วันพุธที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2565

Money.. (money talk)

            หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีการร่วมมือของประเทสฏซ๋ษ 50 ประเทศเพื่อช่วยกันจะฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศผู้แพ้สงคราม ซึ่งในสงครามโลกคร้งที่ 2 นั้น เยอรมัน และอิตาลีเป็นฝ่ายแพ้สงคราม "ศ.จอห์น เมนาร์ด" เป็นนักเศษรษฐศาสตร์ที่ได้รับมอบหมายในการทำหน้าที่นี้ผู้อำนวยการฝ่ายวิจัยการเงินของกระทรวงการคลังของสหรัฐฯ ฉฮรี่ ดี ไวท์ และรัฐมนตรีว่าการกรวงการคลัง ขณะนั้น เฮนี่ มอร์เกนธอ ได้เสนอว่า ระบบการเงินโลกควรเน้นการมีเสถียรภาพเป็นหลังเพื่อประโยชน์ในการค้า โดยเห็นว่าระบบการเงินโลกหบังสงครามโลกควรมีความยืดหยุนกวาระบบมาตรฐานทองคำที่ใช่ก่อนสงคราม เพราะการผูกเงินตราไว้กับทองคำจะก่อให้เกิดแรงกดดันไปสู่เยงินฝืด จึได้ถือกำเนิด "ข้อตกลงเบรตตัน วูดส์" ขึ้นมา เพื่อจัดระเบยบการเงินโลกใหม่โดยมี แนวทางดังนี้ 

          .ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17-18 สเปนแผ่อำนาจไปทัี่วโลกและทให้ "สเปน ดอลล่าร์" เป็นสกุลเงินที่สำคัญของโลก  โดยอิงตามเงิน (แร่เงิน) และเป็นเงินสกุลหลักทั่งทวีปเอเชีย ทวีปอเมริก และอนุทวีปไอบีเรีย กว่าสองศตวรรษ

           ต่อมาในคริสต์วรรษที่ 19 เมืองทองเข้ามามีบทบาทมากขึ้นในการเป็นตัวกลางของการซื้อขาย จึงเกิดสิ่งที่เรียกว่า "โกล์ด สแตนดาร์ด" ที่สกุลเงินต่างๆ ต้องมีทองคำสำรองเพื่อออกเป็นเงิืนตราได้ แต่เมือเกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งก็ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอีกครั้งหนึ่ง ดดยเงิน ปอนด์ สเตอริง"ของอังกฤษมาเป็นเงนสกุลหลักของโลกในช่วงสั้นๆ จนกรท่ั้งหลังสงครามโลกครั้งที่ 2  


            รูปภาพจาก https://www.dw.com/en/bretton-woods-at-75-has-the-system-reached-its-limits/a-49687599

           - มีองค์กรกำกับหรือบริหารนโยบายแศรษฐกิจระหวางประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศและเป็นที่มาขององค์การระหว่าประเทศด้านการเงินอันประกอบไปด้วย กองทุนการเงินระหว่างประเทศ"ไอเอ็เอฟ", ธนาคราโลก "เวิร์ด แบงค์", องค์การการค้าระหว่างประเทศ "ไอทีโอ" ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นข้อตกลงหรือความตกลฃงทัี่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า "แกต" และต่อมาได้กลางเป็นองค์การการค้าโลกหรือ "เวิร์ด เทรด"หรือ "ดับบริวที่โอ"ในปัจจุบัน

            ข้อตกลงของระบบเบรตตัน วูดส์ และกลไกสำคัญ 

            ระบบอัตราแลกเปลี่ยนระบบอัตราแลกเปลียนภายใต้ตอตกลง เบบรตตัน วูดส์ มีดังนี้ 

            - อัตราแลกเปลี่ยนที่คงที่ แต่ไม่ใช่ระบบมาตรฐานทองคำดังในอดีตค 

          - ระบบอัตราแลกเปลี่ยนจะเป้นแบบคงที่ แต่สามารถปรับได้ ในระดับหนึ่ง และหากประเทศสมาชิก "ไดเอ็มเอฟ"ประสพกับปัญหาขาดุลการชำระเงินมหาศาลหรือเรื้อรัง สามารถปรับอัตาแลกเปลี่ยนได้

           - ข้อตกลงข้างต้นกำหนดให้ทองคำและเงนสกุลดอลลาร์ของสหรัฐฯ เป็นทุนสำรองระหว่างประเทศ และกำหนดให้เงินดอลลาร์มีค่าคงที่กับทองคำได้กำหนดให้ทองคำ 1 ออนส์ เท่ากับ 35 ดอลลาร์ และ ดอลลาร์สามารุเปลี่ยนเป็นทองคำด้โดยไม่จำกัด

          -ในฐานะที่ดอลลาร์เป็นเงินตราสกุลหลัก แต่ละประเทศจะต้องประกาศค่าเงินของตนเองโดยอิงกับทอง หรืออิงกับดอลลาร์ หรือที่เรียกว่า "ค่าเสมอราคา" 

          - ประเทศต่างๆ จะเข้าแทรกแซงในตลาดเงินตรนาตค่างประเทศเพื่อให้ค่าเสนมอภาคอยู่ระดับที่ประกาศไว้ โดยผ่านการซื้อขายเงินตราตคค่างประเทศ..

           โรเบิร์ต กิลพิน" ได้ศึกษาว่า กว่างครึ่งหนึ่งของการคึ้าโลกในต้นสหสวรรษเป็นการทำรายการในสกุลเงิน "ยูเอส ดอลล่าร์" และหว่าสองในสามของเงินสำรองของประเทศต่างๆ ทั่วดฃลกเป็นเงิน "ยูเอส ดอลลาร์" เช่นกัน จึงน่าจะหล่าวได้ว่า "ยูเอส ดอลลาร์"เป็นเงินสกุลหลักของโลกตลอดครึ่งศตวรรษนี้ก็ว่าได้


                รูปภาพจาก http://www.acnews.net/view_news_breaking.php?news_id=B256028886

           แต่เมื่อเศรษฐกิจโลกเติบดตอย่างก้าวกระโด และการที่เงินสกุลเดียวเป็นสกุลหลักของโลกย่อมมีความเสี่ยง ประเทศในกลุ่มยุโรปจึงไช้สกุลเงินที่ใช้แลกเปลี่ยนได้ในกลุ่มสมาชิกเรียกว่า  "ยูโร"ในปี 1999 และยูโรใช้เวลาไม่ถึง 20 ปี ก็ขึ้นเป็นเงนสกุลหลักอีกสกุลหนึ่งของโลก

           ปัญหาของเงินสกุลหลักเช่น "ยูเอส ดอลลาร์" คือ ค่าเงินจะสัมพันธ์กัีบพื้นฐานเศรษฐกิจของประเทศนั้นๆ และในระยะสั้นก็จะแปรฝันตามดอกเบี้ยนโยบายของประเทศนั้น อีกด้วย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือเมื่อเกิดวิกฤติการเงินในสหรัฐเมือปี 2008 ได้มีการจัดพิมพ์ธนบัตรจำนวนมากเพื่อเพิ่มสภาพคล่อง อันจะช่วยประคองเศรษฐกิจในประเทศ แต่ทำให้ภาพความเป็นเงินสกุลหลกและเ็นกลางด้อยไป แปละบางครั้งส่งผลต่อความเชื่อมั่นในสกุลเงิน..

            นักเศรษฐศาสตร์ "จอห์น เมนาร์ด คีย์เนส" ได้กล่าวว่า ดลกควรจะมี "ตัวกลางแลกเปลี่ยน"ดดยไม่ขึ้นกับสภาพเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ ซึ่งจตะทำให้การค้าในโลกคล่องตัวขึ้น และเติบโตมากขึ้น ที้ง "ไอเอ็มเอฟ"และสหประชาชาติก็เคยมีการศึกษาในปี 2009 และให้ความเห็นว่าควรจะมีเงินอีกสกุลหนึ่งที่เป็นกลาง เพื่อทดแทน "ยูเอส ดอลลาร์"แต่การศึกษายังอยู่ในกรอบความคิดเดิมที่ต้องมีหน่วยงานกลางเพื่อทำหน้เาที่ในการควบคุมการออกธนบัตร การคุมเงินหมุนเวียนต่างๆ เป็นต้น..

          ในปีเดียวกันนั้นเอง มีกลุ่มคนที่ใช้่ชือ "ซาโตชิ นาคาโมเตะ" ได้ออกแบบสิ่งที่เรียกว่า "บล็อกเชน"ซึ่งเป็นการใช้เทคโนโลยีทางคอมพิเตอร์เพื่อบันทึุกบัุญชี และการบันทึกบัญชีดังกบล่าวสามารถตรวจสอบได้ทุกๆ คนทำให้ไม่จำเป็นต้องมีหน่วยงานกลางเพื่อทำหน้าที่ตรวจนสอบและสั่งจ่าย กล่าวคือในการชะระเงินนั้น สามารถส่งมอลบกันโดยไม่ต้องมี ะนาคารชาติ วึ่งก็ทำให้ความสำคัญของหน่วยงานดังกล่าวหมดไป และ"ซาโตชิ" มีวิสัยทัศน์ที่จะทำให้เทคโนโลยีดังกล่าวสามารถพัฒนาเป็นเงินสกุลหลักของโลก จึงออกแบบ "บล็อกเชน" ให้เป็น "โอเพน ซอร์ซ ซอฟแวร์" เพื่อให้ทุกคนสามารถมาร่วมพัฒนาต่อยอดได้ อย่างไรก็ตาม เงินสกุลที่คนกลุ่มนี้ต้้งขึ้นคือ "บิตคอยด์"มีข้อจำกัดหลายอย่าง ไม่ว่าปริมาณเงินที่ใช้หมุนเวียนอย่างจำกัน และไม่มีสินทรัพย์รองรับทำให้ถูกมองว่าเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็งกำไรมกกว่าที่จะเป็นเงินสกุลหลัก เนื่องจากเงินต่างๆ เหล่านี้มีการเข้ารหัสจากเทคโนโลยี"บล็อกเชน" จึงทำให้บางที่เราก็เรียกว่า "คริสโต"ซึ่งยังมี่อีกหลายสกุล..

          ข้อมูลจาก : https://www.bangchak.co.th/en/newsroom/everlasting-economy/523/%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81-libra

                        https://www.stou.ac.th/stouonline/lom/data/sec/Lom20/03-01.html

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...