ภาษากลุ่มออสโตร-เอเชียติก เป็นภาษากลุ่มใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และบางส่วนในอินเดีย และบังกลาเทศ ภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกมีกาแพร่กระจายตั้แต่อินเดีย บังคลาเทศ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แยกจากกันด้วยบริเวณที่มีผู้พุโภาษาตระกูลอื่นอยู่ จึงเชื่อกันว่าภาษาตระกุลนี้เปนภาษาดั้งเดิมในเอเชียตะวันออกเแียงใต้และอินเดียตะวันออก ส่วนภาษากลุ่มอื่นในบรเวณนี้ได้แก่กระกูลอินโด-ยูโรเปียน ไท-กะได ดราวิเดียนและ จีน-ทิเบตเป็นผลจากการอพยพเข้ามา มีตัวอย่างคำในภาษาตระกูลออกสโตรเอเชียติกอยุ่ในตะกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าในเนปสล ตะวันออก นักภาษาศาสตร์บางคนเชื่อว่า ภาษานี้เพี่ยวข้องกับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนและจัดเป็นตระกูลใหญ่ออสตริก
นักภาษาศสตร์โดยทั่วไปจัดภาษานี้เป็นสองกลุ่มหญ่คือภาษากลุ่มมุนดาที่พบในอินเดียตะวันออกและอินเดียกลางบางส่วนของบังกลาเทศและภาษากลุ่มมอญ-เขร ที่พบในเอเชียตตะวันออกเแียงใต้ อินเดียตะวันออกเฉียงเหนือและหมู่เกาะนิดโคบาร์จากภาษาในตระกุลน้ทั้งหมด 168 ภาษาอยู่ในกลุ่มมอญ-เขมร 147 ภาษาและอยู่ในกลุ่มมุนดา 21 ภาษาการแบ่งย่อยลงไปอีกมีความแตกต่างดังนี้
- มุนดา มุนดาเหนือ( กอร์กู, เคอร์วาเรียน), มุนดาใต้ (คาเรีย-จวา, โกราปุต มุนดา)
- มอญ-เขมร ภาษาเขมร, เปียริก, ภาษาในกลุ่มบะห์นาริก, ภาษากลุ่มกะตู, ภาษากลุ่มเวียตติก(รวมภาษาเวียดนาม)
- มอญ-เขมรเหนือ ภาษากาสี(รัฐเมฆาลัย, อินเดีย), ประหม่อง, ขมุ,
- มอญ-เขมรใต้ ภาษามอญ, อัสเลียน, นิโคบาร์ และยังมีการแบ่งดดยใช้ข้อมูลจากการใช้คำศัพท์ร่วมกัน...
กลุ่มชติพันธุ์ในภาษาออสโตรเอเชียติก ประกอบด้วย
- ส่วย ปลายพุทธศตวรรษที่ 19 ชาวกุยในแค้วนอัสสัมถูกรุกรานโดยชนเผ่าอนารยะจนบางส่วน
ต้องละทิ้งถ่ินฐานอพยพข้ามลงมาตามลำน้ำโขง เคยเป็นอาณาจักรหนึ่ง ถิ่นฐานเดิมอยู่างตอนเหนือของเมืองกัมปงธม ประเทศกัมพูชา ในราวพุทธศตวรรษที่ 20 เคยส่งทูตมาต้าขายกับอยุธยา เคยช่วยกษัตริ์เขมรปราบกบฎต่อมาเขมรได้ใช้อำนาจทางการทหารปราบชาวกูยและผนวกรวมเป็นส่วนหนึ่งกับเขมร ด้วยความชอบความอิสระและชอบกาผจญภัย ได้อพยพขึ้นเหนือ เข้าสู่เมืองอัตตะบือแสนปแ แค้วนจำปาศักดิ์ และสารวัน ทางตอนใต้ของลาว แต่ก็ถูกเจ้าเมืองศรีสัตนาคนหุต (เมืองเวียงจันทน์) ประาบปรามและขับไล่จึงพากันอพยพตามแม่น้ำโขงมาตั้งรกรากอยู่แถบอิสานทางด้านแก่งสะพือ อำเภอโขงเจียม ได้แยกย้ายตั้งรกรากปลูกบ้านเรือนอยู่แถบนี้
ชาวส่วยเรียกตัวเองว่า กูย, โกย หรือสวย แปลว่า "คน" ใช้ภาษา "กูย" เป็นเอกลักษณ์ในการสื่อสาร ชาวกุยนับถือศาสนาพุทธผสมและเชื่อเรื่องภูตผีปีศาจ เจ้สที่ ในชุมชนจะมีศาลผี,เจ้าที่ประจำหมู่บ้น ทุกหมู่บ้นเรียกวา่ "ผละโจ๊ะ" จะมีการบวงสรวงเจ้าที่เรียกว่า "แซนผละโจ๊"" (เซ่นผีหรือเจ้า)..การตั้งหลักแหล่งโดยส่วนมากจะพบ ตามลุ่มแม่น้ำโขงทุกๆ สายน้ำที่แตกสายน้ำออกไป เช่น อุบล ท่าตูม โพธิ์ศรีสุวรรณ เมืองจันทร์ ห้วยทับทัน ...
-ขมุ แปลว่า "คน" เป็นคำที่ชาวชมุใช้เรียกตนเอง คำว่าขมุ จึงเป็นทั้งชื่อของเผ่าและภาษาในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึงเป็นแหล่งใหญ่ของชาวขมุมีคำที่เรียกว่าชาวขมุ อยู่ 2 คำคือ "ข่า" หมายถึง ข้า ทาส ผุ้รับใช้ เป็นคำที่คนลาวทัวไปใช้เรียกชาวขมุและชนกลุ่มน้อยที่พูดภาษากลุมมอญ-เขมร แต่เป็นคำที่ชาวขมุไม่ยอมรับ มีอกีคำหนึ่งซ่งเป็นคำที่ทางรัฐบาลลาวใช้เรียกชนกลุ่มน้อยเชื้อสายมอญ-เขมร คือคำว่า ลาวเทิง "ลาวบนที่สุง" ซึ่งเป็นคำที่รวกลุ่มชนต่างไ ให้เป็นประชาชนลาว ดดยใช้คำว่าลาวเทิง เพื่อแยกให้ต่างจากคนที่พูดภาษาลาวแลตระกูลไทยอืนไ ที่นิยมอยู่ใจเขตที่ราบลุ่ม ซึงเรียกว่า ลาวลุ่ม และชาวม้งซึ่งเรียกว่า ลาวสุง นดยบายรวมพวกนี้เกิดจากการที่รัฐลบาลลาวเห็นความสำคัญของชนกลุ่มน้อยในประเทศซึ่งมีเป็ฯจำนวนมากและเป็นกำลังสำคัญของชาติในด้านต่างๆ ด้วยเหตุนี้ชาวขมุในลาวรวมทั้งชาวขมุที่อพยพเข้ามาใเมืองไทย บางรั้งจึงเรียกตนเองวาเป็น ลาวเทิงและภาษาลาวเทิง
ชาวขมุ ตั้งถ่ิกระจายอยุ่ในพื้นที่กว้างในริเวณตอนเหนือของอาเซียนตะวันออกเฉียงใต้ได้แก่ บริเวณทางเหนือของประเทไทย ทงเหนือของประเทศเวียดนาม ภาคเหนือของสาะารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และทางต้ของประเทศจีน ชาวขมุแบ่งได้เป็นหลายกลุ่ม แต่ละกลุ่มมีลักษณะการใช้ภาษาและวัฒนธรรมความเป็นอยุ่ การปฏิบัติตน แตกต่างกันออกไปมากบ้งน้อยบ้างคำที่ใช้เรียกชาวขมุด้วยกันเองแต่ต่างกลุ่มกัน คือคำว่า ตม้อย และถ้าหากต้องการเจาะกลุ่ม ก็จะใช้ลักษณะเฉพาะของลุ่มนั้นๆ ต่อท้าย เช่น ตม้อยปูลว (ชาวขมุขากหมู่บ้านปูลวง), ตม้อยดอย(ชาวขมุจากเขตภูเขา)
- ข่าพร้าว กล่มข่าพร้าวอพยพมาจากฝังซื้อยแม่น้ำโขง ในเขตจังหวัดดัตตะปือขอวลาว เข้ามาอยุ่ในเขตอำเภอชานุมานและเขมราฐ จ.อุบลราชธานี นอกจานี้ยังได้อพยพไปตั้งถ่ินฐานอยู่ในเขต จ.นครราชสีมาด้วย มักเรียกันว่า "ข่าตองออง"
- ญัฮกุร หรือ เนียะกุล ชาวบนเรียกตนเองว่า "เนียะกุล" หรือ "ญัฮกุล" มีความหมายว่าคนภูเขา เป็นชนกลุ่มน้อยที่อาศัยอยู่ตามไหล่เขาหรือเนินเตี้ๆ แถบบริเวณด้านในของริมที่ราบสูงโคราช จ.นครราชสีมา จ.ชัยภุมิ และเพชรบุรณ์ ที่มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดชัยภุมิ อย่างน้อยสามชั่วอายุคนนอดีตมักมีการย้ายถิ่นที่อยู่ในบริเวณดังกล่าว แม้ปัจจุบันจะตั้งหลักแหลงที่แน่นอนแต่การไปมาหาสู่เยี่ยม
เียนและการนับเครือญาติในหมุ่ชาวบน ในบริเวณสามจังหวัด ยังคงมีอยู่ปัจจุบันชวบนอาศัยอยุ่หนาแน่นที่สุดที่บ้านน้ำลาด หมุ่ที่ 4 ต.นายางกลัก อ.เทพสถิตย์ จ.ชัยภูมินอกจากนี้บังมีที่บ้านวังกำแพง ในอ.บ้ายเขว้า บ้านท่าโป่ง บ้านห้วยแย้ อ.หนองวัวละเหว บ้านสะพานหิน บานสะพานยง อ.เทพสถิตย์ ..อ.ปักธงชัย จ.นคราราชสีมาแงะบ้านห้วยไคร้ อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์
ลักษณะชาวบน มีผิวค่อนข้างดำตาโตกว่าคนไทย แต่ไม่ต่างจากคนไทยมากนักรูปร่างสูงปานกลาง ผุ้หญิงจะหน้าตาดี การดำรงชีวิตของชาวบน ตั้งบ้านเรือนอยู่กันเป็นกลุ่ มีบางพวกอพยพหนีเข้าไปอยู่ในป่าลึกหรือบนภูเขาสูงขึ้นไป ชาวบ้านใช้แสงไฟจากตะเกียงเป็นส่วนใหญ่ อาศยแหล่งน้ำตามะรรมชาติอยู่ในบริเวณหมู่บ้าน ฤดูแล้งจะใช้น้ำซับซึ่งมีตลอดปี ชาวบนมีอาชีพทำไร่ปลูกข้าตามไหล่เขา...
- ชอง คนชอง เป็นคนดั้งเดิมกลุ่มหนึ่งของดินแดจภาคตะวันออกของประเทศไทย อาศัยอยู่ในจ.ฉะเชิงเทรา ระยอง จันทบุรี และตรด คนชองมีภาษาพุดที่เป็นเอกลักษณ์ คือ ภาษาชอง ซึ่งเป็นภาษาในตะรกูลออสโตรเอเชียติก กลุ่มมอญ-เขมร สาขาเปียริก ปัจจุบันพบภาษาชองพูดกันมากที่สุดในเขตกิ่งอำเภอคิชฌกูฎ จ.จันทบุรี ซึ่งแต่เดิมมีคนพูภาษาชองมาในอ.โป่งน้ำร้อน และอ.มะขาม จ.จันทบุรี..ชาวชองมีภาษาและวัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว แต่ทว่าในปจจุบัน ภาษาและวัฒนธรรมชาวชองกำลังอยุ่ในภาวะวิกฤตเนื่องจากมีคนพุดภาษาชองเพียง 4-5 พันคนเท่านั้นรวมทั้งการขาดการสืบทอดจากคนรุ่นหลัง
- ลัวะ เป็นกลุ่มชาติพันธ์หนึ่งที่อาศัียอยุ่ตามเชิงเขา ถูกจัดให้อบู่ในกลุ่มชาวไทยภูเขา ลัวะมีชื่อเรียกต่างๆ กัน เช่น ชาวม่านเรียกชนเผ่าถ่ินว่า ลัวะ ซึ่งเป็นคนละเผ่าพันธุ์กับลัวะในจ. เชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน นักมานุษยวิทยาได้จัดให้ชนเผ่าลัวะ อยุ่ในกลุ่่มภาษาออสโตรเอเชียติกสาขาย่อย มอญ-เขมร ซึ่งอยุ่ในกลุ่มตระกูลภาษาเดรียกับชาวิ่ินชาวชมุ และมระบรี(ผีตองเหลือง)แต่ชาวลัวะเรียกตนเองว่า ละว้าหรือว้า ซึ่งเป็นชนชาติที่มีพื้นเพเดิมอยุ่ในแหลมอินโดจีน ดดยเฉพาะทงตอนกลางแหลมอินโดจีน โดยเแฑาะที่ละว้าปุระ คือ เมืองลพบุรีปัจจุบัน แล้วอพยพขึ้นไปทางเหนือโดยยึดลำน้ำปิงเป็น
แนวทางการเดินทาง พวกแรกๆ ได้อพยพขึ้น ไปตั้งถ่ินฐานอยุ่ตามฝั่งแม่น้ำคง(สาละวิน) ในรัฐไทยใหญ่ (รัฐฉาน)ของพม่า ส่วนพวกที่ตามมาที่หลังก็พากันตั้งถ่ินฐานกระจัด กระจายอยุ่ตามลุ่มแม่น้ำปิงในประเทศไทยเรียกพวา ว้าเชิ้ด ไทยเราเกรียกพวกนี้ว่า ลัวะ พวกลัวะส่วนใหญ่ตั้ง ภูมิลำเนา ที่บ้านเวียงหนองล่อง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน บ้านแม่เหียะ ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่..คนลัวะผิวคล้ำกว่าคนไทยทั่วไป ผุ้ชายสูงประมาณ 160 เซนติเมตร ผู้หญิงสุงประมาณ 150 เซนติเมตร ใบหน้ากว้างแบนริมฝีปากหนา เส้นผมสีดำเป็นคลื่นแนบหนังศรีษะ ชอบเจาะหูเพื่อใส่ลานหู ผุ้ชายตัดมสั้น ผู้หญิงไว้ผมยาวเหล้ารวบเป็นมวยไว้ที่่ท้ายทอย ส่วนเด็กๆ โกรศรีษะหมด
- ปะหล่อง เป็นชนกลุ่มน้อยพวกหนึ่ง นับเป็นหนึ่งใน 56 กลุ่มชาติพันธ์ในประเทศจีนนอกจานี้ยังีชาวปะหล่องอาศัยอยุ่ในประเทศพม่า และมีบางส่วนที่อพยพเข้ามาประเทศไทยบริเวณชายแดน ใกล้คอยอ่างชาง อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ ชาวปะหล่องพูดภาาาตระกุลมอญ-เขมรเรียกว่า ภาษาปะหล่อง
ในปี ค.ศ. 1949 ชาวปะหล่องในประเทศจีน มีชื่อเรียกว่า Benglong ครั้นในปี ค.ศ. 1985 มีชื่อเรียกใหม่ว่า เต๋อะ อ๋าง ตามคำเรียกร้องของสมาชิกในกลุ่มชิตพันธ์ุ บ้านเรื่อนส่วนหใญ่ของชาวปะหล่องทำจากไม่ไผ่ แต่โครงเป็นไม้จริง ประตูหันหนาไปทางทิศตะวันออก แต่ละครอบครัวมีบ้านของตนเอง มักเป็นบ้านสองชั้น ผุ้หญิงปะหล่องแต่งกายแตกต่างกันไปตามท้องถิ่นปกติจะมีเสื้อกั๊กสีดำ หรือขาวทับด้านนอก ตกแต่งด้วยแถบกำมะหยี่หลากสี และนิยมนุ่งผ้าถุง ผู้ชายปะหล่องสวมเสื้อกั๊กสีชขาวหรือกรมท่า กางเกงขายาว ขาบานๆ นอกจากนี้ยังโพกศรีษะด้วยผ้าขาวหรือดำ ในบางท้องถิ่น ชาวปะหล่องยังนิยมสักบนร่างกายเป็นรูปเสือ นก หรือ ดอกไม้...(to be contineus)
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น