MPAC 2025 (MASTER PLAN ON ASEAN CONNECTIVITY 2025)

             อาเซียนได้จัดตั้งคณะกรรมการอาเซียน ว่าด้วยความเชื่อมโยงระหวางกันในภูมิภาค เพื่อติดตามการดำเนินงานตามแผนแม่บทฯ นี้คณะกรรมการดังกล่าวจะทำงานอย่างใกล้ชิดกับผู้ประสานงานระดับชาติ และหน่วยงาน ตลอดจนองค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียน ในสาขาที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการตามยุทธศาสตร์และมาตรการสำคัญที่ได้ระบุไว้ในแผนแม่บท นอกจากนั้นได้มีการจัดตั้งหน่วยงานเฉพาะ ในสำนักเลขาธิการอาเซียน เพื่อให้การสนับสนุนคณะกรรมการประสานงานฯ ในการประสานงาน ตรวจสอบ ติดตามเร่งรัด และรายงานผลความคือหน้าในการดำเนินการตามแผนแม่บทฯ ต่อผู้นำอาเซียน ผ่านคณะกรรมาธิการประสานงานอาเซียน.

        แผนแม่บทฯ เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ของผุ้นำอาเซียนที่จะขับเคลื่อนกระบวนการรวมตัวและก่อตั้งประชาคมอาเซียนในปี 2558 และรักษาแนวโน้มการขับเคลื่อนของการเป็นประชาคมอย่างต่อเนื่อง ภายหลัง ปี 2588
        แผนแม่บทฯ ว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนมีบทบาทเสมือนเชือกที่เชื่อมโยงและร้อยรัดเสาทั้งสามของประชาคมอาเซียนเข้าไว้ด้วยกัน  ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน, ประชาคมเศณาฐฏิจอาเซียน และ ประชคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน โดยแผนแม่บทจะเป็กำไกขับเคลื่อนการเชื่อมโยงผ่าน 3 มิติ คือ ควมเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน ความเชื่อมโยงด้านกฎระเบีบบ และความเชื่อมโยงด้านประชาชน
       ดังนั้น อาเซยนจำเป็นต้องมแผนแม่บทฯ เพื่อเป็นกรอบการดำเนินการเชื่อมโยงในภูมิภาคใหมีประสทิธิภาพเพื่อเร่งดัดไปสู่เป้าหมายของการเป็นประชาคมอาเซียนและสิ่งสำคัญ คือ จะต้องมีการนำแผนแม่บทไปปฏิบัติใช้อย่างรวดเร็ซ และตรงตามกำหนดเวลา เพพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ
        ความแตกต่างของแผนแม่บทฯ กับแผนงานต่างๆ ของอาเซียน ประการแรกการบูรณาการแผนงานต่างๆ ของอาเซียนเข้าด้วยกัน แผนงานต่างๆ ของอาเซยนส่วยมากได้รับการจัดทำขึ้นจกมุมมองขององคกรแต่ละภาคส่วนต่างๆ ของอาเซียนส่วนมากได้ับการจัดทำขึ้นจากมุมองขององคืการแต่ละภาคส่วนต่างๆ จึงขาดมุมมองในภาพรวม แผนแม่บทฯ ฉบับนี้จึงมีเป้าหมายที่จะเชื่อมโยงแผนงานต่างๆ เข้าด้วยกัน โดยอาศัยความร่วมมือของหลายสาขา นอกจากนี้ แผนแม่บทฯ ยังให้ความสำคัญต่อข้อริเริ่มด้านการเชื่อมโยงในระดับอนุภูมิภาค
     
  ประการที่สอง คือการรดมทรัพยากร แผนแม่บทฯ ได้เน้นย้ำถึงการระดมทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผลโดยได้กำหนดยุทธศาสตร์รองรับคณะทำงานระดับสูงฯ ยังได้นำประสบการณ์ของธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย สถาบันเพื่อการวิจัยสำหรับอาเซียนและเอเลียตะวันออก คณะกรรมาธิการเศราฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก และธนาคราดลกมาใช้ในการจัดทำแผนแม่บทฯ นอกจากนั้น คณะทำงานระดับสูงฯ ยังคำนึงถึงบทบาทของประเทศคุ้เจรจาของอเซีนและหุ้นส่วนภายนอกภูมิภาครวมทั้งภาคเอกชน ที่ได้ให้ความช่วยเหลือหรือสนใตที่จะให้ความช่วยเหลืออาเซียนในข้อริเริ่มว่าด้วยความเชื่อมโยงเหล่านี้
                     - ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน(ฉบับย่อ), กองอาเซียน 3 กระทรวงการต่างประเทศ, ธันวาคม 2554.
            
         วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ และข้อริเริ่มสำหรับความเชื่อมโยงระหว่างในอาเซียน ค.ศ.2025 MPAC 2025 หรือแผนแม่บทฯ 2568 ได้กำหนกยุทธศาสตร์ ไว้ 5 ด้าน ได้แก่ โครงสร้างพื้นฐานที่ยั่งยืน, นวัตกรรมดิจิทัล, โลจิสติกส์ไร้รอยต่อ, ความเป็นเลิศด้านกฎระเบียบ, การเคลื่อนย้ายของประชาชน
         1.โครงสร้างพื้นฐานที่ยั่งยืน 
         วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
          - เพื่อเพิ่มศักยภาพลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานของภาครัฐและภาคเอกชนในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
          - เพื่อส่งเสริมการประเมินผลและการแบ่งปันแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศด้านผลติภาพของโครงสร้างพื้นฐานในอาเซียน
          - เพื่อส่งเสริมการใช้ต้นแบบของการพัฒนาเมืองอย่างชาญฉลาดภายในภูมิภาคในอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 1 : การสร้างบัญชีรายชื่อโครงการเกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานที่มีศักยภาพของอาเซียนและ                             แหล่งเงินทุน 

                     วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อจัดการกับประเด็นด้านข้อมูลและช่องวางของขีดควมสามารถในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน โดยขึ้นตอแรกของการดำเนินการคือ จัดทำบรรทัดฐานสำหรับการคัดเลือกโครงการโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ โดยใช้รูปแบบของข้อมุลโครงการที่มีมาตรฐานเดียวกัน และเมื่อดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว จะรวบรวมไว้ในฐานข้อมูลออนไลน์และเผยแพร่สู่สาธารณชน เพื่อที่นักลงทุนจะสามารถเข้าถึงข้อมุลดังกล่าวได้โดยงาย นอกจากนี้ ฐานข้อมูลออนไลน์ยังจะให้ข้อมุลเกี่ยวกับแหล่งเงินทุนต่างๆ ที่สามารถนำมาใช้เพื่อช่วยเหลือด้านเงินทุนของโครงการอีกด้วย
 ข้อริเริ่มที่ 2 : การสร้างแนวปฏิบัติของอาเซียนเพื่อวัดผลและพัฒนาผลิตภาพของโครงสร้างพื้นฐาน
                      วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อวินิจฉัยผลิตภาพของโครงสร้างพื้นฐานในภาพรวมและแสวงหาโอกาสในการพัฒนาการวางแผน การประกาศ และการดำนเนิงานในด้านโครงสร้างพื้นลฐญานโดยเริ่นต้นต้นดำเนินงานจากขององค์กรและสถาบันต่างๆ ในภุมิภาค ซึ่งป็ฯกรอบการทำงานที่อเาซียนเคยเห็นชอบให้รับผิดชอบในการวิเคราะห์ข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ในแต่ละประเทศสมาชิกอาเวียน โดยข้อมูลที่ได้นี้จะถูกนำมาอภิปรายในเวทีของเจ้าหน้าี่ผู้รับผิดชอบเรื่องโตครงสร้างพื้นฐานของประเทศสมาชิอาเซียนเพื่อแบ่งปันแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ และจะมีการติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีความชัดเจนเกี่ยวกับขั้นตอนต่างๆ ที่ได้มีการดำเนินการไปแล้ว
ข้อริเริ่มที่ 3 : ยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองอย่างยั่งบยืนของเมืองต่างๆ ในอาเวียน 
                     วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อขยายต้นแบบการพัฒนาเมืองอย่างชาญฉลาดในอาเซียนโดยสามารถศึกษาตัวอย่างได้จากเมืองต่างๆ ของอาเซียน อาทิ การรักษามรกดทางวัฒนธรรมของเมือง จอร์จทาวน์ การลดการพึ่งพารถยนต์และการลงทุนต่างๆ ของเมืองเมดานเพื่อทำให้เมืองเปนมิตรต่อการเดินเท้ามากขึ้น การเสริมสร้างขีดความสามารถของสถาบัและการจัดการกับการทุจริตของเมืองดานังดังนั้น แผนแม่บทฯ จึงควรใช้โอกาสนี้ในการสนับสนุนการทำงานกับองค์กรต่างๆ ของอาเวียนและองค์กรพหุภาคีอื่นๆ โดยการตรวจสอบโครงการที่ีอยู่แล้วในอาเวียนและนกรอบอนุภูมิภาค รวมทั้งในฐานข้อมูลต่างๆ ที่สามารถนำมาปฏิบัติได้จริง
           
  2. นวัตกรรมดิจิทัล
               วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
                - เพื่อสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีของวิสาหกิจขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดย่อม
                - เพื่อสนับสนุนการเข้าถึงแหล่งเงินทุนผ่านนวัตกรรมดิจิทัล
                - เพื่อพัฒนาข้อมูลแบลบเปิดในประเทศสมาชิกอาเซียน
                - เพื่อสนับสนุนการบริหารข้อมูลระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน
ข้อริเริ่ม 4 : การเสริมสร้างฐานเทคโนโลยีสำหรับวิสาหกิจขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดย่อม 
                  วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้  คือ เพื่อสนับสนนุแผนงานของคณะกรมมการประสานงานอาเซียนว่าวิสาหกิจขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดย่อม ในการเสริมแสร้างการใช้เทคโนโลยีกับภาคธุรกิจ โดยขั้นตอนแรกในการดำเนินงานคือ การแก้ไขปญหาที่เกี่นยวข้องกับการขาดความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีสำหรับ MSMEs ในภูมิภาค การรวบรวมแนวปฏิบติที่เป็นเลิศในอาเซียน การจัดเวทีสำหรับผุ้มีส่วนเกี่ยวข้อง และการสร้าง ASEAAN SME Portal เพื่อเป็นฐานข้อมูลออนไลน์ในด้าน MSMEs ของอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 5 : การพัฒนากรอบการทำงานด้านความครอบคุลมทางการเงินแบบดิจิทับในอาเซียน
                     วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อส่งเสริมความคอบคลุมทางการเงิน ดดยการขยายการสร้างผลิตภัฒฑ์และบริการทางการเงินให้แก่ขุมชนที่กว้างขึ้น อันรวมถึงวิสาหกิจขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดยอมด้วย รวมทังเพื่อสนับสนุน ASEAN ICT Maaster Plan 2020  ที่ต้องการสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับการต้าดิจิทัลและการชำระเงนิทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ MPAC 2025 มุ่งเน้นให้เกิควดความร่วมมือระหว่างผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียในหลายภาคส่วน และสนับสนุนแนวทางอันจะได้รับการรับรองโดยคณะทำงาน ว่าด้วยความครอบลุมทางการเงิน และคณะทำงานว่าดวยระบบการชำระเงินของอาเซียน
 ข้อริเริ่มที่ 6 : การสร้างเครือข่ายข้อมุลแบบเปิดของอาเซียน
                      วัตถุประสงค์ของข้อริเร่ิมนี้ คือ เพื่อส่งเสริมการดำเนินงานของ ASEAN ICT Master Plan 2020 ซึ่งได้ระบุจำนวนการดำเนินงานที่มประสิทธิภาพในการพัฒนาข้อมุลแบบเปิดและข้อมูลที่มีขนาดใหญ่จากหลายๆ ภาคส่วน โดยมีขันตอนการดำเนินงานในขันแรกคือ การจัดตั้งเวทีสำหรับภาคเอกชขนในการแบ่งปันการพัฒนาและกิจกรรมในการบริหารจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ อีกทั้งยังรวมไปถึงการพัฒนาข้อมูลสาะารณะและความพร้อมในอาเวียน และการสร้าง "พจนานุกรมข้อมุลอาเซียน" เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลออนไลน์แบบเปิดของอาเซียน นอกจากนี้ MPAC 2025 ยังสามารถสนับสนุน ASEAN ICT Master Plan 2020 ในการประสานประเด็นคาบเกี่ยวระหว่าง TELSOM กับองค์กรเฉพาะสาขาอื่นๆ ของอาเซียนอีกด้วย....
               - "แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ค.ศ. 2025. (คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)


ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)