เยอรมันทำการขับไล่สัมพันธมิตรออกจากแนวกาลาซากองทัพรถถังมุ่งหน้าไปยังอียิปต์ทิ้งทิ้งทหาร 33,000 นายพร้อมอาวุธจำนวนมากไว้ที่โทรบรุ เมือ่รอมเมลยกทัพมาถึงโทรบุรคและยึดโทรบรุดคืนได้ในวันที่ 21 มิถุนายน 1942 การสูญเสียป้อมปืนเป็นการสูญเสียครั้งำคัญของอังกฤษรองจากการสูญเสียสิงคโปร์
ในการถอยครั้งนี้นับเป็นโชคดีอีกครั้งของอังกฤษ เนื่องจากว่าในขั้นมีคำสั่งถอยไปยังเมอร์ซา มาทรุธ แต่ได้มีการยเกเลิกคำสั่งโดยให้ถอยลึกเข้าไปอีก ไปยังบริเวณอาลาเมน กองทัพที่ 8 จึงรอดพ้นจากกองทัพรอมเมลที่ตามมายังเมอร์ซา มาทรุธในวันต่อมา ทั้งฮิตเลอร์และมุสโสลินี่ต่างคาดการณ์ว่ารอมเมลจะยัดอียิปต์ได้ในเวลาไม่กีวัน
ยุทธการ เอว อาลาเมนครั้งที่ 1 นั้นต่างคิดว่าจะเผด็จศึกได้โดยเร็ว แต่เนื่องจากความอ่อนเพลียและขาดแคลนเครื่องกระสุนรอมเมลจึงสั่งหยุดทัพ ในจังหวะนี้เองฝ่ายอังกฤษเร่งทำการเสริมกำลัง ปลายเดือนกรกภา รอมเมลจึงรุกฝ่ายอังกฤษแต่ สัมพันธมิตรสามารถหยุดการบุกของรอมเมลไว้ได้ รอมเมลจึงถอยทัพและสร้างแนวป้องกันตรงนั้น
เชอร์ชิล เดินทางมาตรวจดูสถานการณ์การรบที่ไคโร ออซิลแลคบอกว่าต้องเลื่อนการโจมตีกองทัพอรอมเมลออกไปนกว่าจะถึงเดือนกันยายน เพื่อให้ทหารอังกฤษเคยชินกับสภาพดินฟ้ากากาศกก่อน เชอร์ชิลล์ไม่ประสงค์อย่างนั้นจึงปลดออซิเลคออกจากตำแหน่าง และ แต่งตั้งนายพลเอบร์นารด์ ลอว์ มอนโกโมรี แต่มอนโกโมรีกลับของเลื่อนการโจมตีรอมเมลออกไปนานกว่าที่ออซินเลคขอไว้ก่อนหน้านี้
ก่อนหน้านี้ทั้งที่อังกฤษมีความเหนือกว่าทั้งทัพอากาศ กำลังพลและกำลังสนับสนุนแต่กระนั้นอังกฤษก็ได้รับแต่ความปราชัยครั้งแล้วครั้งเล่า แผนการแรกของมอนโกโมรี่คือการเพิ่มขวัญกำลังใจของทหารอังกฤษในอียิปต์ โดยเขียนเอกสารมอบให้เหล่านายทหารของกองทัพตัวเองอ่านให้นายทหารใต้บังคับบัญชาฟังดังๆ ความว่า
- เมื่อข้าพเจ้า(มอนต์โกเมอรี่)ได้เข้ามาบัญชาการกองทัพที่แปด ข้าพเจ้าก็ขอกล่าวว่าคำสั่งของข้พาะเจ้า ทำลายรอมเมลและกองทัพและเป้าหมายนี้ก็จะสำเร็จในเวลาอันสั้น
- ตอนนี้เราพร้อมแล้ว สงครามครั้งนี้จะกลายเป็นสงครามครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นจุดหักเหครั้งสำคัญของมหาสงครามโลกนี้ สาตาของทั้งโลกกำลังจดจ้องมาที่พวกเราด้วยกระหายใคร่รู้ว่า ผลของสงครามจะหันไปในทิศทางใดซึ่งพวกเราก็จะตอบคำถามของเขาเหลช่านั้นได้ว่า หันมายังทิศทางของเรา
- เรามีเครื่องมือชั้นหนึ่ง รถถังชั้นดี ปืนต่อต้านรถถังชั้นเยี่ยม กระสุนมากมายปืนใหญ่หลากหลาย แพวกเราก็ยังได้รับการสนับสนุนจากกองทัพอากาศที่ดีที่สุดใสโกลนี้ทั้งหมด เหนื่อสิ่งอื่นใดสิ่งสำคัญที่สุดของพวดเราทุกคนไม่ว่าจะเป็นทั้งนายทหารหรือพลทหารคนใด ควรจะเข้าสู่สงครามอันนี้ด้วยายตาที่มองไปข้อาหน้าที่จุดหมายทีจะสู้และฆ่าฟันศัตรธ และชนะสงครามแลหากว่าเราทำผลนั้นได้สำเร็จได้ด้วยกัน เราก็จะขับไลศัตรูขึ้นเหนือพ้นไปจากแอฟริกา
- ยิ่งชนะสงครามครั้งนี้ เร็วเท่าไร เราก็ยิ่งจะได้กลับบ้านพบหน้าครอบครัวเร็วเท่านั้น
- ดังนั้นทหารทุกคนและนายทหารทุกท่าน จงเข้าสู่สงครามนี้ด้วยใจฮึกเหิมและทำหน้าที่ของทุกคนให้สมบูรณ์ตราบใดที่เขาเหล่านั้นมีลมหายใจอยู่ในกายและข้าพเจ้าจะไม่ให้ใครหน้าไหนยอมแพ้ตราบใดที่เข้าเหล่านั้นไม่บาดเจ็บปลุอยู่ในสภาพต่อสู้ได้ขอพวกเราจงอธิษฐานให้พระเจ้าผู้ทรงฤทธิ์ในสงคราม ขอโปรดจงมอบชัยชนะแก่พวกเราด้วยเทอญ
เบอร์นาร์ด ลอว์ มอนต์โกเมอรี่ Bernard Law Montgomery เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 1887 เกิดในครอบครัวทหาร แต่ในวัยเด็ก มอนโกโมลี่ไม่ชอบการเป็นทหาร ในวัยหนุ่มมอนต์โกเมอรี่เป็นนักเลงอังกฤษขนานแท้ แปลกที่ไม่กินเหล้าและไม่สูบบุหรี่ ก่อเรื่องวิวาทเพื่อนร่วมสถาบันโรงเรียนนายร้อย ผลคือมอนต์โกเมอรี่โดยไล่ออก แต่กลับมารรับราชการทหารในตำแหน่งนายร้อย เมื่อได้รับคำสังให้ประจำการที่อินเดีย ก็ออกลายวิวาททำลายข้าวของในคลับแห่งหนึ่งในอินเดีย
แต่ด้วยความดีเดือดในสงครามโลกครั้งที่ 1 มอนโกเมอรี่สู้กับศัตรูแบบไม่กลัวตาย พาลูกน้องไปตายมากมายและตนเองขึ้นบัญชีเป็นบุคคลหายสาบสูญ 7 วัน กว่าจะพาสังขารกลับฐานบัญชาการอังกฤษได้ เขาได้รับเหรียญกล้าหาญจากสมรภูมิ Ypres ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายพันหลังจบสงคราม ชื่อของมอนต์โกเมอรี่จึงเป็นที่รู้จักกันทั้งกองทัพ
วันศุกร์ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
วันพฤหัสบดีที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:SS
ทัพแดงไม่สามารถต้านทานการบุกแบบสายฟ้าแลบหรือ บลิทคลิซ ของเยรมันได้จึงถอนร่านจาแนวชายแดน นายพลไฮนส์ กัสเดอร์เลี่ยนนำรถถังยุกถึงสโมเลนส์ ซึ่งห่างมอสโกเพียง 22ถไม่ล์ภายในสี่สัปดาห์ ขณะเดียวกันทัพเหนือก็บุกฝ่าบอลติกไปยังเลนินกราด กลังทัพรุสเวียหลายแสนคนยอมจำนน ประชาชนในโปแลนด์ตะวันออก บอลติกและฮุเครนให้การต้อนรับเยอรมัน
ฮิตเลอร์สั่งให้ยึดคีเยฟก่อนในขณะที่ กัตเดอร์เรียนต้องกการยึดมอสโกโดยเร็ว เยอรมันได้เชลยศึกราว 600,000 คนที่อูเครนส่วนใหญและล้อมเลนินกราดไว้ได้ แต่กว่าจะถึงชานเมืองมอสโกก็เสียเวลาไปมากและเข้าเดือนธันวาคมต้นฤดุหนาว เยอรมนีเสียกำลังและขาดแคลนเสื้อผ้าและยานพาหนะที่เหมาะสม รุสเซียจึงสามารถทำการรุกเยอรมันคืนได้เป็นครั้งแรกในยุทธการมอสโก รุสเซียยึดเส้นทางสู่เลนินกราดและยึดรอสตอฟได้ ฮิตเลอร์จึงไม่สามารถเอาชนะรุสเวียได้อย่างที่ต้องการ
เยอรมันยึดครองดินแดนโซเวียดได้ราว 400,000ตารางไมล์และประชาชนราว 65 ล้านคน อยอรมันมีโครงการที่จะใช้แผ่นดินรุสเซียเป็นแหลงผลิดอาการและแรงงานบังคับ ในเรื่อนี้เจ้าหน้าที่เยอรมันในแดนยึดครองมีความเห็นขัดแย้งกัน ผู้นำทหารและเจ้าหน้าที่ต่างประเทศเห็นว่าควรเอาชนะใจชาวรุสเซีย โดยที่พรรคนาซีและหน่วยตำรวจลับเกสตาโปกลับปฏิบัติต่อชาวรุสเซียเหมือนไม่ใช่มนุษย์
ชาวรัฐเสียพร้อมจะให้ความร่วมือกับเยอรมันอยู่แล้ว เนื่องจากความต้องการเสรีภาพในการนับถือศาสนา ปกครองตนเองและเลิกระบบรวม บริวารของนาพล เกอริง หัวหน้าหน่วยเกสตาโปถืออำนาจปฏิบัติฉกฉวยเอารัดเอาเปรียบในดินแดนที่ยึดมาได้อย่างโหดเหี้ยม นโยบายตะวันออก ที่จะสร้างอาณานิคมเยอรมันโดยใช้ทรัพยากรโซเวียตจึงไม่ได้ผล กองกำลังกว่าดล้าง ขจัดพวกที่ต้องสงสัยว่าเป็นคอมมิวนิสต์ ยิวและพวกก่อการใต้ดินอย่างทารุณ คนบริสทุธิ์รวมทั้งผุ้หญิงและเด็กหลายพันคนต้องตกเป็นเหยื่อ ผู้นำโซเวียตจึงกลับมาได้รับการสนับสนุนอย่างมากมาย
สตาลินผู้ซึ่งเก็บตัวเงียบอยู่นานประกาศทางวิทยุให้ชาวโซเวียตร่วมใจกันต่อต้านพวกบุกรุกที่พยายามกดขี่ชาวโซเวียตให้เป็น “ทาสรับใช้เจ้านาย และบารอนเยอรมันและจฟื้นฟูระบอบซาร์และขุนนางที่ดินขึ้นอีก”
SS ไฮน์ริช ฮิม์เลอร์ SS= Schutztaffel หมายถึง “กองอารักขา” หรือเหล่าคุ้มกัน เป็นองค์การกึ่งทหาร ภายใต้อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และพรรคนาซี ก่อตั้งขึ้นบนอุดมการณ์นาซี เอสเอสภายใต้บังคับบัญชาของ ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์มีส่วนรับผิดชอบต่ออาชญากรรมต่อมนุษยชาติหลายครั้งระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง “ไฮน์ริช ฮิมเลอร์ เป็นผู้บัชาการหน่วยเอส เอส ผู้บัญชาการทหารและสมาชิกระดับสูงของพรรคนาซี ในตำแหน่งหัวหน้าตำรวจเยอรมันและรัฐมนตรีมหาดไทย ซึ่งควบคุมตำรวจและกองกำลังความมั่นคงทั้งหมด รวมทั้งเกสตาโปด้วย เป็นผู้มีอำนาจเต็มทั่วไปสำหรับฝ่ายปกครองของไรซ์ทั้งหมด ฮิมม์เลอร์เป็นหนึ่งในผุทนงอำนาจที่สุดของฮอโลคอสต์ ในฐานะผุ้ควบคุมดูแลค่ายกักกัน ค่ายมรณะ และ”กำลังรบเฉพาะกิจ”ซึ่งมักใช้เป็นหน่วยพิฆาตซึ่งปฏิบัติหน้าที่หลังแนวหน้าเพื่อฆาตกรรมชาวยิว พวกคอมมิวนิสต์ และ “พวกต่ำกว่ามนุษย์”ในดินแดนยึดครอง
เอสเอสก่อตั้งในปี 1925 ภายใต้ชื่อ “ซาล-ชุทซ์” (อารักษ์หอประชุม)ตั้งใจให้เกิดความปลอดภัยแก่การประชุมของพรรคนาซี และเป็นหน่วยคุ้มกันส่วนบุคคลของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เนื่องจากช่วงแรกของการก้าวขึ้นสู่อำนาจทางการเมืองของฮิตเลอร์นั้นบังไม่ได้รับการสนับสนุนจากองทัพเยอรมันอย่างเต็มที่ ซึ่งฮิตเลอร์ก็ไม่ไว้ใจกองทัพเท่าไรนัก เอสเอสจึงเกิดจากฮิตเลอร์และไฮนริช ฮิมม์เลอร์ซึ่งร่วมมือกันกำจัดแอร์นสท์ เริมและหน่วยอารักขาเดิมที่เป็นทหารผ่านศึกและอดีตหน่วยเสรีเยอรมันหรือ เอสเอ จนหมดและเปลี่ยนเป็น “ชุทซ์ชทัฟเฟิล”เติบโตขึ้นจากรูปแบบหน่วยกึ่งทหารขนาดเล็กซึ่งเป็นหนึ่งในองค์การที่ใหญ่และทรงอำนาจที่สุดในนาซีเยอรมัน
การคัดเลือกทหารที่จะเข้าหน่วยเอสเอสจะต้องเป็นชายเลือดเยอรมันพันธ์แท้แบบพวกอารยัน สูงอย่างน้อย 180 เซนติเมตร กำลังพลของเอสเอสจะได้รับการอบรม ปลูกฝังให้จงรักภักดีต่อผู้นำของเขาอย่างเหนี่ยวแน่น และปราศจากการตั้งคำถามสงสัยใดๆ ทั้งสิ้น ได้รับการฝึกฝนอย่างหนัก และถูกปลูกฝังอุมการณ์ของนาซี ถูกปลูกฝังแนวความคิดเรื่องความเป็นเลิศของชนชาติอารยันเพื่อการสร้างชาติไปสู่ไร่ซ์ที่สาม รวมทั้งมีการเกณฑ์เด็กชายและหญิงชาวเยอรมันทังหมดให้เข้าหน่วยยุวชนฮิตเลอร์เพื่อเป็นหลักสูตรวิชาทหาร ให้เข้ารับการเป็นทหารและหน่วยเอสเอส
วิธีการต่อสู้ รุสเซียใช้ยุทธวิธีแบบเก่าตอบโต้เยอรมนี (ลักษณะคล้ายกับ การรบแบบมองโกล)คือล่าทัพ หลีกหนีออกจากวงล้อมให้ศัตรูรุกตามจนหลุดเข้ามาในเขตรุสเซียขาดการติดต่อกับพวกและกองกำลังซุ่มอยู่จะเข้าโจมตีแบบกองโจร จากนั้นก็รวมกำลงตีโต้ให้แตกพ่าย และใช้นโยบายทำลายสิ่งที่เอื้ออำนายแก่ข้าศึกในขณะเดียวกัน
ด้วยความคุ้นเคยกับภูมิประเทศ ภูมิอากาศ “แม่รุสเซียเป็นมิตรที่ชื่อสัตย์ที่สุด”สร้างความลำบากแก่กองทัพเยอรมัน การต่อสู้แบบกองโจรเป็นวิธีที่สตาลินเลือกใช้ตามแนวที่ทัพเยอรมันตั้งมั่นอยู่และโฆษณาปลุกความรู้สึกชาตินิยม
ตั้งแต่ปี 1941 ประเทศพันธมิตรได้ตกลงร่วมมือกันต่อสู้นาซีเยอรมันและภาคี และช่วยเหลือสหภาพโซเวียตทางด้านการทหาร แม้ว่าวินสตันเชอร์ชิลนายกรัฐมนตรีอังกฤษจะปฏิเสธที่จะคืนคำที่เคยกล่าวโจมตีบอลเชวิคก็ตาม
ฮิตเลอร์สั่งให้ยึดคีเยฟก่อนในขณะที่ กัตเดอร์เรียนต้องกการยึดมอสโกโดยเร็ว เยอรมันได้เชลยศึกราว 600,000 คนที่อูเครนส่วนใหญและล้อมเลนินกราดไว้ได้ แต่กว่าจะถึงชานเมืองมอสโกก็เสียเวลาไปมากและเข้าเดือนธันวาคมต้นฤดุหนาว เยอรมนีเสียกำลังและขาดแคลนเสื้อผ้าและยานพาหนะที่เหมาะสม รุสเซียจึงสามารถทำการรุกเยอรมันคืนได้เป็นครั้งแรกในยุทธการมอสโก รุสเซียยึดเส้นทางสู่เลนินกราดและยึดรอสตอฟได้ ฮิตเลอร์จึงไม่สามารถเอาชนะรุสเวียได้อย่างที่ต้องการ
เยอรมันยึดครองดินแดนโซเวียดได้ราว 400,000ตารางไมล์และประชาชนราว 65 ล้านคน อยอรมันมีโครงการที่จะใช้แผ่นดินรุสเซียเป็นแหลงผลิดอาการและแรงงานบังคับ ในเรื่อนี้เจ้าหน้าที่เยอรมันในแดนยึดครองมีความเห็นขัดแย้งกัน ผู้นำทหารและเจ้าหน้าที่ต่างประเทศเห็นว่าควรเอาชนะใจชาวรุสเซีย โดยที่พรรคนาซีและหน่วยตำรวจลับเกสตาโปกลับปฏิบัติต่อชาวรุสเซียเหมือนไม่ใช่มนุษย์
ชาวรัฐเสียพร้อมจะให้ความร่วมือกับเยอรมันอยู่แล้ว เนื่องจากความต้องการเสรีภาพในการนับถือศาสนา ปกครองตนเองและเลิกระบบรวม บริวารของนาพล เกอริง หัวหน้าหน่วยเกสตาโปถืออำนาจปฏิบัติฉกฉวยเอารัดเอาเปรียบในดินแดนที่ยึดมาได้อย่างโหดเหี้ยม นโยบายตะวันออก ที่จะสร้างอาณานิคมเยอรมันโดยใช้ทรัพยากรโซเวียตจึงไม่ได้ผล กองกำลังกว่าดล้าง ขจัดพวกที่ต้องสงสัยว่าเป็นคอมมิวนิสต์ ยิวและพวกก่อการใต้ดินอย่างทารุณ คนบริสทุธิ์รวมทั้งผุ้หญิงและเด็กหลายพันคนต้องตกเป็นเหยื่อ ผู้นำโซเวียตจึงกลับมาได้รับการสนับสนุนอย่างมากมาย
สตาลินผู้ซึ่งเก็บตัวเงียบอยู่นานประกาศทางวิทยุให้ชาวโซเวียตร่วมใจกันต่อต้านพวกบุกรุกที่พยายามกดขี่ชาวโซเวียตให้เป็น “ทาสรับใช้เจ้านาย และบารอนเยอรมันและจฟื้นฟูระบอบซาร์และขุนนางที่ดินขึ้นอีก”
SS ไฮน์ริช ฮิม์เลอร์ SS= Schutztaffel หมายถึง “กองอารักขา” หรือเหล่าคุ้มกัน เป็นองค์การกึ่งทหาร ภายใต้อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และพรรคนาซี ก่อตั้งขึ้นบนอุดมการณ์นาซี เอสเอสภายใต้บังคับบัญชาของ ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์มีส่วนรับผิดชอบต่ออาชญากรรมต่อมนุษยชาติหลายครั้งระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง “ไฮน์ริช ฮิมเลอร์ เป็นผู้บัชาการหน่วยเอส เอส ผู้บัญชาการทหารและสมาชิกระดับสูงของพรรคนาซี ในตำแหน่งหัวหน้าตำรวจเยอรมันและรัฐมนตรีมหาดไทย ซึ่งควบคุมตำรวจและกองกำลังความมั่นคงทั้งหมด รวมทั้งเกสตาโปด้วย เป็นผู้มีอำนาจเต็มทั่วไปสำหรับฝ่ายปกครองของไรซ์ทั้งหมด ฮิมม์เลอร์เป็นหนึ่งในผุทนงอำนาจที่สุดของฮอโลคอสต์ ในฐานะผุ้ควบคุมดูแลค่ายกักกัน ค่ายมรณะ และ”กำลังรบเฉพาะกิจ”ซึ่งมักใช้เป็นหน่วยพิฆาตซึ่งปฏิบัติหน้าที่หลังแนวหน้าเพื่อฆาตกรรมชาวยิว พวกคอมมิวนิสต์ และ “พวกต่ำกว่ามนุษย์”ในดินแดนยึดครอง
เอสเอสก่อตั้งในปี 1925 ภายใต้ชื่อ “ซาล-ชุทซ์” (อารักษ์หอประชุม)ตั้งใจให้เกิดความปลอดภัยแก่การประชุมของพรรคนาซี และเป็นหน่วยคุ้มกันส่วนบุคคลของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เนื่องจากช่วงแรกของการก้าวขึ้นสู่อำนาจทางการเมืองของฮิตเลอร์นั้นบังไม่ได้รับการสนับสนุนจากองทัพเยอรมันอย่างเต็มที่ ซึ่งฮิตเลอร์ก็ไม่ไว้ใจกองทัพเท่าไรนัก เอสเอสจึงเกิดจากฮิตเลอร์และไฮนริช ฮิมม์เลอร์ซึ่งร่วมมือกันกำจัดแอร์นสท์ เริมและหน่วยอารักขาเดิมที่เป็นทหารผ่านศึกและอดีตหน่วยเสรีเยอรมันหรือ เอสเอ จนหมดและเปลี่ยนเป็น “ชุทซ์ชทัฟเฟิล”เติบโตขึ้นจากรูปแบบหน่วยกึ่งทหารขนาดเล็กซึ่งเป็นหนึ่งในองค์การที่ใหญ่และทรงอำนาจที่สุดในนาซีเยอรมัน
การคัดเลือกทหารที่จะเข้าหน่วยเอสเอสจะต้องเป็นชายเลือดเยอรมันพันธ์แท้แบบพวกอารยัน สูงอย่างน้อย 180 เซนติเมตร กำลังพลของเอสเอสจะได้รับการอบรม ปลูกฝังให้จงรักภักดีต่อผู้นำของเขาอย่างเหนี่ยวแน่น และปราศจากการตั้งคำถามสงสัยใดๆ ทั้งสิ้น ได้รับการฝึกฝนอย่างหนัก และถูกปลูกฝังอุมการณ์ของนาซี ถูกปลูกฝังแนวความคิดเรื่องความเป็นเลิศของชนชาติอารยันเพื่อการสร้างชาติไปสู่ไร่ซ์ที่สาม รวมทั้งมีการเกณฑ์เด็กชายและหญิงชาวเยอรมันทังหมดให้เข้าหน่วยยุวชนฮิตเลอร์เพื่อเป็นหลักสูตรวิชาทหาร ให้เข้ารับการเป็นทหารและหน่วยเอสเอส
วิธีการต่อสู้ รุสเซียใช้ยุทธวิธีแบบเก่าตอบโต้เยอรมนี (ลักษณะคล้ายกับ การรบแบบมองโกล)คือล่าทัพ หลีกหนีออกจากวงล้อมให้ศัตรูรุกตามจนหลุดเข้ามาในเขตรุสเซียขาดการติดต่อกับพวกและกองกำลังซุ่มอยู่จะเข้าโจมตีแบบกองโจร จากนั้นก็รวมกำลงตีโต้ให้แตกพ่าย และใช้นโยบายทำลายสิ่งที่เอื้ออำนายแก่ข้าศึกในขณะเดียวกัน
ด้วยความคุ้นเคยกับภูมิประเทศ ภูมิอากาศ “แม่รุสเซียเป็นมิตรที่ชื่อสัตย์ที่สุด”สร้างความลำบากแก่กองทัพเยอรมัน การต่อสู้แบบกองโจรเป็นวิธีที่สตาลินเลือกใช้ตามแนวที่ทัพเยอรมันตั้งมั่นอยู่และโฆษณาปลุกความรู้สึกชาตินิยม
ตั้งแต่ปี 1941 ประเทศพันธมิตรได้ตกลงร่วมมือกันต่อสู้นาซีเยอรมันและภาคี และช่วยเหลือสหภาพโซเวียตทางด้านการทหาร แม้ว่าวินสตันเชอร์ชิลนายกรัฐมนตรีอังกฤษจะปฏิเสธที่จะคืนคำที่เคยกล่าวโจมตีบอลเชวิคก็ตาม
วันพุธที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:IJN
กองทัพเรือจักวรรกิญี่ปุ่น “จักรวรริดนาวีญี่ปุ่นเป็นกองทัพเรือแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่นตั้งแต่ปี 1869-1947 โดยถูกยุบตามรัฐธรรมนูญแห่งประเทศญี่ปุ่นที่จะสละการใช้กองกำลังเป็นวิธีการยุติข้อขัดแย้งระหว่างประเทศ
ในปี 1920 กองเรือจัรวรรดิญี่ปุ่นมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสามของโลก ต้นกำเนิดของกองทัพเรือญี่ปุ่นสามารถสืบย้อนไปถึงตอนต้นของการเชื่อความสัมพันธ์ระหว่งปะรเทศในทวีปเอเชีย การปฏิรูปสมัยเมจิและการกลับมาสืบเชื้อสายจักรพรรดิในยุคใหม่และประบไปสู่อุตสาหกรรม กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นจึงเกิดขึ้น
พลเรือเอกฮิโซโรกุ ยามาโมโต้เป็นผู้บัญชาการในการวางแผนในสงครามหลัก เช่น สงครามที่อ่านเพิร์ลฮาร์เบอร์ ยุทธการมิดเวย์ เขาเสียชีวิตระหว่งไปให้กำลังใจทหารที่หมู่เกาะโซโลมอน โดยการลอบสังหารของสหรัฐโดยใช้เครื่องบินขับไล่ดักสังหาร
หลังจากถล่มเพิร์ลฮาเบิร์ลกองเรือญี่ปุ่นทำการพิชิตทั่งแปซิฟิค แต่ปัญหาของญี่ปุ่นคือกาองเรือแปซิฟิคของสหรัฐ โดยกองเรือบรรทุกเครื่องบินยังอยู่ในฐานะที่มีศักยภาพในการต่อต้านและรบกวนทัพเรือญี่ปุ่นได้ ยามาโมโต้ทราบดีว่ากำลังการผลิตของสหรัฐสามารถที่ทดแทนเรือรบและอากาศยานของสหรัฐที่สูญเสียไปในการโจมตีที่อ่าวเพิร์ลฮาเบิร์ล
18 เมษายน 1942 เรือบรรทุกเครื่องบินลำใหม่คือฮอร์เนตที่นำเครืองบิน บี 25 จำนวน15 เครื่องโจมตีโตเกียวแม้ญี่ปุ่นจะไม่เสียหายมากมายนักแต่ภายในระยะเวลา 3 เดือนเศษหลังการโจมตีเพิร์ลฮาเบิร์ลสหรัฐอเมริกาสามารถผลิตเรือบรรทุกเครื่องบินและเรือรบอื่นๆ ขึ้นมาทดแทนการสูญเสียด้แล้วและยงอยู่ในฐานะที่จะทำการรุกรานญี่ปุ่นได้อีกด้วย ซึ่งสร้างความวิตกกังวลให้แก่ยามาโมโต้เป็นอย่างมาก
ด้านกำลังรบญี่ปุ่นมีเรือบรรทุกเครื่องบิน 11 ลำ สหรัฐอเมริกามีเพียง 5 ลำ ซาราโตกา,ยอร์คทาวน์,เล็กซิงตัน,เอนเตอร์ไพร์,และฮอร์เนตตามลำดับ นักบินญี่ปุ่นทั้งกองทัพบกและกองทัพเรือก็มีความชำนาญในการรบมีประสบการณ์สูงจากการรบในจีนและแปซิฟิค เครื่องบินซีโร่ของี่ปุ่นก็พิสูจน์แล้วว่มีสมรรนะสูงกว่าเครื่องยินทุกแบบของสหรัฐ นอกจากนี้สหรัฐอเมริกายังต้องแบ่งกำลังไปช่วยอังกฤษอีกด้วย
แต่ข้อได้เปรียบของสหรัฐอเมริกาคือ สามารถถอดรหัสของญี่ปุ่นสามารถดักจับความแคลื่อนไหวของญี่ปุ่นได้ตลอด อีกด้านหนึ่งคือการสื่อสารของเครื่องบินญี่ปุ่นไม่มีวิทยุติดต่อระหว่างเครื่องบินด้วยกัน มีเพียงวิทยุที่ใชส่งข่าวติดต่อกับฐานบินเท่านั้น ซึ่งความผิดพลาดในจุดนี้ต้องชดใช้ด้วยชีวิตพนายพลยามโมโตซึ่งเสียชีวิตเพราะสหรัฐสามารถถอดรหัสและรู้ความเคลื่อนไหวของยามาโมโต้ และส่งฝูงบินดักซุ่มโจมตี
แผนการของญี่ปุ่นขณะนั้นต้องการยึดชวาเพียงอีกแห่งเดียว แล้วจะยุติการขยายแนวรบ แต่กองเรือในน่านน้ำแปซิฟิกของสหรัฐอเมริกา ทำการ
ตอบโต้ด้วยการเข้ายึดหมู่เกาะมาร์แชล โจมตีเกาะเวก โจมตีเกาะมาร์คัส ทิ้งระเบิดที่เกาะลาบวด หลังจากนั้นตั้งฐานทัพที่ออสเตรเลียแล้วสร้างทางคมนาคมแปซิฟิกใต้
ญึ่ป่นตัดสินใจขยายแนวรุกออกไปอีกเพื่อตัดเส้นทางคมนาคมทางเรือระหว่างสหรัฐกับออสเตรีย ญีปุ่นจึงต้องเข้ายึดปมู่เกาะนิว คาลิโดเนียว หมู่เกาะฟิจิ หมู่เกาะซามัว แล้วยึดนิวกินีตะวันออกเพื่อคุกคามออสเตรเลีย ญี่ปุนต้องสร้างฐานทัพอากาศที่ปอร์ต มอร์สบี เพื่อบรรลุแผนการนี้ญี่ปุ่นจึงส่งกองทหารเข้ายึด แล ซาลาเมาในนิวกินี และบูกาในหมู่เกาะโซโลมอน และหมู่แอดมิรัลติ ทางเหนือของนิวกินี
อเมริกาทราบแผนการของญีปุ่นที่จะเข้ายึดปอร์ตมอร์สบี ทางภาคใต้ของหมู่เกาะโซโลมอนสหรัฐอเมริกาจึงขัดขวาง
ยุทธนาวีที่ทะเลคอรัล Battle of the Coral Sea เสนาธิการญี่ปุ่นเห็นว่าเป็นเพียงการแสดงสลับฉากซึ่งในขณะที่ยุทธนาวีที่ทะเลคอรับกำลังดำเนินอยู่นั้นแผนการโจมตียึดมิดเวย์ก็สำเร็จลงเเล้ว โดยมองข้ามหลักยุทธศาสตร์ที่ว่าการรุกทางบกจะไม่มีทางสำเร็จถ้าปราศจากกองรเอบรรทุกเครื่องบินที่เข้มแข็งในการสนับสนุนการรบที่ทะเลคอรัลฝ่ายสหรัฐอเมริกาสูญเสียเรือบรรทุกเครื่องบิน 1 ลำเสียหายหนัก 1 ลำ ฝ่ายญี่ปุ่นเสียหาย 2 ลำ ในแง่ยุทธศาสตร์สหรัฐสามารถต้านทานญี่ปุ่นไว้ได้แม้จะเสียหายมากกว่า แต่ญี่ปุ่นก็ล้มเลิกการเข้ายึดพอร์ตเมอร์เรสบี้ ซึ่งตรงกันข้ามกับฝ่ายญี่ปุ่นที่ต้องหัวเสียกับเรือบรรทุกเครื่องบินที่ดีที่สุดต้องออกจากการรบกลับไปซ่อมถึง 2 ลำ
การถอดรหัสของอเมริกานั้นเป็นเรื่องน่าทึ่ง กองทัพเรือสหรัฐฯสามารถถอดรหัสลับญี่ปุ่นในยุทธการมิดเวย์ได้หมดสิ้น ฝ่ายข่าวกรองทหารเรือสหรัฐฯให้ความสำคัญกับรหัศ AF มานานแล้ว เมือดักจับสัญญาณวิทยุญี่ปุ่นที่ว่าเครื่องบิน บินผ่านบริเวณ AF ซึ่งจากการตรวจสอบพบว่สบริเวณนั้นคือเกาะมิดเวย์ เพื่อความแน่ใจสหรัฐได้ส่งข่าวลวงไปว่ามิดเวย์เครื่องกรองน้ำเสีย ไม่กี่วันต่อมาสหรัฐฯก็ดักจับสัญญาณวิทยุได้ว่าฝ่ายญี่ปุ่นรายงาการดักฟังต่อหน่วยเหนือว่า AF เครื่องกรองน้ำเสีย สหรัฐอเมริกาจึงแน่ใจว่า AF คือ มิดเวย์ และเป้าหมายของญี่ปุ่นคือการโจมตีมิดเวย์ กองเรื่อบรรทุกเครื่องบินคือ เอนเติร์ไพรส์และฮอร์เนต เคลื่อนพลจากเพิร์ลฮาร์เบอร์เข้าประจำจุดป้องกันมิดเวย์ และต่อมาอีก 3 วันยอร์คทาวน์ก็ซ่อมเสร็จและเดินทางตามมา
ในปี 1920 กองเรือจัรวรรดิญี่ปุ่นมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสามของโลก ต้นกำเนิดของกองทัพเรือญี่ปุ่นสามารถสืบย้อนไปถึงตอนต้นของการเชื่อความสัมพันธ์ระหว่งปะรเทศในทวีปเอเชีย การปฏิรูปสมัยเมจิและการกลับมาสืบเชื้อสายจักรพรรดิในยุคใหม่และประบไปสู่อุตสาหกรรม กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นจึงเกิดขึ้น
พลเรือเอกฮิโซโรกุ ยามาโมโต้เป็นผู้บัญชาการในการวางแผนในสงครามหลัก เช่น สงครามที่อ่านเพิร์ลฮาร์เบอร์ ยุทธการมิดเวย์ เขาเสียชีวิตระหว่งไปให้กำลังใจทหารที่หมู่เกาะโซโลมอน โดยการลอบสังหารของสหรัฐโดยใช้เครื่องบินขับไล่ดักสังหาร
หลังจากถล่มเพิร์ลฮาเบิร์ลกองเรือญี่ปุ่นทำการพิชิตทั่งแปซิฟิค แต่ปัญหาของญี่ปุ่นคือกาองเรือแปซิฟิคของสหรัฐ โดยกองเรือบรรทุกเครื่องบินยังอยู่ในฐานะที่มีศักยภาพในการต่อต้านและรบกวนทัพเรือญี่ปุ่นได้ ยามาโมโต้ทราบดีว่ากำลังการผลิตของสหรัฐสามารถที่ทดแทนเรือรบและอากาศยานของสหรัฐที่สูญเสียไปในการโจมตีที่อ่าวเพิร์ลฮาเบิร์ล
18 เมษายน 1942 เรือบรรทุกเครื่องบินลำใหม่คือฮอร์เนตที่นำเครืองบิน บี 25 จำนวน15 เครื่องโจมตีโตเกียวแม้ญี่ปุ่นจะไม่เสียหายมากมายนักแต่ภายในระยะเวลา 3 เดือนเศษหลังการโจมตีเพิร์ลฮาเบิร์ลสหรัฐอเมริกาสามารถผลิตเรือบรรทุกเครื่องบินและเรือรบอื่นๆ ขึ้นมาทดแทนการสูญเสียด้แล้วและยงอยู่ในฐานะที่จะทำการรุกรานญี่ปุ่นได้อีกด้วย ซึ่งสร้างความวิตกกังวลให้แก่ยามาโมโต้เป็นอย่างมาก
ด้านกำลังรบญี่ปุ่นมีเรือบรรทุกเครื่องบิน 11 ลำ สหรัฐอเมริกามีเพียง 5 ลำ ซาราโตกา,ยอร์คทาวน์,เล็กซิงตัน,เอนเตอร์ไพร์,และฮอร์เนตตามลำดับ นักบินญี่ปุ่นทั้งกองทัพบกและกองทัพเรือก็มีความชำนาญในการรบมีประสบการณ์สูงจากการรบในจีนและแปซิฟิค เครื่องบินซีโร่ของี่ปุ่นก็พิสูจน์แล้วว่มีสมรรนะสูงกว่าเครื่องยินทุกแบบของสหรัฐ นอกจากนี้สหรัฐอเมริกายังต้องแบ่งกำลังไปช่วยอังกฤษอีกด้วย
แต่ข้อได้เปรียบของสหรัฐอเมริกาคือ สามารถถอดรหัสของญี่ปุ่นสามารถดักจับความแคลื่อนไหวของญี่ปุ่นได้ตลอด อีกด้านหนึ่งคือการสื่อสารของเครื่องบินญี่ปุ่นไม่มีวิทยุติดต่อระหว่างเครื่องบินด้วยกัน มีเพียงวิทยุที่ใชส่งข่าวติดต่อกับฐานบินเท่านั้น ซึ่งความผิดพลาดในจุดนี้ต้องชดใช้ด้วยชีวิตพนายพลยามโมโตซึ่งเสียชีวิตเพราะสหรัฐสามารถถอดรหัสและรู้ความเคลื่อนไหวของยามาโมโต้ และส่งฝูงบินดักซุ่มโจมตี
แผนการของญี่ปุ่นขณะนั้นต้องการยึดชวาเพียงอีกแห่งเดียว แล้วจะยุติการขยายแนวรบ แต่กองเรือในน่านน้ำแปซิฟิกของสหรัฐอเมริกา ทำการ
ตอบโต้ด้วยการเข้ายึดหมู่เกาะมาร์แชล โจมตีเกาะเวก โจมตีเกาะมาร์คัส ทิ้งระเบิดที่เกาะลาบวด หลังจากนั้นตั้งฐานทัพที่ออสเตรเลียแล้วสร้างทางคมนาคมแปซิฟิกใต้
ญึ่ป่นตัดสินใจขยายแนวรุกออกไปอีกเพื่อตัดเส้นทางคมนาคมทางเรือระหว่างสหรัฐกับออสเตรีย ญีปุ่นจึงต้องเข้ายึดปมู่เกาะนิว คาลิโดเนียว หมู่เกาะฟิจิ หมู่เกาะซามัว แล้วยึดนิวกินีตะวันออกเพื่อคุกคามออสเตรเลีย ญี่ปุนต้องสร้างฐานทัพอากาศที่ปอร์ต มอร์สบี เพื่อบรรลุแผนการนี้ญี่ปุ่นจึงส่งกองทหารเข้ายึด แล ซาลาเมาในนิวกินี และบูกาในหมู่เกาะโซโลมอน และหมู่แอดมิรัลติ ทางเหนือของนิวกินี
อเมริกาทราบแผนการของญีปุ่นที่จะเข้ายึดปอร์ตมอร์สบี ทางภาคใต้ของหมู่เกาะโซโลมอนสหรัฐอเมริกาจึงขัดขวาง
ยุทธนาวีที่ทะเลคอรัล Battle of the Coral Sea เสนาธิการญี่ปุ่นเห็นว่าเป็นเพียงการแสดงสลับฉากซึ่งในขณะที่ยุทธนาวีที่ทะเลคอรับกำลังดำเนินอยู่นั้นแผนการโจมตียึดมิดเวย์ก็สำเร็จลงเเล้ว โดยมองข้ามหลักยุทธศาสตร์ที่ว่าการรุกทางบกจะไม่มีทางสำเร็จถ้าปราศจากกองรเอบรรทุกเครื่องบินที่เข้มแข็งในการสนับสนุนการรบที่ทะเลคอรัลฝ่ายสหรัฐอเมริกาสูญเสียเรือบรรทุกเครื่องบิน 1 ลำเสียหายหนัก 1 ลำ ฝ่ายญี่ปุ่นเสียหาย 2 ลำ ในแง่ยุทธศาสตร์สหรัฐสามารถต้านทานญี่ปุ่นไว้ได้แม้จะเสียหายมากกว่า แต่ญี่ปุ่นก็ล้มเลิกการเข้ายึดพอร์ตเมอร์เรสบี้ ซึ่งตรงกันข้ามกับฝ่ายญี่ปุ่นที่ต้องหัวเสียกับเรือบรรทุกเครื่องบินที่ดีที่สุดต้องออกจากการรบกลับไปซ่อมถึง 2 ลำ
วันอังคารที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:Manhattan Project
ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 จะเริ่มขึ้นในยุโรป อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำพรรคนาซีขึ้นครองอำนาจในประเทศเยอรมนี ซึ่งมีนโยบายเหยียดเชื้อชาติ “ยิว”จึงมีการขับไล่เหล่าอาจารย์ซึ่งมีเชื้อสายยิวออำจากมหาวิทยาลับกอททิงเจน University of Gottingen ที่ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ชั้นหัวกะทิรวมตัวกัน รวมทั้งนักฟิสิกส์รางวัลโนเบล แม็กซ์ บอร์น Max Born และระดับหัวกะทิอีกหลายคนที่มีเชื้อสายยิว และผู้ที่ต่อต้านฮิตเลอร์เป็นการส่วนตัว รวมถึงผู้ทีนิยมคอมมิวนิสต์ปฏิปักษ์ของพรรคนาซีจึงต้องลี้ภัย ซึ่งส่วนใหญ่ไปยังกรุงโคเปนเฮเกน และต่อมานักวิทยาศาสตร์ชั้นหัวกะทิแทบทุกคนได้เดินไปยังอเมริกาและได้เข้าร่วมโครงการแมนฮัตตันแอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เป็นอีกคนที่มีเชื้อสายยิว ที่ได้เดินทางลีภัยไปยังสหรัฐอเมริกา
จุดเริ่มต้นของโครงการแมนแฮตตันมาจากการทีนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน 2 คน ได้ค้นพบปฏิกิริยาการแบ่งแยกนิวเครียสขึ้นก่อน และจุดต้อมาคือการที่ซีลารดเป็นคนแรกที่มีความคิดว่าการแบ่งแยกนิวเคลีสน่าจะสามารถทำให้เกิดขึ้นได้อย่างต่อเนื่องเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ ซึ่งหากทำได้ก็จะมีพลังงานปลดปล่อยออกมาจากปฏิกิริยามามายมหาศาล ซึ่งอาจนำมาสร้างเป็นระเบิดปรมฯ หรือลูกระเบิดอะตอมได้ ดังนั้นเมื่อซีลาร์ดลี้ภัยมาอยู่ที่สหรัฐอเมริกา เขาจึงเป็นหนึ่งใน 5 ต้นคิดให้สหรัฐอเมริกาเร่งวิจัยการสร้างลูกระเบิดอะตอมให้สำเร็จก่อนเยอรมนีโดยในวันหนึ่งได้เดินทรงไปพบไอน์สไตน์ซึ่งเป็นผู้มีชื่อเสียง และขอให้ช่วยเป็นผู้ลงนามในจดหมายถึงประธานาธิบดีแฟรงคลิน ดี.โรสเวลต์ โดยโน้มน้าวสหรัฐอเมริกเร่งค้นคว้าวิจัยการสร้างลูกระเบิดอะตอม ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้เป็นอย่างเชื้องช้า มีเพียงการติดต่อซื้อยูเรเนียม1,200ตันจากเบลเยียมและถูกส่งมาถึงสหรัฐในปีถัดไป
ในที่สุด ต้นปี 1940 รัฐบาลสหรัฐอเมริกาจึงได้ให้บลประมาณสำหรับการวิจัยด้านอะตอมเป็นครั้งแรกแก่มหาวิทยาลัยโลมเบียเป็นจำนวนเงิน 6,000 ดอลล่าร์ ในปีนี้เช่นกัน คณะกรรมการระดับสูงของนักวิทยาศาสตร์ที่ประทเศอังกฤษก็มีรายงานออกมาว่า มีความเป็นไปได้ที่จะนำการแบ่งแยกนิวเคลียสของยูเรเนียมมาใช้เป็นอาวุธทางทหารได้ ซึ่งทำให้สหรัฐอเมริกาให้เงินสนับสนุนการวิจัยด้านอะตอมแก่มหาวิทยาลัยต่าง ๆ มากขึ้น ในปี 1941 สภาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ ได้เสนอว่าลูกระเบิดจากการแบ่งแยกนิวเคลียสมีความเป็นไปได้ ในที่สุดก็มีการตั้งคณะกรรมการพิเศษ เอศ-1 ขึ้นมาดูแลเรื่องนี้ว่าเป็นไปได้หรือไม่ ถ้าได้ จะกินเวลาเท่าใด และเรื่องเป็นจริงเป็นจังขึ้นมาจากการที่สหรัฐอเมิรกาประกาศเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 เนื่องจากถูกโจมตีที่ อ่าวเพิร์ล ฮาร์เบิรล
นักฟิสิกศ์รางวัลโนเบล อาร์เทอร์ เอช คอมป์ตัน ได้เข้าบหน้าที่ผู้อำนวยการของกลุ่มเอส-1 ซึ่งได้ย้ายมารวมกันที่มหาวิทยาลัยชิคาโกซึ่งที่นี้เองเฟร์กับทังานของเขาได้สร้างเครื่องปกิกรณ์นิวเคลียร์เครื่องแรกของโลกชื่อว่า ชิคาโกไพล์ –1 ได้สำเร็จเป็นเครื่องแรกของโลกในการทำลองในวันที่ 2 ธันวาคม 1942 เป็นการพิสูจน์ให้เห็นว่า ปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียร์เกิดขึ้นได้จริงและยังสามารถควบคุมและรักษาสภาพการเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ไม่ให้เกิดความรุนแรงเกินไปได้อีกด้วย
มิถุนายน 1942 กระทรวงกลาโหมเข้ามาดูแลโครงการโดยกองทัพน้อยทหารช่างเข้ารับช่วงงานทั้งหมดทุกโครงการที่กระจัดกระจายอยู่เข้ามาไว้ด้วยกันภายใต้ชื่อโครงการเป็นรหัสว่า มณฑลทหารช่างแมนแฮตตัน หรือต่อมาเรียกสั้นๆ ว่า โครงการแมนแฮตตัน โดยพันเอก เลสลีย์ อาร์.โกรฟส์ ผู้มีผลงานก่อสร้างอาคารกระทรวงกลาโหมหรือเพนตากอนมาเป็นหัวหน้า
โกรฟส์ตัดสินใจครั้งสำคัญซื้อสถานที่ห่างไกลแทบรกร้าง 52,000เอเคอร์ ที่โอกริดจ์ ในมลรัฐเทนเนสซี่เป็นที่สร้างโรงงานผลิตยูเรเนียม กองทัพบกเรียสถานที่นี้ว่า ไซต์เอกซื Site x และเข้าได้ทำการตัดสินใจครั้งสำคัญอีกครั้งคือการเลือกตัวบุคคลเพื่อทำหน้าที่หัวหน้าและประสานงานกับนักวทยาศสราตรืทั้งหมดในโครงการที่มีชื่อรหัสว่า โครงการวาย Project Y ซึ่งเขาเอกนักทฤษฎีฟิสิกส์ 38 ปี คือ เจ.รอเบิร์ต ออปเพนไฮเมอร์ อาจารย์ มหาวิทยาลัยเบิร์กลีกับสภบันเทคโนโลยีแห่งแคลิฟอร์เนีย
และเมื่อออปเพนไฮเมอร์เข้ารับหน้าที่ เขาเห็น่าผุ้ทีทำงานด้านฟิสิกส์ เคมี โลหกรรม รวมทั้งฝ่ายทหารสรรพาวุธ ควรมารวมอยุ่ในที่เดียวกันหมด ซึ่งโกรฟส์เห็นด้วย เขาได้พาโกรฟส์กับคณะทหารไปดูพื้นที่โรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งใกล้กับลอสอะลาโมส ในมลรัฐนิวเม็กซิโก กองทัพบกซื้อบริเวณนั้นและรอบๆ ในหนึ่งเดือนต่อมา และได้ขื่อว่า ไซต์วาย site Y ซึ่งไม่ปรากฎบนแผนที่แต่มีที่อยู่ สำหรับผู้ที่ติดต่อกับโลกภายนอก รวมทั้งเป็นบ้านเกิดของเด็กทารกอีกหลายๆ คนด้วย
ออปเพนไฮเมอร์เลือกสรรนักวิทยาศาสตร์มาทำงานโดยบอกว่าเป็นภารกิจที่หากสำเร็จจะยุติสงครามได้ดังนั้นจึงเป็นการรวมตัวของนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลกในโครงการนี้ โกรฟส์อนุมัติให้ซื้อพื้นที่ 500,000เอเคอร์ บนฝั่งแม่น้ำโคลัมเบียในมลรัฐวอชิงตันสำหรับผลิตโทเนียม เป็นอันว่าโครงการแมนแฮตตันมีหน่วยงานขนาดใหญ่แยกกันในพื้นที่ 3 แห่ง โกรฟส์ขีดเส้นตายว่าเมือถึงฤดูร้อน ปี 1945 ระเบิดอะตอมจะต้องพร้อมใช้งานคือมีเวลา 26 เดือน
12 เมษายน รองประธานาธิบดี แฮรี เอส. ทรูแมน ถูกตามตัวเขาทำเนียบขาวเพื่อรับทราบการถึงแก่อสัญกรรมของประธานาธิบดี โรสเวลต์ อีก 2 ชั่วโมงต่อมา ทรูแมนสาบานตนเข้ารับตำแหน่างประธานาธิบดี
กรกฎา 1945 โกรฟส์คากว่าจะผลิตระเบิดอะตอมได้ 3 ลูก โกรฟส์และออปเพนไฮเมอร์จึงตัดสินใจใช้ลูกระเบิดพลูโทเนียมสำหรับทดลองว่าลูกระเบิดจะใช้งานได้หรือไม่ โดยตั้งรหัสการทดสอบลูกระเบิดนี้ว่า ทรินิตี้ Trinity
แสงสว่างี่ไม่เคยมีมาในโลก ที่เป็นเหมือนแสงสว่างของดวงอาทิตย์หลายดวงรวมกันพวยพ่งออกมาจากท้องของพระแม่ธรณี เป็นอาทิตย์อุทัยที่โลกไม่เคยเห็นมาก่อน ดังกับว่าดวงอาทิตยฺลูกมหึมาสียเขียวที่ขึ้นพ้นขอบฟ้าและไตสูงขึ้นไปกว่า 8 ฟุดในเวลาเพียงเสี้ยวของวินาที่ ทั้งยังพุ่งสูงขึ้นต่อไปจนแตะเมฆ..
ขณะที่ลุฏไฟมหึมาเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 ไม่ล์กำลังพุ่งขึ้นไปนั้น สีสันของมันเปลี่นยแปลงอยู่ตลอดเวลา จากสีม่วงเข้าไปจนเป็นสีส้ร ..เเรงที่รั้งความเป็นธาตุไว้ได้รับการปลกปล่อยจากพันธนาการที่จองจำไว้มาหลายพันล้านปี.. ประหนึ่งว่าโลกได้เปิดออกและฟ้าได้ผ่าแยกจากกัน
แล้วความงียบอันสวัดวันก็พลันลั่นขึ้นมาด้วยเสียงกัมปนาทดังกว่าฟ้าร้อย..เสมือนเสียงร้องครั้งแรกของโลกใบหนึ่งี่เพิงคลอดใหม่แบบเดียวกับเสียงร้องของเด็กแรกเกิด
จากนั้นขอบสีดำเหนือนชายกระโปรงก็เกิดขึ้นรอบการระเบิดและเมฆรูปดอกเห็ดก็ลอยขึ้นเหนือฟ้าที่กำลังรุ่ง…
จุดเริ่มต้นของโครงการแมนแฮตตันมาจากการทีนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน 2 คน ได้ค้นพบปฏิกิริยาการแบ่งแยกนิวเครียสขึ้นก่อน และจุดต้อมาคือการที่ซีลารดเป็นคนแรกที่มีความคิดว่าการแบ่งแยกนิวเคลีสน่าจะสามารถทำให้เกิดขึ้นได้อย่างต่อเนื่องเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ ซึ่งหากทำได้ก็จะมีพลังงานปลดปล่อยออกมาจากปฏิกิริยามามายมหาศาล ซึ่งอาจนำมาสร้างเป็นระเบิดปรมฯ หรือลูกระเบิดอะตอมได้ ดังนั้นเมื่อซีลาร์ดลี้ภัยมาอยู่ที่สหรัฐอเมริกา เขาจึงเป็นหนึ่งใน 5 ต้นคิดให้สหรัฐอเมริกาเร่งวิจัยการสร้างลูกระเบิดอะตอมให้สำเร็จก่อนเยอรมนีโดยในวันหนึ่งได้เดินทรงไปพบไอน์สไตน์ซึ่งเป็นผู้มีชื่อเสียง และขอให้ช่วยเป็นผู้ลงนามในจดหมายถึงประธานาธิบดีแฟรงคลิน ดี.โรสเวลต์ โดยโน้มน้าวสหรัฐอเมริกเร่งค้นคว้าวิจัยการสร้างลูกระเบิดอะตอม ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้เป็นอย่างเชื้องช้า มีเพียงการติดต่อซื้อยูเรเนียม1,200ตันจากเบลเยียมและถูกส่งมาถึงสหรัฐในปีถัดไป
ในที่สุด ต้นปี 1940 รัฐบาลสหรัฐอเมริกาจึงได้ให้บลประมาณสำหรับการวิจัยด้านอะตอมเป็นครั้งแรกแก่มหาวิทยาลัยโลมเบียเป็นจำนวนเงิน 6,000 ดอลล่าร์ ในปีนี้เช่นกัน คณะกรรมการระดับสูงของนักวิทยาศาสตร์ที่ประทเศอังกฤษก็มีรายงานออกมาว่า มีความเป็นไปได้ที่จะนำการแบ่งแยกนิวเคลียสของยูเรเนียมมาใช้เป็นอาวุธทางทหารได้ ซึ่งทำให้สหรัฐอเมริกาให้เงินสนับสนุนการวิจัยด้านอะตอมแก่มหาวิทยาลัยต่าง ๆ มากขึ้น ในปี 1941 สภาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ ได้เสนอว่าลูกระเบิดจากการแบ่งแยกนิวเคลียสมีความเป็นไปได้ ในที่สุดก็มีการตั้งคณะกรรมการพิเศษ เอศ-1 ขึ้นมาดูแลเรื่องนี้ว่าเป็นไปได้หรือไม่ ถ้าได้ จะกินเวลาเท่าใด และเรื่องเป็นจริงเป็นจังขึ้นมาจากการที่สหรัฐอเมิรกาประกาศเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 เนื่องจากถูกโจมตีที่ อ่าวเพิร์ล ฮาร์เบิรล
นักฟิสิกศ์รางวัลโนเบล อาร์เทอร์ เอช คอมป์ตัน ได้เข้าบหน้าที่ผู้อำนวยการของกลุ่มเอส-1 ซึ่งได้ย้ายมารวมกันที่มหาวิทยาลัยชิคาโกซึ่งที่นี้เองเฟร์กับทังานของเขาได้สร้างเครื่องปกิกรณ์นิวเคลียร์เครื่องแรกของโลกชื่อว่า ชิคาโกไพล์ –1 ได้สำเร็จเป็นเครื่องแรกของโลกในการทำลองในวันที่ 2 ธันวาคม 1942 เป็นการพิสูจน์ให้เห็นว่า ปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียร์เกิดขึ้นได้จริงและยังสามารถควบคุมและรักษาสภาพการเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ไม่ให้เกิดความรุนแรงเกินไปได้อีกด้วย
มิถุนายน 1942 กระทรวงกลาโหมเข้ามาดูแลโครงการโดยกองทัพน้อยทหารช่างเข้ารับช่วงงานทั้งหมดทุกโครงการที่กระจัดกระจายอยู่เข้ามาไว้ด้วยกันภายใต้ชื่อโครงการเป็นรหัสว่า มณฑลทหารช่างแมนแฮตตัน หรือต่อมาเรียกสั้นๆ ว่า โครงการแมนแฮตตัน โดยพันเอก เลสลีย์ อาร์.โกรฟส์ ผู้มีผลงานก่อสร้างอาคารกระทรวงกลาโหมหรือเพนตากอนมาเป็นหัวหน้า
โกรฟส์ตัดสินใจครั้งสำคัญซื้อสถานที่ห่างไกลแทบรกร้าง 52,000เอเคอร์ ที่โอกริดจ์ ในมลรัฐเทนเนสซี่เป็นที่สร้างโรงงานผลิตยูเรเนียม กองทัพบกเรียสถานที่นี้ว่า ไซต์เอกซื Site x และเข้าได้ทำการตัดสินใจครั้งสำคัญอีกครั้งคือการเลือกตัวบุคคลเพื่อทำหน้าที่หัวหน้าและประสานงานกับนักวทยาศสราตรืทั้งหมดในโครงการที่มีชื่อรหัสว่า โครงการวาย Project Y ซึ่งเขาเอกนักทฤษฎีฟิสิกส์ 38 ปี คือ เจ.รอเบิร์ต ออปเพนไฮเมอร์ อาจารย์ มหาวิทยาลัยเบิร์กลีกับสภบันเทคโนโลยีแห่งแคลิฟอร์เนีย
และเมื่อออปเพนไฮเมอร์เข้ารับหน้าที่ เขาเห็น่าผุ้ทีทำงานด้านฟิสิกส์ เคมี โลหกรรม รวมทั้งฝ่ายทหารสรรพาวุธ ควรมารวมอยุ่ในที่เดียวกันหมด ซึ่งโกรฟส์เห็นด้วย เขาได้พาโกรฟส์กับคณะทหารไปดูพื้นที่โรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งใกล้กับลอสอะลาโมส ในมลรัฐนิวเม็กซิโก กองทัพบกซื้อบริเวณนั้นและรอบๆ ในหนึ่งเดือนต่อมา และได้ขื่อว่า ไซต์วาย site Y ซึ่งไม่ปรากฎบนแผนที่แต่มีที่อยู่ สำหรับผู้ที่ติดต่อกับโลกภายนอก รวมทั้งเป็นบ้านเกิดของเด็กทารกอีกหลายๆ คนด้วย
ออปเพนไฮเมอร์เลือกสรรนักวิทยาศาสตร์มาทำงานโดยบอกว่าเป็นภารกิจที่หากสำเร็จจะยุติสงครามได้ดังนั้นจึงเป็นการรวมตัวของนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลกในโครงการนี้ โกรฟส์อนุมัติให้ซื้อพื้นที่ 500,000เอเคอร์ บนฝั่งแม่น้ำโคลัมเบียในมลรัฐวอชิงตันสำหรับผลิตโทเนียม เป็นอันว่าโครงการแมนแฮตตันมีหน่วยงานขนาดใหญ่แยกกันในพื้นที่ 3 แห่ง โกรฟส์ขีดเส้นตายว่าเมือถึงฤดูร้อน ปี 1945 ระเบิดอะตอมจะต้องพร้อมใช้งานคือมีเวลา 26 เดือน
12 เมษายน รองประธานาธิบดี แฮรี เอส. ทรูแมน ถูกตามตัวเขาทำเนียบขาวเพื่อรับทราบการถึงแก่อสัญกรรมของประธานาธิบดี โรสเวลต์ อีก 2 ชั่วโมงต่อมา ทรูแมนสาบานตนเข้ารับตำแหน่างประธานาธิบดี
กรกฎา 1945 โกรฟส์คากว่าจะผลิตระเบิดอะตอมได้ 3 ลูก โกรฟส์และออปเพนไฮเมอร์จึงตัดสินใจใช้ลูกระเบิดพลูโทเนียมสำหรับทดลองว่าลูกระเบิดจะใช้งานได้หรือไม่ โดยตั้งรหัสการทดสอบลูกระเบิดนี้ว่า ทรินิตี้ Trinity
แสงสว่างี่ไม่เคยมีมาในโลก ที่เป็นเหมือนแสงสว่างของดวงอาทิตย์หลายดวงรวมกันพวยพ่งออกมาจากท้องของพระแม่ธรณี เป็นอาทิตย์อุทัยที่โลกไม่เคยเห็นมาก่อน ดังกับว่าดวงอาทิตยฺลูกมหึมาสียเขียวที่ขึ้นพ้นขอบฟ้าและไตสูงขึ้นไปกว่า 8 ฟุดในเวลาเพียงเสี้ยวของวินาที่ ทั้งยังพุ่งสูงขึ้นต่อไปจนแตะเมฆ..
ขณะที่ลุฏไฟมหึมาเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 ไม่ล์กำลังพุ่งขึ้นไปนั้น สีสันของมันเปลี่นยแปลงอยู่ตลอดเวลา จากสีม่วงเข้าไปจนเป็นสีส้ร ..เเรงที่รั้งความเป็นธาตุไว้ได้รับการปลกปล่อยจากพันธนาการที่จองจำไว้มาหลายพันล้านปี.. ประหนึ่งว่าโลกได้เปิดออกและฟ้าได้ผ่าแยกจากกัน
แล้วความงียบอันสวัดวันก็พลันลั่นขึ้นมาด้วยเสียงกัมปนาทดังกว่าฟ้าร้อย..เสมือนเสียงร้องครั้งแรกของโลกใบหนึ่งี่เพิงคลอดใหม่แบบเดียวกับเสียงร้องของเด็กแรกเกิด
จากนั้นขอบสีดำเหนือนชายกระโปรงก็เกิดขึ้นรอบการระเบิดและเมฆรูปดอกเห็ดก็ลอยขึ้นเหนือฟ้าที่กำลังรุ่ง…
วันจันทร์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:1942
มกราคม เริ่มต้นปีด้วยการก่อตั้ง “สหประชาชาติ”โดยมีฝ่านสัมพันธมิตร 26 ประทเศลงนามในการประกาศต่อต้านฝ่ายอักษะ เป็นครั้งแรกที่มีการใช้คำว่า “สหประชาชาติ”แทนความหมายของฝ่ายสัมพันธมิตร
ญี่ปุ่นบุกยึดมะนิลา ยึดกัวลาวัมเปอร์,มาลายาประกาศสงครามกับเนเธอร์แลนด์และโจมตีหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของดัตช์ รุกรานอินโดนีเซีย ยกพลขึ้นบกที่เกาะเซลีเบส ญี่ปุ่นจับตัวทหารชาวอังกฤษจำนวนมากเป็นนักโทษในสิงคโปร์,ทัพญี่ปุ่นรุกรานหมู่เกาะโซโลมอน
ประเทศไทยประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร ทัพอเมริกันขึ้นเกาะมัว ซึ่งเป็นส่วนของแผนป้องกันการรุกคืบของญี่ปุ่นในสงครามมหาสมุทรแปซิฟิก กองกำลังอังกฤษถอนกำลังทั้งหมดไปยังสิงคโปร์ กองทัพอเมริกันกลุ่มแรกไปถึงยุโรป
บาซิลตัดสัมพันธ์กับฝ่ายอักษะ ฮิตเลอร์ปราศัยที่เบอร์ลิน เรื่องยิวกับการทำลายล้างชาวยิว รวมถึงแจ้งว่าความล้เหลวในการบุกโซเวียตเนื่องมาจากสภาพอากาศไม่ดี เยอรมันถอยทัพจากแนวรบด้านตตะวันออกหลายจุด
กุมภาพันธ์
แนวรบด้านตะวันออก:กองทัพเยอรมันในสหภาพโซเวียตถูกขับออกจากเคิร์สค์ ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญในแผนการของเยอรมนี,กองทัพเยอรมันในสหภาพโซเวียตถูกขับออกจาดเคิร์สค์ ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญในแผนการของเยอรมนี
เอเซียบูรพา:นายพลโจเซฟ สติลเวล ได้เป็นหัวหน้าที่ปรึกษาของเจียง ไคเช็ค ผู้บัญชาการสูงสุดของกองทัพสัมพันธมิตรในประเทศจีน กองทัพอากาศญี่ปุ่นมุ่งไปโจมตีเกาะชวา,ทัพอังกฤษเสริมกำลังพลไปยังสิงคโปร์เพื่อเตรียมการต่อสู้ครั้งสุดท้าย,สิงคโปร์ยอมจำนนต่อญี่ปุ่น เป้ฯความสูญเสียครั้งใหญ่ของทัพอังกฤษ ,กองทัพญี่ปุ่นข้ามแม่น้ำสาละวิน,ญี่ปุ่นรุกรานบาหลีและติมอร์,ประธานาธิปดีโรสเวลด์ออกคำสั่งให้นายพลดักลาส แมกอาเธอร์ถอนตัวออกจากฟิลิปปินส์,
สหรัฐอเมริกา:ผู้นำทางการทหารของสหรัฐอเมริกาประชุมอย่างเป็นทากการครั้งแรกเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ของกองทัพสหรัฐอเมริกา,แคนาดาประกาศเกณฑ์ทหาร,การกักตัวพลเมืองชาวอเมริกัน-ญี่ปุ่นเร่มต้นขึ้นในสหรัฐอเมริกาจากความวิตกที่เพิ่มมากขึ้น
มีนาคม
แนวรบด้านตะวันออก:การรุกของกองทัพแดงในคาบสมุทรไครเมียเริ่มต้นขึ้น
เอเซียบูรพา:ญี่ปุ่นตีเมืองย่างกุ้งแตก,นาพลดักลาส แมกอาเธอร์ได้รับคำสังให้ถอนออกจากฟิลิปินส์ เขากล่าวถ้อยคำที่เป็นที่จดจำเอาไว้ว่า “แล้วผมจะกลับมา” i shall return กองทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกบนเกาะมินดาเนา,กองทัพญี่ปุนยกพลขึ้นบกบนหมู่เกาะโซโลมอน,นายพลแมกอาเธอร์เดินทางถึงออสเตรเลีย
ภาพพื้นยุโรป:มีการออกกฏหมายการเกณฑ์ทหารฉบับใหม่ในสหราชอาณาจักร ซึ่งรวมถึงชายหญิงทุกคนจนถึงอายุ 45 ปี , กองทัพอากาศอังกฤษส่งเครื่องบินไปทำลายเป้าหมายหลายแห่งในฝรั่งเศสและเยอรมนี
เมษายน
เอเซียบูรพา:กองทัพผสมอเมริกัน-ฟิลิปินส์ถูกปิดล้อมที่คาบสมุทรบาตาน,กองทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกที่เกาะนิวกินี,กองทัพเรือแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่นโจมตีกรุงโคลัมโบ บนเกาะศรีลังกา,กองทัพญี่ปุ่นยึดครองคาบสมุทรบาตาน เชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตรถูกบังคับใหเดินเท้าไปยังค่ายกักกันทางตอนเหนือ,กองทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกที่เกาะเซบู,
แนวรบต้านตะวันออก:กองทัพเยอรมันเริ่มการบุกในคาบสมุทรไครเมีย
พฤษภาคม
เอเซียบูรพา: แมนดาเลและเมืองท่าอื่นๆ ในพม่าอยูภายใต้การยึดครององญี่ปุ่น,ญี่ปุ่นยึดครองพม่าอย่างสมบูณ์
แนวรบตะวันออก:กองทัพโซเวียตเริ่มต้นการโจมตีครั้งใหญ่ที่เมืองคาร์คอฟ,มีการลงนาในสนธิสัญญาอังกฤษ-โซเวียตโดยทั้งสองฝ่ายตกลงว่าจจะไม่มีการลงนามเป็นพันธฒิตรกับชาติใดๆโดยต้องได้รับการับรองจากอีกฝ่ายหนึ่งก่อน,กองทัพเยอรมันได้รับชัยชนะที่เมืองคาร์คอฟ,
เม็กซิโกประกาศสงครามกับฝ่ายอักษะ,ยุทธนาวีทะเลคอรอลเริ่มต้นขึ้น,กองทัพอังกฤษเริ่มปฏิบัติการไอรอนแคลดโดยเริ่มบุกดามากัสการ์ของวิชีฝรั่งเศสเพื่อป้องกันการโจมตีจากจักรวรรดิญี่ปุ่น
มิถุนายน
เอเซียบูรพา:ยุทธนาวีแห่งมิดเวย์เริ่มต้นขึ้น,
ภาคพื้อนยุโรป:สหรัฐอเมริกาประกาศสงครามกับบัลแกเรีย ฮังการีและโรมาเนีย
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ: กองทัพเยอรมันขับไล่กองทัพสัมพันธมิตรออกจากแนวกาซาลา,กองทัพเยอรมันสามารถยึดเมืองโทรบรุคคืนได้ ,กองทัพอังกฟษล่าถอยไปยังอิยิปต์ด้วยขวัญกำลังใจที่ตกต่ำ,กองทัพอังกฤษล่าถอยไปยังเมืองเอล อาลาเมน ซึ่งอยู่ห่างจากนครอเล็กซานเดรีย 60 ไมล์เพื่อเตรียมตัวต่อสู้ครั้งสุดท้าย,กองทัพเยอรมันเคลื่อนพลถึงเอล อาลาเมน
แนวรบด้านตะวันออก:กองทัพเยอรมันมุ่งหน้าไปยังเมืองรอสตอฟ,ปฏิบัติการสีน้ำเงินเริ่มต้นขึ้น โดยมีเป้าหมายที่จะยึดครองสตาลินกราดและเทือกเขาคอเคซัส
กรกฎาคม
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ:ยุทธการแห่งเอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่งเริ่มต้นขึ้น รอมเมลเริ่มการโจมตีแนวตั้งรับของอังกฤษเป็นครั้งแรก แต่ต้องหยุดชงักเนื่องจากขาดแคลนเครื่องกระสุน
แนวรบด้านตะวันออก:กองทัพเยอรมันสามรถยึดเมืองซาเวสโตปอลได้สำเร็จเป็นการยุติการรบต้านทานของทหารโซเวียตในคาบสมุทรไครเมีย
เอเซียบูรพา:กองทัพญี่ปุ่นยึดเกาะกัวดาคาแนล
สิงหาคม
เอเชียบูรพา:ยุทธนาวีเกาะชาโวเกิดขึ้นใกล้กับเกาะกัวดาคาแนล เรือรบฝ่ายสัมพันธมิตรได้รับความเสียหายจำนวนหนึ่ง มหาตมะ คาธีถูกจับกุมตัว เนืองจากการก่อจลาจลในอินเดีย
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ:พลโท เบอร์นาร์ต มอนโกเมอรี ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการกองทัพที่แปดแห่งสหราชอาณาจักรในแอฟริกาเหนือ ยุทธการแห่งอลาม เอล ฮัลฟา ไม่ไกลจากดอล อาลาเมนเกิดขึ้นเป็นความพยายามที่จะเจาะทะลุแนวป้องกันของอังกฤษ
แนวรบด้านตะวันออก:จอมพล เกออร์กี้ จูคอฟ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการป้องกันในนครสตาลินกราด สตาลันกราดถูกทิ้งระเบิดอย่างหนักจากกองทัพอากาศเยอรมัน
ภาคพื้นยุโรป:ลักเซมเบิร์กถูกผนวกเข้ากับเยอมนีอย่างเป็นทางการ
กันยายน
แนวรบด้านตะวันออก:นครสตาลินกราดถูกปิดล้อมโดยกองทัพเยอรมัน,นายพล วาซิชี ซุยคอฟได้รับแต่งตั้งให้บัญชาการการป้องกันเมือง แดงทัพเยอรมันบางส่วนถูกผลักดันออกไป ทหารโซเวียตส่งกำลังข้ามแม่น้ำโวลก้าในยามค่ำคืน
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ:นายพลรอมเมลถูกส่งกลับเยอรมนีเพื่อรักษาตัว
ตุลาคม
เอเซียบูรพา:ยุธนาวีแห่งแหลมเอสเปอเรนซ์ ทางชายฝั่งด้านตะวันตกเฮียงเหนือของเกาะกัวดาคาแนลกองทัพเรือสหรัฐอเมริกาสามารถขัดขวางการเสริมกำลังทางเรือของญี่ปุ่นได้ ยุทธนาวีแห่งซานตา ครูซเริ่มต้นขึ้น ฝ่ายญี่ปุ่นได้เสริมกำลังของตนไปยังเกาะกัวดาคาแนล
แนวรับด้านตะวันออก:การรุกของกองทัพเยอรมันในสตาลินกราดหยุดชะงัก
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ:ยุทธการแห่งเอล อาลาเมนครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้น ฝ่ายสัมพันธมิตทิ้งระเบิดที่ตั้งของกองทัพเยอรมันอย่างหนัก นายพลรอมเมลถูกส่งตัวกลับไปบัญชาการรบที่เอล อาลาเมน แม้วาจะยังไม่หายจากอาการเจ็บป่วย ยามเกราะฝ่ายสัมพันธมิตรเจาะผ่านแนวตั้งรับของเยอรมนี่ ทุ่งระเบิดไม่ประสบผลในการรุกครั้งนี้
พฤศจิกายน
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ: ฝ่ายสัมพันธมิตรเร่มตีฝ่าออกจากเอล อาลาเมน กองทัพเยอรมันล่าถอยจากเอล อาลาเมนในยามค่ำคืน ปฏิบัติการคบเพลิง ทหารฝ่ายสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่อัลจีเรียและโมร็อกโก พลโทมอนโกเมอรี่เริ่มต้นการบุกที่โซลลุมตามแนวชายแดนลิเบีย-อียิปต์เขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นอัศวินและเลื่อนยศขึ้นเป็นพลเอก กองทัพที่แปดแห่งสหราชอาณากรปลดปล่อยนครโทรบรุค กองทัพอักฤษมุ่งหน้าต่อไปยังตูนิเซีย
เอเชียบูรพา:กองเรือสหรัฐอเมริกาสูญเสียอย่างหนักในยุทธนาวีรอบเกาะกัวดาแนลแต่ก็คงยังควบคุมน่านน้ำได้อยู่
แนวรบด้านตะวันออก:กองทัพโซเวียตภายใต้การบัญชการของจอมพล เกออร์กี จูคอฟ เริ่มต้น ปฏิบัติการยูเรนัสโดยมีเป้าหมายเพื่อโอบล้อมกองทัพเยอรมันในสตาลินกราด กองทัพเยอรมันถูกปิดล้อมที่นครสตาลินกราด ฮิตเลอร์สังนายพลลัสห้ามถอยทหารจานคร
ธันวาคม
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ:การรุกตูนิเซียของพันธมิตรหยุดชะงัก กองทัพเจอร์เกน ฟอนอาร์นิมเข้ารับตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุดในการป้องกันตูนิเซีย สภาพดินฟ้าอากาศเป็นอุปสรรคต่อฝ่ายพันธมิตร ในช่วงปลายเดือนสัมพันธมิตรวางแผนการบุกครั้งใหม่แต่ได้รับคำสั่งให้หยุดยั้งไว้ก่อน
แนวรบตะวันออก:ฝ่ายเยอรมนีเร่งส่งกองทหารไปยังรัสเซียพยายามอย่างยิ่งที่จะช่วยเหลือสตาลินกราดจการถูกล้อม กองทัพที่ 6 ในสตาลินกราดกำลังอดอยากและอ่อนแดเกินก่าจะตีฝ่าออกมาบรรจบกับกำลังที่ส่งมาช่วย ปฏิบัติการพายุฤดูหนาว กองพลแพนเซอร์ถูกย้ายมาสามกองพล ซึ่งเร่งรุดเคลื่อนที่จากโคเทลนีโคโวมุ่งสู่แม่น้ำอัคไซ แต่ถูกหยุดขณะห่างจากจุดหมาย 65 กิโลเมตร เพื่อเบนความสนใจ ฝ่ายโซเวียตตัดสินใจเข้าบทขยี้อิตาลีและขัดขวางความพยายามสับเปลี่ยนกำลังหากทำได้ โซเวีตสามารถทำลายอากาศยานจำนวนมากท่ีส่งกำลังบรรเทาไปยังสตาลินกราด
เอเซียบูรพา:ญี่ปุ่นบุกฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย ฮ่องกงตกเป็นของญี่ปุ่น
ญี่ปุ่นบุกยึดมะนิลา ยึดกัวลาวัมเปอร์,มาลายาประกาศสงครามกับเนเธอร์แลนด์และโจมตีหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของดัตช์ รุกรานอินโดนีเซีย ยกพลขึ้นบกที่เกาะเซลีเบส ญี่ปุ่นจับตัวทหารชาวอังกฤษจำนวนมากเป็นนักโทษในสิงคโปร์,ทัพญี่ปุ่นรุกรานหมู่เกาะโซโลมอน
ประเทศไทยประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร ทัพอเมริกันขึ้นเกาะมัว ซึ่งเป็นส่วนของแผนป้องกันการรุกคืบของญี่ปุ่นในสงครามมหาสมุทรแปซิฟิก กองกำลังอังกฤษถอนกำลังทั้งหมดไปยังสิงคโปร์ กองทัพอเมริกันกลุ่มแรกไปถึงยุโรป
บาซิลตัดสัมพันธ์กับฝ่ายอักษะ ฮิตเลอร์ปราศัยที่เบอร์ลิน เรื่องยิวกับการทำลายล้างชาวยิว รวมถึงแจ้งว่าความล้เหลวในการบุกโซเวียตเนื่องมาจากสภาพอากาศไม่ดี เยอรมันถอยทัพจากแนวรบด้านตตะวันออกหลายจุด
กุมภาพันธ์
แนวรบด้านตะวันออก:กองทัพเยอรมันในสหภาพโซเวียตถูกขับออกจากเคิร์สค์ ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญในแผนการของเยอรมนี,กองทัพเยอรมันในสหภาพโซเวียตถูกขับออกจาดเคิร์สค์ ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญในแผนการของเยอรมนี
เอเซียบูรพา:นายพลโจเซฟ สติลเวล ได้เป็นหัวหน้าที่ปรึกษาของเจียง ไคเช็ค ผู้บัญชาการสูงสุดของกองทัพสัมพันธมิตรในประเทศจีน กองทัพอากาศญี่ปุ่นมุ่งไปโจมตีเกาะชวา,ทัพอังกฤษเสริมกำลังพลไปยังสิงคโปร์เพื่อเตรียมการต่อสู้ครั้งสุดท้าย,สิงคโปร์ยอมจำนนต่อญี่ปุ่น เป้ฯความสูญเสียครั้งใหญ่ของทัพอังกฤษ ,กองทัพญี่ปุ่นข้ามแม่น้ำสาละวิน,ญี่ปุ่นรุกรานบาหลีและติมอร์,ประธานาธิปดีโรสเวลด์ออกคำสั่งให้นายพลดักลาส แมกอาเธอร์ถอนตัวออกจากฟิลิปปินส์,
สหรัฐอเมริกา:ผู้นำทางการทหารของสหรัฐอเมริกาประชุมอย่างเป็นทากการครั้งแรกเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ของกองทัพสหรัฐอเมริกา,แคนาดาประกาศเกณฑ์ทหาร,การกักตัวพลเมืองชาวอเมริกัน-ญี่ปุ่นเร่มต้นขึ้นในสหรัฐอเมริกาจากความวิตกที่เพิ่มมากขึ้น
แนวรบด้านตะวันออก:การรุกของกองทัพแดงในคาบสมุทรไครเมียเริ่มต้นขึ้น
เอเซียบูรพา:ญี่ปุ่นตีเมืองย่างกุ้งแตก,นาพลดักลาส แมกอาเธอร์ได้รับคำสังให้ถอนออกจากฟิลิปินส์ เขากล่าวถ้อยคำที่เป็นที่จดจำเอาไว้ว่า “แล้วผมจะกลับมา” i shall return กองทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกบนเกาะมินดาเนา,กองทัพญี่ปุนยกพลขึ้นบกบนหมู่เกาะโซโลมอน,นายพลแมกอาเธอร์เดินทางถึงออสเตรเลีย
ภาพพื้นยุโรป:มีการออกกฏหมายการเกณฑ์ทหารฉบับใหม่ในสหราชอาณาจักร ซึ่งรวมถึงชายหญิงทุกคนจนถึงอายุ 45 ปี , กองทัพอากาศอังกฤษส่งเครื่องบินไปทำลายเป้าหมายหลายแห่งในฝรั่งเศสและเยอรมนี
เมษายน
เอเซียบูรพา:กองทัพผสมอเมริกัน-ฟิลิปินส์ถูกปิดล้อมที่คาบสมุทรบาตาน,กองทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกที่เกาะนิวกินี,กองทัพเรือแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่นโจมตีกรุงโคลัมโบ บนเกาะศรีลังกา,กองทัพญี่ปุ่นยึดครองคาบสมุทรบาตาน เชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตรถูกบังคับใหเดินเท้าไปยังค่ายกักกันทางตอนเหนือ,กองทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกที่เกาะเซบู,
แนวรบต้านตะวันออก:กองทัพเยอรมันเริ่มการบุกในคาบสมุทรไครเมีย
พฤษภาคม
เอเซียบูรพา: แมนดาเลและเมืองท่าอื่นๆ ในพม่าอยูภายใต้การยึดครององญี่ปุ่น,ญี่ปุ่นยึดครองพม่าอย่างสมบูณ์
แนวรบตะวันออก:กองทัพโซเวียตเริ่มต้นการโจมตีครั้งใหญ่ที่เมืองคาร์คอฟ,มีการลงนาในสนธิสัญญาอังกฤษ-โซเวียตโดยทั้งสองฝ่ายตกลงว่าจจะไม่มีการลงนามเป็นพันธฒิตรกับชาติใดๆโดยต้องได้รับการับรองจากอีกฝ่ายหนึ่งก่อน,กองทัพเยอรมันได้รับชัยชนะที่เมืองคาร์คอฟ,
เม็กซิโกประกาศสงครามกับฝ่ายอักษะ,ยุทธนาวีทะเลคอรอลเริ่มต้นขึ้น,กองทัพอังกฤษเริ่มปฏิบัติการไอรอนแคลดโดยเริ่มบุกดามากัสการ์ของวิชีฝรั่งเศสเพื่อป้องกันการโจมตีจากจักรวรรดิญี่ปุ่น
มิถุนายน
เอเซียบูรพา:ยุทธนาวีแห่งมิดเวย์เริ่มต้นขึ้น,
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ: กองทัพเยอรมันขับไล่กองทัพสัมพันธมิตรออกจากแนวกาซาลา,กองทัพเยอรมันสามารถยึดเมืองโทรบรุคคืนได้ ,กองทัพอังกฟษล่าถอยไปยังอิยิปต์ด้วยขวัญกำลังใจที่ตกต่ำ,กองทัพอังกฤษล่าถอยไปยังเมืองเอล อาลาเมน ซึ่งอยู่ห่างจากนครอเล็กซานเดรีย 60 ไมล์เพื่อเตรียมตัวต่อสู้ครั้งสุดท้าย,กองทัพเยอรมันเคลื่อนพลถึงเอล อาลาเมน
แนวรบด้านตะวันออก:กองทัพเยอรมันมุ่งหน้าไปยังเมืองรอสตอฟ,ปฏิบัติการสีน้ำเงินเริ่มต้นขึ้น โดยมีเป้าหมายที่จะยึดครองสตาลินกราดและเทือกเขาคอเคซัส
กรกฎาคม
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ:ยุทธการแห่งเอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่งเริ่มต้นขึ้น รอมเมลเริ่มการโจมตีแนวตั้งรับของอังกฤษเป็นครั้งแรก แต่ต้องหยุดชงักเนื่องจากขาดแคลนเครื่องกระสุน
แนวรบด้านตะวันออก:กองทัพเยอรมันสามรถยึดเมืองซาเวสโตปอลได้สำเร็จเป็นการยุติการรบต้านทานของทหารโซเวียตในคาบสมุทรไครเมีย
เอเซียบูรพา:กองทัพญี่ปุ่นยึดเกาะกัวดาคาแนล
สิงหาคม
เอเชียบูรพา:ยุทธนาวีเกาะชาโวเกิดขึ้นใกล้กับเกาะกัวดาคาแนล เรือรบฝ่ายสัมพันธมิตรได้รับความเสียหายจำนวนหนึ่ง มหาตมะ คาธีถูกจับกุมตัว เนืองจากการก่อจลาจลในอินเดีย
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ:พลโท เบอร์นาร์ต มอนโกเมอรี ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการกองทัพที่แปดแห่งสหราชอาณาจักรในแอฟริกาเหนือ ยุทธการแห่งอลาม เอล ฮัลฟา ไม่ไกลจากดอล อาลาเมนเกิดขึ้นเป็นความพยายามที่จะเจาะทะลุแนวป้องกันของอังกฤษ
แนวรบด้านตะวันออก:จอมพล เกออร์กี้ จูคอฟ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการป้องกันในนครสตาลินกราด สตาลันกราดถูกทิ้งระเบิดอย่างหนักจากกองทัพอากาศเยอรมัน
ภาคพื้นยุโรป:ลักเซมเบิร์กถูกผนวกเข้ากับเยอมนีอย่างเป็นทางการ
กันยายน
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ:นายพลรอมเมลถูกส่งกลับเยอรมนีเพื่อรักษาตัว
ตุลาคม
เอเซียบูรพา:ยุธนาวีแห่งแหลมเอสเปอเรนซ์ ทางชายฝั่งด้านตะวันตกเฮียงเหนือของเกาะกัวดาคาแนลกองทัพเรือสหรัฐอเมริกาสามารถขัดขวางการเสริมกำลังทางเรือของญี่ปุ่นได้ ยุทธนาวีแห่งซานตา ครูซเริ่มต้นขึ้น ฝ่ายญี่ปุ่นได้เสริมกำลังของตนไปยังเกาะกัวดาคาแนล
แนวรับด้านตะวันออก:การรุกของกองทัพเยอรมันในสตาลินกราดหยุดชะงัก
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ:ยุทธการแห่งเอล อาลาเมนครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้น ฝ่ายสัมพันธมิตทิ้งระเบิดที่ตั้งของกองทัพเยอรมันอย่างหนัก นายพลรอมเมลถูกส่งตัวกลับไปบัญชาการรบที่เอล อาลาเมน แม้วาจะยังไม่หายจากอาการเจ็บป่วย ยามเกราะฝ่ายสัมพันธมิตรเจาะผ่านแนวตั้งรับของเยอรมนี่ ทุ่งระเบิดไม่ประสบผลในการรุกครั้งนี้
พฤศจิกายน
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ: ฝ่ายสัมพันธมิตรเร่มตีฝ่าออกจากเอล อาลาเมน กองทัพเยอรมันล่าถอยจากเอล อาลาเมนในยามค่ำคืน ปฏิบัติการคบเพลิง ทหารฝ่ายสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่อัลจีเรียและโมร็อกโก พลโทมอนโกเมอรี่เริ่มต้นการบุกที่โซลลุมตามแนวชายแดนลิเบีย-อียิปต์เขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นอัศวินและเลื่อนยศขึ้นเป็นพลเอก กองทัพที่แปดแห่งสหราชอาณากรปลดปล่อยนครโทรบรุค กองทัพอักฤษมุ่งหน้าต่อไปยังตูนิเซีย
เอเชียบูรพา:กองเรือสหรัฐอเมริกาสูญเสียอย่างหนักในยุทธนาวีรอบเกาะกัวดาแนลแต่ก็คงยังควบคุมน่านน้ำได้อยู่
แนวรบด้านตะวันออก:กองทัพโซเวียตภายใต้การบัญชการของจอมพล เกออร์กี จูคอฟ เริ่มต้น ปฏิบัติการยูเรนัสโดยมีเป้าหมายเพื่อโอบล้อมกองทัพเยอรมันในสตาลินกราด กองทัพเยอรมันถูกปิดล้อมที่นครสตาลินกราด ฮิตเลอร์สังนายพลลัสห้ามถอยทหารจานคร
ธันวาคม
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ:การรุกตูนิเซียของพันธมิตรหยุดชะงัก กองทัพเจอร์เกน ฟอนอาร์นิมเข้ารับตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุดในการป้องกันตูนิเซีย สภาพดินฟ้าอากาศเป็นอุปสรรคต่อฝ่ายพันธมิตร ในช่วงปลายเดือนสัมพันธมิตรวางแผนการบุกครั้งใหม่แต่ได้รับคำสั่งให้หยุดยั้งไว้ก่อน
แนวรบตะวันออก:ฝ่ายเยอรมนีเร่งส่งกองทหารไปยังรัสเซียพยายามอย่างยิ่งที่จะช่วยเหลือสตาลินกราดจการถูกล้อม กองทัพที่ 6 ในสตาลินกราดกำลังอดอยากและอ่อนแดเกินก่าจะตีฝ่าออกมาบรรจบกับกำลังที่ส่งมาช่วย ปฏิบัติการพายุฤดูหนาว กองพลแพนเซอร์ถูกย้ายมาสามกองพล ซึ่งเร่งรุดเคลื่อนที่จากโคเทลนีโคโวมุ่งสู่แม่น้ำอัคไซ แต่ถูกหยุดขณะห่างจากจุดหมาย 65 กิโลเมตร เพื่อเบนความสนใจ ฝ่ายโซเวียตตัดสินใจเข้าบทขยี้อิตาลีและขัดขวางความพยายามสับเปลี่ยนกำลังหากทำได้ โซเวีตสามารถทำลายอากาศยานจำนวนมากท่ีส่งกำลังบรรเทาไปยังสตาลินกราด
เอเซียบูรพา:ญี่ปุ่นบุกฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย ฮ่องกงตกเป็นของญี่ปุ่น
วันอาทิตย์ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:Arika Korps
สมรภูมิแอฟริกา ในแอฟริกาเหนือ “ลิเบีย” เป็นอาณานิคมของอิตาลีและ “อียิปต์” ซึ่งมีพรมแดนติดกันเป็นอาณานิคมของจัรวรรดิอังกฤษ จึงทำให้กองทัพอิตาลีและอังกฤษเริ่มทำสงครามกันอย่างเต็มรูปแบบ สมรภูมิแอฟริกาเป็นพื้นดินโล่งสุดลูกหูลูกตา ไม่มีที่กำบัง ไม่มีพลซุ่มยิง สู่กันด้วยกองพลยานเกราะและยุทธวิธี เป็นการประจันหน้า โดยมีกลยุทธเป็นปัจจัยสำคัญในการตัดสินแพ้ชนะในกานยุทธแต่ละครั้ง
รอมเมลเป็นหนึ่งในนายพลไม่กี่คนที่ได้รับการยอมรับนับถือทั้งจากทหารเยอรมันและฝ่ายสัมพันธมิตร ชื่อของรอมเมลสามารถทำให้ฝ่ายตรงข้ามถึงขั้นสติแตกเมืองรู้ว่าจะต้องรบกับ ทัพ Arika Kops ที่บัญชาการโดยนายพล รอมเมล เพราะคิดว่าไม่สามารถเอาชนะได้ ขวัญกำลังใจของทหารอังกฤษยิ่งทรุดหนักเมื่อนายพล วิลเลี่ยม ก็อทผู้บังคับบัญชา กำลังหลักของอังกฏษคือ “กองทัพที่ 8” เสียชีวิตจากการที่เครื่องบินโดยสารถูกทัพอากาศเยอรมันยิงตก และเป็นการเปิดโฉมหน้าคู่ปรับคนสำคัญของรอมเมล คือ นายพล “เบอร์นาร์ด มอนโกมอรี่”
สมารภูมิอียิปต์ ฮิตเลอร์แต่งตั้ง รอมเมลขุนพลหนุ่มแห่งเยอรมันเป็นผู้บัชาการกองทัพรถถัง 2 กองพลแล้วสั่งให้ให้มาช่วยการปราชัยของอิตาลีให้เร็วที่สุด รอมเมลประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็ว กองทัพอังกฤษหยุดทัพเนื่องจากรัฐบาลอังกฤษสั่งให้หยุดทัพ รอมเมลจึงตัดสินใจใช้กำลังที่มีอยู่ในขณะนั้นเข้าโจมตี การวิเคราะห์สถานะการณ์ที่แม่นยำแสดงออกให้เป็นในวันที่ 2 เมษา 1941 รอมเมลเริ่มบุกต่อไปทั้งๆ ที่มีคำสั่งให้หยุดเป็นเวลา 2 เดือน โดยบุกทั้งที่มีรถถังเพียง 50 คัน อับทหารอิตาลีซึ่งส่งเข้ามาใหม่ เพียง 2 กองพลเท่านั้น กอังกฤษนอกจากจะต้องถอนตัวออกไปจากเบงกาห์ซีแล้ว ในวันต่อมาต้องถอนตัวเข้าไปในอียิปต์ระหว่างทางที่อังกฤษถอยหนีกองทัพของรอมเมล อังกฤษต้องสูญเสียรถถังไปเป็นจำนวนมากและในวันที่ 7 เมษา กองทัพรถถังจำนวนมากของอังกฤษที่เมชิลีต้องยอมแพ้กองทัพของรอมเมล และในวันที่ 11 เมษา ทุกแห่งในไซเรนา ยกเว้นโทรบรุค ถูกกองทัพของรอมมเลยึดครอง
ทั้งหมด
กองกำลังแพนเซอร์ Panzer ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการ บลิทคลิทซ์ Blktakrieg ซึ่งมีความเร็ว(speed) ยกพลขึ้นบกที่แอฟริการเหนือ รอมเมลใช้หน่วยนานเกราะที่ชื่อในการรบนามว่า กองพลยานเกราะที่ 21 The 21st Panzer Division ซึ่งในขณะนั้นใช้ชื่อหน่วนว่า กองพลเบาที่ 5 ร่วมกับหร่วย Panzer คือกองพลยานเกราะที่ 15 และกองพลเบาที่ 50 โจมต เอลกากลีล่า แม้ว่าทหารเยอรมัน จะติดอยู่ในสนามทุ่นระเบิดของฝ่ายอังกฤษ แต่ด้วยความตกใจ ฝ่ายอังกฤษทำอะไรไม่ถูกกลับเป็นฝ่ายถูกเยอรมันโจมตีและยึดที่หมาย
สมรภูมทะเลทรายด้านตะวันตก 18 พฤศจิกายน 1941 กองกำลังอังกฤษเข้าโจมตีกองทัพรถถังของรอมเมลอย่างรุนแรงใน "ปฏิบัติการศักดิ์สิทธิ์" อังกฤษมีจำนวนรถถังมากว่าถึง 2:1 เคื่องบินสนับสนุน 4:1 แต่รถถังของรอมเมลบางคันติดปืนขนาดใหญ่กว่าและทุกเชียวชาญในการรบ การบุกของอังกฤษจึงไม่เกิดผล อังกฤษานำกำลังรถถังมาเสริมเพื่อให้มีจำนวนมากขึ้น อังกฤษทำการกดดันเยอรมันอย่างหนักตลอดสองสัปดาห์ รอมเมลจำต้องถอนกองทัพออกจากไซเรนนิกาเข้าไปยังอาเกบาเดีย รอมเมลทำการเสริมสร้างกองทัพตนให้เข้มแข็งและพร้อมที่จะผลักดันอังกฤษ โดยที่อังกฤษยังเข้าใจว่ากองทัพเยอรมันยังคงบอบช้ำจากการโจมตีครั้งก่อนรอมเมลชิงจะหวังลงมือโจมตีอังกฤษก่อนกระทั่งกองทัพอังกฤษต้งอถอยหนีไปยังแนวป้องกันกาซาลาทางตะวันตกของป้อมปืนโทรบรุค
กองทัพของทั้งสองฝายต่างเร่งสร้างเสริมกำลัง กองทัพอังกฤษได้รับคำสังให้โจมตีกองทัพรอมเมลและเป็นอีกครั้งที่รอมเมลลงมือตัดหน้าก่อนทัพอังกฤษ การบุกโจมตีครั้งแรกของรอมเมลสามารถทำลายรถถังของอังกฤษตรงจุดอ่อนไ้ด้จำนวนหนึ่ง แต่ไม่สามารถตีฝ่าเข้าไปถึงชายฝั่งทะเลหลังแนวกาลาซา นอกจากนี้ กองทัพที่ 8 ของอังกฤษยังมีรถถังแกรนท์แบบใหม่ผลิตในอเมริกาไว้ใช้ ตอิปืนขนาด 75 มม.ซึ่งสร้างความตระหนกในแก่รอมเมล การปะทะกันเป็นไปอย่างดุเดือด ในเวลาต่อมารอมเมลบำเข้าโจมตีอีกครั้งแต่ไม่สามรถฝ่าเข้าไปถึงชายฝั่งทะเลได้ รอมเมลจึงตัดสินใจเป็นฝ่ายตั้งรับ ซึ่งตรงนี้่ได้ผล การบุกโจมตีของฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นการเข้าโจมตีของรถถังกลุ่มเล็กๆ ซึ่งง่ายต่อการทำลายแนวโจมตี ในขณะที่รอมเมลสร้างความปลอดภัยให้กับส่วนหลังของกองทัพของตนกับเส้นทางลำเลียงปัจจัยโดยการสกัดรถถังอังฏฟษไว้ที่ ไซได มุฟตาห์ และบริอากีบ
ก่อนการรบอังกฤษมีรถถัง 700 คันและรถถังสำรอง 200 คันโดยที่รอมเมลมีรถถัง 545 คัน มิถนายนจำนวนรถถังอังกฤษเหลือเพียง 170 คันหลังจากการใช้ยุทธวิธีของรอมเมลในการตั้งรับที่แนวคอลดรอน และรถถังสำรอง 200 คันถูกกองทัพรอมเมลถล่มจนพินาศ 13 มิถุนายน 1942 อังกฤษเหลือรถถังเพียง 70 คันในขณะที่รอมเมลพร้อมรถถังที่เหลืออีก 150 คันกลายเป็นเจ้าสมรภูมิในที่สุด
รอมเมลเป็นหนึ่งในนายพลไม่กี่คนที่ได้รับการยอมรับนับถือทั้งจากทหารเยอรมันและฝ่ายสัมพันธมิตร ชื่อของรอมเมลสามารถทำให้ฝ่ายตรงข้ามถึงขั้นสติแตกเมืองรู้ว่าจะต้องรบกับ ทัพ Arika Kops ที่บัญชาการโดยนายพล รอมเมล เพราะคิดว่าไม่สามารถเอาชนะได้ ขวัญกำลังใจของทหารอังกฤษยิ่งทรุดหนักเมื่อนายพล วิลเลี่ยม ก็อทผู้บังคับบัญชา กำลังหลักของอังกฏษคือ “กองทัพที่ 8” เสียชีวิตจากการที่เครื่องบินโดยสารถูกทัพอากาศเยอรมันยิงตก และเป็นการเปิดโฉมหน้าคู่ปรับคนสำคัญของรอมเมล คือ นายพล “เบอร์นาร์ด มอนโกมอรี่”
สมารภูมิอียิปต์ ฮิตเลอร์แต่งตั้ง รอมเมลขุนพลหนุ่มแห่งเยอรมันเป็นผู้บัชาการกองทัพรถถัง 2 กองพลแล้วสั่งให้ให้มาช่วยการปราชัยของอิตาลีให้เร็วที่สุด รอมเมลประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็ว กองทัพอังกฤษหยุดทัพเนื่องจากรัฐบาลอังกฤษสั่งให้หยุดทัพ รอมเมลจึงตัดสินใจใช้กำลังที่มีอยู่ในขณะนั้นเข้าโจมตี การวิเคราะห์สถานะการณ์ที่แม่นยำแสดงออกให้เป็นในวันที่ 2 เมษา 1941 รอมเมลเริ่มบุกต่อไปทั้งๆ ที่มีคำสั่งให้หยุดเป็นเวลา 2 เดือน โดยบุกทั้งที่มีรถถังเพียง 50 คัน อับทหารอิตาลีซึ่งส่งเข้ามาใหม่ เพียง 2 กองพลเท่านั้น กอังกฤษนอกจากจะต้องถอนตัวออกไปจากเบงกาห์ซีแล้ว ในวันต่อมาต้องถอนตัวเข้าไปในอียิปต์ระหว่างทางที่อังกฤษถอยหนีกองทัพของรอมเมล อังกฤษต้องสูญเสียรถถังไปเป็นจำนวนมากและในวันที่ 7 เมษา กองทัพรถถังจำนวนมากของอังกฤษที่เมชิลีต้องยอมแพ้กองทัพของรอมเมล และในวันที่ 11 เมษา ทุกแห่งในไซเรนา ยกเว้นโทรบรุค ถูกกองทัพของรอมมเลยึดครอง
ทั้งหมด
กองกำลังแพนเซอร์ Panzer ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการ บลิทคลิทซ์ Blktakrieg ซึ่งมีความเร็ว(speed) ยกพลขึ้นบกที่แอฟริการเหนือ รอมเมลใช้หน่วยนานเกราะที่ชื่อในการรบนามว่า กองพลยานเกราะที่ 21 The 21st Panzer Division ซึ่งในขณะนั้นใช้ชื่อหน่วนว่า กองพลเบาที่ 5 ร่วมกับหร่วย Panzer คือกองพลยานเกราะที่ 15 และกองพลเบาที่ 50 โจมต เอลกากลีล่า แม้ว่าทหารเยอรมัน จะติดอยู่ในสนามทุ่นระเบิดของฝ่ายอังกฤษ แต่ด้วยความตกใจ ฝ่ายอังกฤษทำอะไรไม่ถูกกลับเป็นฝ่ายถูกเยอรมันโจมตีและยึดที่หมาย
สมรภูมทะเลทรายด้านตะวันตก 18 พฤศจิกายน 1941 กองกำลังอังกฤษเข้าโจมตีกองทัพรถถังของรอมเมลอย่างรุนแรงใน "ปฏิบัติการศักดิ์สิทธิ์" อังกฤษมีจำนวนรถถังมากว่าถึง 2:1 เคื่องบินสนับสนุน 4:1 แต่รถถังของรอมเมลบางคันติดปืนขนาดใหญ่กว่าและทุกเชียวชาญในการรบ การบุกของอังกฤษจึงไม่เกิดผล อังกฤษานำกำลังรถถังมาเสริมเพื่อให้มีจำนวนมากขึ้น อังกฤษทำการกดดันเยอรมันอย่างหนักตลอดสองสัปดาห์ รอมเมลจำต้องถอนกองทัพออกจากไซเรนนิกาเข้าไปยังอาเกบาเดีย รอมเมลทำการเสริมสร้างกองทัพตนให้เข้มแข็งและพร้อมที่จะผลักดันอังกฤษ โดยที่อังกฤษยังเข้าใจว่ากองทัพเยอรมันยังคงบอบช้ำจากการโจมตีครั้งก่อนรอมเมลชิงจะหวังลงมือโจมตีอังกฤษก่อนกระทั่งกองทัพอังกฤษต้งอถอยหนีไปยังแนวป้องกันกาซาลาทางตะวันตกของป้อมปืนโทรบรุค
กองทัพของทั้งสองฝายต่างเร่งสร้างเสริมกำลัง กองทัพอังกฤษได้รับคำสังให้โจมตีกองทัพรอมเมลและเป็นอีกครั้งที่รอมเมลลงมือตัดหน้าก่อนทัพอังกฤษ การบุกโจมตีครั้งแรกของรอมเมลสามารถทำลายรถถังของอังกฤษตรงจุดอ่อนไ้ด้จำนวนหนึ่ง แต่ไม่สามารถตีฝ่าเข้าไปถึงชายฝั่งทะเลหลังแนวกาลาซา นอกจากนี้ กองทัพที่ 8 ของอังกฤษยังมีรถถังแกรนท์แบบใหม่ผลิตในอเมริกาไว้ใช้ ตอิปืนขนาด 75 มม.ซึ่งสร้างความตระหนกในแก่รอมเมล การปะทะกันเป็นไปอย่างดุเดือด ในเวลาต่อมารอมเมลบำเข้าโจมตีอีกครั้งแต่ไม่สามรถฝ่าเข้าไปถึงชายฝั่งทะเลได้ รอมเมลจึงตัดสินใจเป็นฝ่ายตั้งรับ ซึ่งตรงนี้่ได้ผล การบุกโจมตีของฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นการเข้าโจมตีของรถถังกลุ่มเล็กๆ ซึ่งง่ายต่อการทำลายแนวโจมตี ในขณะที่รอมเมลสร้างความปลอดภัยให้กับส่วนหลังของกองทัพของตนกับเส้นทางลำเลียงปัจจัยโดยการสกัดรถถังอังฏฟษไว้ที่ ไซได มุฟตาห์ และบริอากีบ
ก่อนการรบอังกฤษมีรถถัง 700 คันและรถถังสำรอง 200 คันโดยที่รอมเมลมีรถถัง 545 คัน มิถนายนจำนวนรถถังอังกฤษเหลือเพียง 170 คันหลังจากการใช้ยุทธวิธีของรอมเมลในการตั้งรับที่แนวคอลดรอน และรถถังสำรอง 200 คันถูกกองทัพรอมเมลถล่มจนพินาศ 13 มิถุนายน 1942 อังกฤษเหลือรถถังเพียง 70 คันในขณะที่รอมเมลพร้อมรถถังที่เหลืออีก 150 คันกลายเป็นเจ้าสมรภูมิในที่สุด
วันเสาร์ที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:Erwin Johannes Eugen Rommel
ในสงครามโลกครั้งที่ 1 รอมเมล เป็นหัวหน้ากองร้อยเนื่องจากหัวหน้าคนเดิมเสียชีวิต เป็นหัวหน้านำหมู่โจมตีกองทัพฝรั่งเศสสำเร็จด้วยความสามารถ และความชาญฉลาด ซึ่งทไห้ได้รับเครื่องอิสริยาภรณ์ “กางเขนเหล็กชั้น 2” แต่ได้รับบาดเจ็บโดนกระสุนที่ขา หลังจากนั้นได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ “กางเขนเหล็กชั้น 1” ขณะที่มียศร้อยโท ในครานั้นรอมเมลได้รับคำสั่งลาดตระเวนแนวรบฝรังเศสและเมื่อปะทะกับทัพฝรั่งเศส ด้วยการนำทีมของเขาเองสามารถตีทัพฝรั่งเศสแตกพ่ายไป จากนั้นได้ยายไปประจำกองพันทหารภูเขาซี่งเป็นหน่วนงานใหม่ ที่ต้องใช้ความสามรถและขอบข่ายภารภารกิจที่มากกว่าทหารราบธรรมดา
จากการนำกองร้อบชนะกองทัพรูเมเนีย จับเชลยศึกได้เป็นจำนวนกว่าพันคน และยึดอาวุธยุทโธปกรณ์ได้อีกจำนวนหนึ่งจึงทำให้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ โพ เลอ เมรีท ซึ่งเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์สูงสุดทางทหารที่มีแต่ชั้นนายพลเท่านั้นที่จะได้ จากนั้นเยอรมันแพ้สงคราม
รอมเมล รับราชการเป็นอาจารย์สอนโรงเรียนการทหารราบ เขาได้เลื่อยยศเป็ฯพันตรี ขณะที่อายุเพียง 40 ปี เป็นนายทหารชั้นพันที่อายุน้อยมาก เขาได้รับเลื่อนยศเป็นพันโท พร้อมได้รับแต่งตั้งเป็นคณบดีมหาวิทยาลัยวิชาการทหารที่ปอตสดัม
ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศเยอรมนีมีการแก่งแย่งกันที่จะเป็นผู้นำประเทศกันอย่างดุเดือด ระหว่างพรรคนาซี กับคณะนายพล รอมเมลถูกทาบทามให้เป็นคนใกล้ชิดกับฮิตเลอร์ ในปี 1938 รอมเมล ได้รับแต่งตั้งเป็ฯพันเอกเต็มขั้นและรอมเมลก็เป็นผู้ก่อตั้งทัพยานเกราะเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่ 2
รอมเมลได้รับหน้าที่บุกโปแลนด์ เบลเยี่ยม และฝรั่งเศสและได้รับชัยชนะในที่สุด รอมเมลได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์หลายชั้นตั้งแต่ชั้นอัศวินไปจนถึงกางเขนเหล็ก ภายหลังฝรั้งเศสยอมแพ้ รอมเมลได้เลื่อนยศเป็นพลโท ในเดือนมกรคม 1941 และอีก 1 เดือนต่อมาเขาต้องเดินทางกลับเบอร์ลิน เพื่อรับตำแหน่งผู้บัญชาการกองทัพเยรมนีในแอฟริกา
สมรภูมิทะเลทราย เป็นการใช้การวางแผนที่ชาญฉลาด ในทะเลทรายอันเวิ้งวางในการพิชิตศึก รอมเมลสามารถเอาชนะทัพอังกฤษในสงครามทะเลทรายโดยตลอด เชอร์ชิล ได้กล่าวไว้ในที่ประชุมนายทหารอังกฤษว่า “เรากำลังเผชิญกับศัตรูที่น่าเกรงขามที่สุด ..และบางที่อาจเป็นสงครามแห่งมหาวินาศโดยแท้ เพราะนายพลผู้ยิ่งยงผุ้นี้เพียงคนเดียว”
การรบในทะเลทรายดำเนินการฝ่านไปเรื่อยๆ กองทัพเยอรมันเริ่มขาดแคลนเสบียง ยุทโธปกรณ์และน้ำมันที่จะเป็น เส้นทางลพเลียงถูกทัพอังกฤษตัดขาดเยิรมันยิ่งขาดแคลนขึ้นอีก กำลังใจของกำลังพลลดลงทุกขณะ..ในที่สุดอังกฤษส่งนายพลเบอนาร์ด มอนต์โกเมอรี่ มาสยบ แต่ในการพ่ายศึกครั้งนี้ เนื่องจากฮิตเลอร์ไม่ใส่ใจในการรบในสมรภูมิทะเลทราย ฮิตเลอร์ในขณะนั้นสนใจในการบุกรัสเซีย ซึงกลับมาทุ่มกำลังในช่วงที่ใกล้แพ้ศึกในสมรภูมิทะเลทรายแต่ก็ไม่ทันการณ์
รอมเมลมีรายชื่ออยู่ใน กลุ่มพลังต่อต้านฮิตเลอร์ ซึ่งเกิดจากคณะนายทหารทีเห็นท่าที่ว่าเยอรมันจะแพ้ในสงคราม รถของรอมเมลถูกเครื่องบินกองทัพอังกฤษโหมกระสุนใส่จนรถเกิดพลิกคว่ำ รอมเมลเกือบเสียชีวิต และขณะนั้น ฝ่ายปฏิวัติฮิตเลอร์ เริ่มปฏิบัติการด้วยการวาระเบิดรัฐสภาแต่ล้มเหลว ฮิตเลอร์ได้รับบาดเจ็บเพียงเล็กน้อย ฮิตเลอร์แค้นเคืองมาก และสืบหาผู้บงการที่อยู่เบื้องหลัง
รอมเมลรู้ตัวว่าถูกจับตาจากตำรวจลับที่ได้ชื่อว่าเหี้ยมโหดทีสุดของเยอรมันซึง่บัญชาการโดยนายพลเกอริง
และต่อมา พนายพลเบอร์กดอล์ฟ และนายพลไมเซล ได้นำเงื่อนไขของฮิตเลอร์ส่งมาให้ว่าจะยอมถูกไต่สวนโดยศาลประชาชนหรือกินยาพิษ ซึ่งรอมเมลคิดว่าถ้าเลื่อกข้อแรกเขาพอจะเดาออกว่าผลการตัดสินก็คือ “ประหารชีวิต”ในข้อหาทรยศต่อชาติ..เขาจึงเลือกอย่างที่สอง
พิธีศพของรอมเมล ถูกจัดขึ้นอย่างสมเกียรติ รอมเมลเป็นที่รักของประชาชนคำสดุดีถูกจัดทำขึ้นโดยฮิตเลอร์ใจความว่า “จอมพลรอมเมลถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 1944 เนื่องจากได้รับบาดเจ็บสาหัสในคราวรถยนต์ประสบอุบัติเหตุ เมื่อคราวเดินทางกลับจากตรวจแนวรบด้านตะวันตก..การสูญเสียรอมเมลก็เท่ากัยได้สุญเสียนายทหารคนสำคัญคนหนึ่ง ในการต่อสู้กับชะตากรรมที่ชาวเยอรมันทั้งปวงกำลังเผชิญอยู่ในขณะทนี้นั้น ชื่อนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งยวด เป็นเสมือนศูนย์รวมของความกล้าหาญและความองอาจไม่กลัวตาย”
จากการนำกองร้อบชนะกองทัพรูเมเนีย จับเชลยศึกได้เป็นจำนวนกว่าพันคน และยึดอาวุธยุทโธปกรณ์ได้อีกจำนวนหนึ่งจึงทำให้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ โพ เลอ เมรีท ซึ่งเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์สูงสุดทางทหารที่มีแต่ชั้นนายพลเท่านั้นที่จะได้ จากนั้นเยอรมันแพ้สงคราม
รอมเมล รับราชการเป็นอาจารย์สอนโรงเรียนการทหารราบ เขาได้เลื่อยยศเป็ฯพันตรี ขณะที่อายุเพียง 40 ปี เป็นนายทหารชั้นพันที่อายุน้อยมาก เขาได้รับเลื่อนยศเป็นพันโท พร้อมได้รับแต่งตั้งเป็นคณบดีมหาวิทยาลัยวิชาการทหารที่ปอตสดัม
ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศเยอรมนีมีการแก่งแย่งกันที่จะเป็นผู้นำประเทศกันอย่างดุเดือด ระหว่างพรรคนาซี กับคณะนายพล รอมเมลถูกทาบทามให้เป็นคนใกล้ชิดกับฮิตเลอร์ ในปี 1938 รอมเมล ได้รับแต่งตั้งเป็ฯพันเอกเต็มขั้นและรอมเมลก็เป็นผู้ก่อตั้งทัพยานเกราะเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่ 2
รอมเมลได้รับหน้าที่บุกโปแลนด์ เบลเยี่ยม และฝรั่งเศสและได้รับชัยชนะในที่สุด รอมเมลได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์หลายชั้นตั้งแต่ชั้นอัศวินไปจนถึงกางเขนเหล็ก ภายหลังฝรั้งเศสยอมแพ้ รอมเมลได้เลื่อนยศเป็นพลโท ในเดือนมกรคม 1941 และอีก 1 เดือนต่อมาเขาต้องเดินทางกลับเบอร์ลิน เพื่อรับตำแหน่งผู้บัญชาการกองทัพเยรมนีในแอฟริกา
สมรภูมิทะเลทราย เป็นการใช้การวางแผนที่ชาญฉลาด ในทะเลทรายอันเวิ้งวางในการพิชิตศึก รอมเมลสามารถเอาชนะทัพอังกฤษในสงครามทะเลทรายโดยตลอด เชอร์ชิล ได้กล่าวไว้ในที่ประชุมนายทหารอังกฤษว่า “เรากำลังเผชิญกับศัตรูที่น่าเกรงขามที่สุด ..และบางที่อาจเป็นสงครามแห่งมหาวินาศโดยแท้ เพราะนายพลผู้ยิ่งยงผุ้นี้เพียงคนเดียว”
การรบในทะเลทรายดำเนินการฝ่านไปเรื่อยๆ กองทัพเยอรมันเริ่มขาดแคลนเสบียง ยุทโธปกรณ์และน้ำมันที่จะเป็น เส้นทางลพเลียงถูกทัพอังกฤษตัดขาดเยิรมันยิ่งขาดแคลนขึ้นอีก กำลังใจของกำลังพลลดลงทุกขณะ..ในที่สุดอังกฤษส่งนายพลเบอนาร์ด มอนต์โกเมอรี่ มาสยบ แต่ในการพ่ายศึกครั้งนี้ เนื่องจากฮิตเลอร์ไม่ใส่ใจในการรบในสมรภูมิทะเลทราย ฮิตเลอร์ในขณะนั้นสนใจในการบุกรัสเซีย ซึงกลับมาทุ่มกำลังในช่วงที่ใกล้แพ้ศึกในสมรภูมิทะเลทรายแต่ก็ไม่ทันการณ์
รอมเมลมีรายชื่ออยู่ใน กลุ่มพลังต่อต้านฮิตเลอร์ ซึ่งเกิดจากคณะนายทหารทีเห็นท่าที่ว่าเยอรมันจะแพ้ในสงคราม รถของรอมเมลถูกเครื่องบินกองทัพอังกฤษโหมกระสุนใส่จนรถเกิดพลิกคว่ำ รอมเมลเกือบเสียชีวิต และขณะนั้น ฝ่ายปฏิวัติฮิตเลอร์ เริ่มปฏิบัติการด้วยการวาระเบิดรัฐสภาแต่ล้มเหลว ฮิตเลอร์ได้รับบาดเจ็บเพียงเล็กน้อย ฮิตเลอร์แค้นเคืองมาก และสืบหาผู้บงการที่อยู่เบื้องหลัง
รอมเมลรู้ตัวว่าถูกจับตาจากตำรวจลับที่ได้ชื่อว่าเหี้ยมโหดทีสุดของเยอรมันซึง่บัญชาการโดยนายพลเกอริง
และต่อมา พนายพลเบอร์กดอล์ฟ และนายพลไมเซล ได้นำเงื่อนไขของฮิตเลอร์ส่งมาให้ว่าจะยอมถูกไต่สวนโดยศาลประชาชนหรือกินยาพิษ ซึ่งรอมเมลคิดว่าถ้าเลื่อกข้อแรกเขาพอจะเดาออกว่าผลการตัดสินก็คือ “ประหารชีวิต”ในข้อหาทรยศต่อชาติ..เขาจึงเลือกอย่างที่สอง
พิธีศพของรอมเมล ถูกจัดขึ้นอย่างสมเกียรติ รอมเมลเป็นที่รักของประชาชนคำสดุดีถูกจัดทำขึ้นโดยฮิตเลอร์ใจความว่า “จอมพลรอมเมลถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 1944 เนื่องจากได้รับบาดเจ็บสาหัสในคราวรถยนต์ประสบอุบัติเหตุ เมื่อคราวเดินทางกลับจากตรวจแนวรบด้านตะวันตก..การสูญเสียรอมเมลก็เท่ากัยได้สุญเสียนายทหารคนสำคัญคนหนึ่ง ในการต่อสู้กับชะตากรรมที่ชาวเยอรมันทั้งปวงกำลังเผชิญอยู่ในขณะทนี้นั้น ชื่อนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งยวด เป็นเสมือนศูนย์รวมของความกล้าหาญและความองอาจไม่กลัวตาย”
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...