"SLORC" State Law Order Restoration Council

           คณะนายทหารที่เรียกว่า สภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ หรือรัฐบาล "สลอร์ค State Law Order Restoration Council-SLORCc และ พรรึคเอกภาพแห่งชาติ ร่วมกันปกครองพม่าหลัง ตามคำสังนายพล เนวิน ดดยมีนายพลซอ หม่อง ทำรัฐประหารเมืองวันที่ 18 กันยายน 

          เืพ่อสร้างภาพว่ารัฐบาลกำลังจะเปลี่ยนระบบการปกครองและเสณาฐกิจไปสู่ความเป็นเสรีมากขึ้นได้ยกเลิกรัฐธรรมนูญของปี ค.ศ.1974 และเป็ดประเดศด้วยการปรับนโยบายเศรษฐกิจไปสู่ระบบตลาดเปิดเสรีให้ต่ารงชาตินำเงินเข้ามาลงทุนใช้ทราัพยากรธรรมชาตอันอุดมสมบูรณ์ และยกเลิกระบบเศรษบกิจแบบสังคมนิยมที่นายพล เนวิน ประกาศใช้เมือ 26 ปีก่อน และการจัดตั้งพรรคสันนิบาตแห่งขาติเพื่อประชาธิไตยหรือ NLD National League for Democracy) ที่อีอ่อง ยี เป็นประธานพรรค และนาง ออง .าน .ูจี เป็นเลขาะิการพรคฯ ทั้งหมดนี้นับเป็รเริ่มขบวนการประชาธิไตยและสร้างภาพลักษณ์ใหม่ให้แก่ประเทศและรัฐบาล

         รัีฐบาล "สลอร์ค" เปลี่ยนชื่อประเทศพม่าเป๋น "สหภาพเมียนมาร์โดยอ้างว่าเป็นชื่อที่มีความเป็นเอกภาพมากกว่า พม่า และสิ่งทีไม่ได้คาดไว้ก็เกิดขึ้น คือ ในอี่ก 1 ปีต่อมาราัฐบาลสลอร์คได้ประกาศให้มีการเลือกตั้งทั่วไปแบบหลายพรรคการเมือง ลหังจากที่ครั้งสุดทื้ายมีการเลือกตั้งในลักษณะนี้เมือประมาณ 30 ปีที่แล้ว อย่างไรก็พรรค NUP  ของรัฐบาลได้ที่นั่งเพียง 10 ที่่นีั่ง จาก 485 ที่นั้ง ที่นีั้งส่วนใหญ่ตกเป็นของพรรค NLD 

         ถึงอย่างไร แม้ผลการเลือกตั้งจะชี้ชัดว่าพรรคึต่อต้านรัฐบาลมีความชอบธรรมที่จะปกครองประเทศ แต่กลุ่ม"สลอร์ค"ก็ประกาศว่า รัฐบาลจะยังไม่มอบอำนาจใน้พรรค NLD จนกว่าจะร่างรัฐธรรมนูญฉบัยใหม่เสร็จสิ้น และให้ประชาชนแสดงความเห็นชอบก่อนแล้วจึงจะพิจารณาการถ่ายโอนอำนาจการปกครอง

          นายพล ซอ หม่องไม่ระบุระยะเวลาที่แน่น่อนในการร่างรัฐธรรมนูญ ทำให้ประชาชนเดินขบวนประท้วง แต่้รัฐบาล "สลอร์ค"ก้ตอบไต้ด้วยการจับกุมประชานและกวาดล้างสมาชิกพรรค NLD ในที่บรรดาผู้นำพรรคฯ จึงต้องยอมรัีบข้อเสนอของรัฐบาลทหารที่จให้มีการร่างรัฐธรรมนูญแบับใหม่ก่อนการถ่ายโอนอำนาจ  ในเวลาเดียวกันนายพล ซอ หม่อง เริมมีอาการป่วย และ ลงจากตำแหน่าง นายพลตาน ฉ่วย เข้ารับตำแหน่งต่างๆ ตำคำสั่งและการบงการของนายพล เนวิน

          เก้าเดือนต่อมา นายพล ตาน ฉ่วย เริ่มประชุมสมัชชาเพื่อร่างรัฐะรรมนูญ กองทัพจะยัวคึงเป็นเสา่หลักในการปครองซึ่งทำให้ยากที่จะเปลี่ยนแปลงไปเป็นประชาธิปไตยมากกว่านี้

          นับตั้งแต่ นายพล ตาน ฉ่วย ขึ้นมาปกครองประเทศเมืองปลาย เมษา 1992 จนถึงปี 2005 กลไกที่รัฐใช้เป็นเป็นศูนย์อำนาจของรัฐในการกำนดและควบคุมการดำเนินการปกครองและบิรหารประทเศพม่า คือ สภาพ "สลอร์ค"พฤศจิกายน 1997 เมื่อรัฐบาลของ พลเอก ตาน แ่วย ประกาศยุบ "สลอร์ค"และตั้งกลไกใหม่ขึ้นมารทำหน้าที่ทแรนภายใต้ชืิ่อว่า "สภาพสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ" "SPDCซึ่งเมื่อพิจารณาโดยภาพรวมแล้วก็ไม่มีอะไรแตกต่างกากเดิมเป็นดัง "เหล้าเก่าในขวดใหม่"เพียงแต่ภาพของการช่วงชิงอำนาจระหว่างผู้บริหารระดับสูงปรากฎชัดเจนขึ้น นายพล ตาน ฉ่วย เองก็สามารถเข้าควบคุมประทเสได้ในปลายปี 2004 

     ...ปัจจัยที่อาจเป็นภัยคุกคามต่ออำนาจองรับบาลทหารได้แก่ ผลจากการจลาจลครั้งใหญ่ค.ศ. 19898, การแย่งชิงอำนาจภายในกลุ่มผุ้นำทางทหาร, ความตกต่ำของเศรษฐกิจเมียนมา, การกบฎของชขนกลุ่มน้อย และ ความกังวลต่อการคุกคามจากต่างชาติ ในภาพรวม สาเหตุปัจจัยดังกล่าวเป็นผลมาจากบริบทโลกและสถานการณ์ภายในเมียนมาทมี่เปลี่ยนแปลงไป การเปลี่ยนแปลงดังกล้่าวมีอิทธิพลอย่างมากต่อการตัดสินใจเปลี่ยนแปลงนโยบายและการดำเนินการต่างๆ ของรัฐบาลทหารเพื่อที่จะรักษาอำนาจซึ่งหากรัฐบาลทหารบังคงวิธีการเดิมเช่นเดียวกับสมัยนายพล เนวิน โดยไม่เปลี่ยนแปลงอาจนำไปสู่การสุญเสียอำนาจของตนในทางการเมืองก็ได้

         ระหว่าง ค.ศ. 1988-2008 รัฐบาล SLORC/SPDCจึงได้ดำเนินการรักษาอำนาจด้วยวิธีการที่หลากหลายมากขึ้น กล่าวคือ 

         - การใช้่การปฏิรูปทางการเมืองและเศรษฐกิจเพื่อสร้างความชอบธรรม

          - การกดขี่และการใช้กำลัง

          - การสร้างความภักดีและการดังเข้าเป็นพวก

           - การแบ่งแยกและปกครอง และ

           - การเตรียมการเืพ่อรักษาอำนาจภายใต้การปกครองแบบประชาธิไตย วิธีการที่กลบ่าวนี้่ทำให้รัฐบาลทหารสามารถคงอำนาจทางการเมืองและอยู่รอดจากการต่อต้านและความพยายบามล้เมล้างรัฐบาลทีังจากภายในและภายนอกประเทศ จนกระทั่งรัฐบาลทหารสามารสละอำนาจการปกครองประเทศให้แก่รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งในลักษณะที่กองทั้พยังคงมีบทบาทและอิทธิพลในทางการเมือง...

      

          ข้อมูลบางส่วนจาก   ...วิยานิพนธ์ "การรักษาอำนาจของรํฐบาลทหารเมียนมา ค.ศ. 1988-2008" โดย นายวีรศักดิ์ ฉัตรรุ่งนพคุณ

                                         ..."กองทัพพม่ากับการปกครองแบบอำนาจนิยม" โดย ชขัยโชค จุลศิริวงศ์


ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)