปมาก จึงทำให้ฝ่ายมองโกลต้องถอยหนี
ชาวญี่ปุ่นยกย่องลมนี้ว่าเป็น คะมิกะเซะ หรือลมที่เทพเจ้าส่งมาเพื่อปกป้องญี่ปุ่นจากผู้รุกราน
ในปี ค.ศ. 1275และในปีค.ศ. 1279 กุบไลข่านส่งทูตมาอีกครั้ง และคณะทูตมองโกลก็ถูกสังหาร ทางฝ่ายญี่ปุ่นมีการเตรียมตัวต้อนรับศึกอย่างเต็มที่
และในที่สุดปี ค.ศ. 1281 กุบไลข่านจึงส่งทัพเรือเข้ารุกรานญี่ปุ่นอีกครั้งเรียกว่า การรุกรานปีเคอัง โดยใช้ทั้งกองทัพเรือของอาณาจักรโครยอ ทัพเรื่อราชวงศ์ซ่งใต้ ขนาดมหึมา โดยวางแผนให้กองเรื่อทั้งสองสมทบกันเพือรุกรานญี่ปุ่น แต่ทัพเรื่อซ่งเกิดการล่าช้า ทัพเรื่อเกาหลีจึงเข้าโจมตีฝ่ายญี่ปุ่น ซึ่งฝ่ายญี่ปุ่นก็เตรียมการมาดีจึงสามารถต้านทานได้ และลมพายุ คะมิคะเซะ ก็พัดเข้ามาอีกครั้งทำลายทัพเรือเกาหลีจนต้องล่าถอยไปอีก และหลังจากนั้นมองโกลไม่รุกรานญี่ปุ่นอีกเลย
ใน ค.ศ. 1274 กุบไลข่านตระเตรียมกำลังผสมมองโกลและเกาหลีเข้ารุกรานญี่ปุ่น หลังจากส่งทูตมายังญี่ปุ่นแต่ถูกฆ่าตายทั้งหมด กองทัพผสมข้ามทะเลมาเทียบท่าที่อ่าว ฮะกะตะ บนเกาะคิวชู เรียกว่า การรุกรานปีบุงเอ
ฝ่ายญี่ปุ่นมีโชนะ ซุเกะโยะชิ ผู้ปกครองคิวชู นำทัพญี่ปุ่นเข้าต่อสู้กับกองทัพผสมมองโกล-โครยอ แต่ไม่สามารถทัดทานกองทัพผสมได้ กระทั้งลมพายุพเข้าอ่าวฮะกะตะ ทำลายเรือของทัพมองโกลไปมาก จึงทำให้ฝ่ายมองโกลต้องถอยหนี
ชาวญี่ปุ่นยกย่องลมนี้ว่าเป็น คะมิกะเซะ หรือลมที่เทพเจ้าส่งมาเพื่อปกป้องญี่ปุ่นจากผู้รุกราน
ในปี ค.ศ. 1275และในปีค.ศ. 1279 กุบไลข่านส่งทูตมาอีกครั้ง และคณะทูตมองโกลก็ถูกสังหาร ทางฝ่ายญี่ปุ่นมีการเตรียมตัวต้อนรับศึกอย่างเต็มที่
และในที่สุดปี ค.ศ. 1281 กุบไลข่านจึงส่งทัพเรือเข้ารุกรานญี่ปุ่นอีกครั้งเรียกว่า การรุกรานปีเคอัง โดยใช้ทั้งกองทัพเรือของอาณาจักรโครยอ ทัพเรื่อราชวงศ์ซ่งใต้ ขนาดมหึมา โดยวางแผนให้กองเรื่อทั้งสองสมทบกันเพือรุกรานญี่ปุ่น แต่ทัพเรื่อซ่งเกิดการล่าช้า ทัพเรื่อเกาหลีจึงเข้าโจมตีฝ่ายญี่ปุ่น ซึ่งฝ่ายญี่ปุ่นก็เตรียมการมาดีจึงสามารถต้านทานได้ และลมพายุ คะมิคะเซะ ก็พัดเข้ามาอีกครั้งทำลายทัพเรือเกาหลีจนต้องล่าถอยไปอีก และหลังจากนั้นมองโกลไม่รุกรานญี่ปุ่นอีกเลย
Goryeo
ราชวงศ์โครยอ ค.ศ.918-1392 สมัยโครยอลัทธิขงจื้อเขามาในเกาหลีอย่างเต็มตัว เป็นสมัยที่ทหารปกครอง และการยึ่ดครองโดยมองโกลทำให้วัฒนธรรมมองโกลหลั่งไหลเข้าสู่เกาหลี พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรื่องมากในสมัยนี้ มีกาพิมพ์พระไตรปิฎกภาษาเกาหลีเป็นฉบับแรก คือ พระไตรปิฎกโคเรียนะ เก็บไว้ที่วัด แฮอินซา
ปี ค.ศ. 1225 วอเคอไตข่าน Ogedei Khan สงแม่ทัพซาร์ไต นำทัพมองโกลเข้าบุกโครยอ ราชสำนักย้ายหนีไปที่เกาะคังฮวา ผู้นำทหารชเวอูพยายามจะสู้พวกมองโกล มองโกลใช้เวลากล่าว 30 ปีจึงปราบคาบสมุทรเกาหลี…
โครยอยอมแพ้ต่อมองโกลอย่างเป็นทากการใน ค.ศ. 1270 และส่งบรรณาการให้ราชวงศ์หยวนจักรพรรดิกุบไลข่าน อาณาจักรโครยอกลายเป็นประเทศราชของราชวงศ์หยวน องค์ชายโครยอต้องเสด็จไปยังกรุงปักกิ่งแต่พระเยาว์เพือ่รับการสอนและ การปลูกฝังแบบชาวมองโกล รวมทั้งรับพระนามภาษามองโกล และอภิเษกกับเจ้าหญิงมองโกลด้วย
ช่วงเวลาที่เกาหลีอยู่ภายใต้การยึดครองของมองโกลเป็นช่วงเวลาที่เกาหลีมีการติดต่อกับโลกภายนอกเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะกับประเทศจีนซึ่งพระราชวงศ์และชนชั้นปกครองของโครยอล้วนแต่เดินทางไปเมืองปักกิ่งและนิยมชมชอบวัฒนธรรมมองโกล ชนชั้นสูงพูดภาษามองโกล มีชื่อเป็นภาษามองโกล การเข้ามาของลัทธิ ขงจื้อใหม่ ของ จูจื่อ ปราชญ์สมัยราชวงศ์ซ่ง กำลังรุ่งเรืองอยู่ในประเทศจีนขฯนั้น ได้กลายมาเป็นที่นิยมของชนช้นสูง ของเกาหลีแทนที่ พระพุทธศาสนา
เมืองราชวงศ์หยวนถูกล้มล้างโดยราชวงศ์หมิง โคยอก็หันไปสวามิภักดิราชวงศ์หมิง มองโกลจึงเข้าไปสนับสนุนขุนนางโคยอ แล้งลอบปลงพระชนม์พระเจ้าคงมิน ราชสำนักหันมาหามองโกลอีกครั้ง และเพื่อขจัดอำนานราชวงศ์หมิงออกไปจากโคยอ “ชเวยอง”เห็นว่าควรบุกจีนราชวงศ์หมิง แต่ “ลีซองกเย”กลับไม่เห็นด้วยเพราะตอนนั้นราชวงศ์หมิงมีความแข็งแกร่งมาก เมือยกทัพไปถึงกลางทาง ลีซองกเย กลับเปลี่ยนใจหันกลับมาบุกราชวังสังหาร ชเวยอง และปราบภิเษกตนเองขึ้นเป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ใหม่ คือ ราชวงศ์โจซอน
ปี ค.ศ. 1225 วอเคอไตข่าน Ogedei Khan สงแม่ทัพซาร์ไต นำทัพมองโกลเข้าบุกโครยอ ราชสำนักย้ายหนีไปที่เกาะคังฮวา ผู้นำทหารชเวอูพยายามจะสู้พวกมองโกล มองโกลใช้เวลากล่าว 30 ปีจึงปราบคาบสมุทรเกาหลี…
โครยอยอมแพ้ต่อมองโกลอย่างเป็นทากการใน ค.ศ. 1270 และส่งบรรณาการให้ราชวงศ์หยวนจักรพรรดิกุบไลข่าน อาณาจักรโครยอกลายเป็นประเทศราชของราชวงศ์หยวน องค์ชายโครยอต้องเสด็จไปยังกรุงปักกิ่งแต่พระเยาว์เพือ่รับการสอนและ การปลูกฝังแบบชาวมองโกล รวมทั้งรับพระนามภาษามองโกล และอภิเษกกับเจ้าหญิงมองโกลด้วย
ช่วงเวลาที่เกาหลีอยู่ภายใต้การยึดครองของมองโกลเป็นช่วงเวลาที่เกาหลีมีการติดต่อกับโลกภายนอกเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะกับประเทศจีนซึ่งพระราชวงศ์และชนชั้นปกครองของโครยอล้วนแต่เดินทางไปเมืองปักกิ่งและนิยมชมชอบวัฒนธรรมมองโกล ชนชั้นสูงพูดภาษามองโกล มีชื่อเป็นภาษามองโกล การเข้ามาของลัทธิ ขงจื้อใหม่ ของ จูจื่อ ปราชญ์สมัยราชวงศ์ซ่ง กำลังรุ่งเรืองอยู่ในประเทศจีนขฯนั้น ได้กลายมาเป็นที่นิยมของชนช้นสูง ของเกาหลีแทนที่ พระพุทธศาสนา
เมืองราชวงศ์หยวนถูกล้มล้างโดยราชวงศ์หมิง โคยอก็หันไปสวามิภักดิราชวงศ์หมิง มองโกลจึงเข้าไปสนับสนุนขุนนางโคยอ แล้งลอบปลงพระชนม์พระเจ้าคงมิน ราชสำนักหันมาหามองโกลอีกครั้ง และเพื่อขจัดอำนานราชวงศ์หมิงออกไปจากโคยอ “ชเวยอง”เห็นว่าควรบุกจีนราชวงศ์หมิง แต่ “ลีซองกเย”กลับไม่เห็นด้วยเพราะตอนนั้นราชวงศ์หมิงมีความแข็งแกร่งมาก เมือยกทัพไปถึงกลางทาง ลีซองกเย กลับเปลี่ยนใจหันกลับมาบุกราชวังสังหาร ชเวยอง และปราบภิเษกตนเองขึ้นเป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ใหม่ คือ ราชวงศ์โจซอน
วันจันทร์ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555
Eighth Crusade
เกิดขึ้นระหวางปี ค.ศ. 1271-1272 เป็นสงครามที่ต่อสู้กันใน “ตะวันออกใกล้” ระหว่างผู้นับถือศาสนาคริสต์และผู้นับถืออิสลาม ในครั้งนนี้มุสลิมเป็นฝ่ายชนะ ซึ่งเป็นผลทำให้สงครามครูเสดยุติลง และอาณาจักรครูเสดต่าง ๆ ในบริเวณเลแวนต์ (อัชชาม หมายถึงบริเวณเมดิเตอร์เรเนียตะวันออก แต่ในความหมายทางภฺมิศาสตร์หมายถึงบริเวณอันกว้างใหญ่ในเอเชียตะวัตก ทางฝั่งตะวันออกของทะเลเมอิเตอร์เรเนียน โดยทาเทือกเขาทอรัฐเป็นเขตแดนทางตอนเหนือ ทะเลทรายอาหรับทางใต้ และทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางตะวันตก ทางตะวันออกเป็นเทือกเขาซากรอส)
ทางฝ่ายคริสเตียนมีกำลังคนทั้งสิ้น ประมาณ60,000 คน โดยมีผู้นำที่รวามทั้ง สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งเนเปิดลส์, สมเด็จพระเจ้าฮิวจ์ที่ 3 แห่งไซปรัส, เจ้าชายเอ็ดเวิร์ดแห่งอังกฤษ, โบฮีมอนด์ที่ 6 แห่งอันติโอค, อบาคา ข่าน แห่งมองโกลเลีย และสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอาร์มีเนีย
ทางฝ่ายมุสลิมมีกำลังคนที่ไม่ทราบจำนวนโดยมีไบบาร์สเป็นู้นำ
ในการนับจำนวนครั้งของสงครามครูเสดนั้นบางครั้งก็ว่าครั้งที่ 8 เป็นครั้งสุดท้ายบ้าง บ้างก็ว่ามี 9 หรือ 10 บาง ดังนั้นจึงเรียกครั้งนี้ว่าสงครามครูเสดครั้งสุดท้ายในยุคกลาง
เมือพระเจ้าหลุ่ยส์ ที่ 9 แห่งฝรั่งเศษไม่สามารถยึดตูนิสได้ใน ครุเสดครั้งที่ 7 เวิร์ดแห่งอังกฤษก็เสด็จไปเอเคอร์เพื่อเข้าร่วมในสงครามครูเสดครั้งที่ 8 แต่เป็นสงครามที่ทางฝ่ายคริสเตียนพ่ายแพ้ ซึ่งในช่วงเวลานั้นอำนาจของพวก “มัมลุ้ก” ในอียิปต์ขยายตัวมากขึ้นและผลของสงครามนำมาซึ่งการสลายของที่มั่นต่าง ๆ ริมฝั่งทะเลเมดิเตอเรเนียนในขณะเดียวกัน
ก่อนหน้านั้นพระเจ้าหลุ่ยส์ที่ 9 ยกทัพมาทางทะเลเมืองยกพลขึ้นบกจึงยึดเมือง ที่อยู่ในความปกครองคือ อัล-มาลิก-อัศ-ศอลิห นัจญ์มุดดีน อัยยูบ ซึ่งกำลังป่วยและเสียชีวิตในระหว่างที่พวกครูเสดเข้ายึดเมือง ดิมยาต ภรรยาของอัยยูบคนหนึ่ง คือ ชะญัร อัล-ดูร ปิดข่าวการตายของอัยยูบไว้ถึง 3 เดือน กระทั่งลูกชายของอัยยูบเดินทางกลับมาจากเมโสโปเตเมีย นางจึงได้แจ้งข่าว ลูกของศอลิห มีเรื่องไม่ลงรอยกับพวกบ่าว(มัมลู้ก) ชะญัร อัล-ดูร จึงได้ลอบวางยา และสถาปนาตนเองเป็นราชินีของพวกมุสลิมมีน แต่อนาจปกครองจริงๆ อยู่ที่พวกมัมลู้ก และในที่สุดพวกมัมลู้ก ก็สถาปนาราชวงศ์ของตนเองคือ มัมูกิยฮฺ โดย มัมลุกอัยบัก และเกิดการทะเลาะกับวงศ์ของ ซาลาดีน และราชวงศ์มัมลูกกิยะฮฺก็นมาแทนที่ราชวงศ์อัยยูบิยะฮฺ
พวกมุสลิมที่แตกมาจากแบกแดด หลังจากการล้มเคาะห์ลีฟะฮฺแห่งแบกแดดแล้ว เผ่าทำลายดามัสกัส และทำการรุกรานซีเรียเรื่อยมา เหล่ามุสลิมถอยล่นมารวมกันอยู่กับพวกมัมลู้ก และยับยั้งการรุกรานของพวกมองโกลไว้ได้โดยพวกมัมลู้กนี่เอง...
ครั้งสุดท้ายที่มีการเคลื่อนไหว ที่จะทำให้เกิดสงครามครูเสด โดยปิอุสที่ 2 และเมืองโป๊ปสิ้นพระชนม์สงครามครูเสดก็ยุติลงพร้อมกับการสิ้นพระชนม์ของโป๊ปองค์นี้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...