ใหญ่ของอังกฤษ และของโลก มักเรียกขานกันว่าเขาเป็นกวีแห่งชาติของอังกฤษ และ "กวีแห่งเอวอน" งานเขียนของเขาที่ยังหลงเหลืออยู่ถึงปัจจุบันประกอบด้วยบทละคร 38 เรื่อง กวีนิพนธ์แบบซอนเน็ต 154 เรื่อง กวีนิพนธ์อย่างยาว 2 เรื่อง และบทกวีแบบอื่นๆ อีกหลายชุด บทละครของเขาได้รับการแปลออกเป็นภาษาต่างๆ มากมาย และเป็นที่นิยมนำมาแสดงมากที่สุดในบรรดาบทละครทั้งหมด
เชกเปียร์เกิดและเติบโตที่เมืองสแตรทฟอร์ด ริมแม่น้ำเอวอน เมื่อ อายุ 18 ปี เขาสมารสกับแนน์ ฮาธาเวย์ มีบุตรด้วยกัน 3 คนคื อซูซานนา และฝาแฝด แฮมเน็ตกับจูดิธ ระหว่างช่วงปี ค.ศ. 1585-1592เขาประสบความสำเร็จในการเป็นนักแสดงในกรุงลอนดอน รวมถึงการเป็นนักเขียน ได้ร่วมเป็นหุ้นส่วนในคณะละครลอร์เชมเอบร์เลน ซึ่งในภายหลังมีชื่อเสียงเป็นที่รู้ักในชื่อ King's Man เชกสเปียร์เกษียณตัวเองกลับไปยังสแตรทฟอร์ดในราวปี ค.ศ. 1613 และเสียชีวิตในอีกสามปีต่อมา ไม่ค่อยมีบันทึกใดเกี่ยวกับชีวติส่วนตัวของเชอเปียร์มากนัก จึงมีทฤษฎีมากายที่คาดกันไปต่างๆ นานา เกี่ยวกับชีวิตส่วนตัว ความเชื่อทางศษสนาและแรงบันดาลใจในงานเขียนของเขา
ผลงานที่มีชื่อเสียงส่วนใหญ่ของเชกสเปียร์ประพันธ์ขึ้นในช่วงปี ค.ศ. 1590 - 1613 ในยุคแรกๆ บทละครของเขาจะเป็นแนวชวนหัวและแนวอิงประวัติศาสตร์ ซ฿่งเป็นแนวทางบทละครที่เป็นที่นิยมอย่างมากใช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ต่อมาเขาเขียนบทละครแนงโศกนาฎกรรมหลายเรื่อง รวมถึงเรื่อง แฮมเล็ต King Lear และ แม็คเบธ ซึ่งถือว่าเป็นบทละครตัวอย่างชั้นเลิศของวรรณกรรมอังกฤษ ในช่วงปลายของการทำงาน งานเขียนของเขาจะเป็นแนวสุข โศกนาฎกรรม หรือแนวโรมานซ์ และยังร่วมมือกับนักเขชียนบทละครคนอื่นๆ อีกมาก บทละครของเขาตีพิมพ์เผยแพร่ในหลายรูปแบบโดยมีรายละเดียดและเนื้องหาต่างๆ กันตลอดช่วงที่เขามีชีวิตอยุ่ ในปี ค.ศ.1623 เพื่อนร่วมงานสองคนในคณะละครของเขาได้ตีพิมพ์นังสือ First Folio เป็นการรวบรวมงานเขียนของเขาขึ้นเป็นครั้งแรก ซึ่งได้บรรจุบทละครที่ปัจจุบันเชื่อว่าเป็นงานเขยนของเชกเปียร์เอาไว้ทั้งหมด (ขาดไป 2 เรื่อง)
ในยุคของเขา เชกสเปียร์เป้นกวีและนักเขยนบทละครที่ได้รับการยกย่องอยู่พอตัว แต่เขาได้รับการยกย่องเป็นอย่างสุงเช่นในปัจจุบันนับตั้งแต่รวมคริสต์ศตวรรษที่ 19 กวียุคโรแมนติกยอย่องนับถือเชกสเปียร์ในฐานะอัจฉริยะ ขณะที่กวียุควิตอรเียเคารพนับถือเชกสเปียร์อย่างยิ่ง กระทั่ง จอร์จ เบอร์นาร์ ชอว์ เรียกเขาว่า Bardotatry (คำยกย่องในทนอง "จอมกวี" หรือ "เทพแห่งกวี") ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีการดัดแปลงานประพันะ์ของเขาออกไปเป็นรูปแบบแนวทางใหม่ๆ ดดยเหล่านักวิชาการและนักแสดงมากมาย ผลงานของเขายังคงเป็นที่นิยมอย่างสุงจนถึงปัจจุบันและมการแสดงออกในรุปแบบต่างๆ ในทุกประเทศทุกวัฒนธรรมทั่วโลก...
แฮมเลต เป้นบทละครแนวโศกนาฎกรรมเขียนขึ้นดดย วิลเลียม เชกสเปียร์ เชื่อกัว่าประัพันะ์ขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1599 และ 1601 บทละครนี้ฉากกำหนดให้ดำเนินเรื่องในประเทศเดนมาร์กเรื่องราวเีกยวกับความพยายาที่จะล้างแค้น ลุง หรือกษัตริย์คลอดิอัสของเจ้าชายแฮมเลต เนืองจากลุงของแฮมเลตเป็นผุ้แบลอลสังหารบลิดาของแฮมเลต หรืออดีตกษัตริย์แฮมเลต เืพ่อที่จะชิงราชบังลังก์และมารดาของแฮมเลต หรือราชินีเกอทรูด
First Quarto (Q1), Second Quarto (Q2) และ First Folio(F1) แต่ละฉบับนั้นต่างมีบรรทัดหรือฉากที่ขาดเกินกันไป เชึเสเปียร์นั้นอาจจะได้เค้าโครงเรื่องมาจากตำนานของกษัตริย์แฮมเลท ที่เรื่องที่ถุกเล่าขานกันมาตั้งแต่สมัยศตวรรษที่ 13 จนมาถึงศตวรรษที่16 และส่วนหนึ่งอาจจะมาจากบทละครที่สาบสูญไปของยุคอลีซบีเธน ชื่ออูรแฮมเลต(Ur-Hamlet)
บทละครมุ่งสำรวจเกี่ยวกับความวิกลจริตโดยแท้จริง และาการแสร้งวิกลจริโดยเกิดจากความโศกเศร้าทวีไปถึงความโกรธเกรียว โครงเรื่องนั้นมีทั้งการทรยศ การล้างแค้น อศีลธรมและการแต่างงานภายในครอบครัว ปีที่เชคสเปียร์ประพันธ์บทละครแฮลเมตที่แน่ชัดยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่บทละครที่รอดมาได้มีอยู่ด้วยกัน 3 ฉบับที่รู้จักกันในชื่อ
เนืองจากบทละครนี้มีการสร้างตัวละครไว้อย่างละเอียดลึกซึ้ง แฮมเลตจึงเป็นบทละครที่สามารถวิเคราะห์ตีความได้จากลายมุมอง ยกตัวอย่างเช่นมีผุ้ตั้งขอ้สังเกตุมากว่าศตวรรษเกี่ยวกับความลังเลที่จะฆ่าลุงหรือกษัตริย์คลอดิอัสของแฮมเลต
เช่นเดียวกับที่บางกลุ่มสามารถตีความในมุมองของสตรีนิยมในเรื่องของราชินีเกอทรูดและโอฟีเลีย ได้บทละครแฮลเลตเป็นบทละครที่มีความยาวที่สุดในบรรดาบทละครโศกนาฎกรรมของวรรณคดีอังกฤษ ระหว่างช่วงชีวิตของเชคสเปียร์บทละครนี้เป้ฯหนึ่งในงานที่ไ้รับความนิยมมากที่สุดของเขาและยังถุกจัดให้เป็หนึ่งผลงานที่ได้รับการนำไปเล่นละครเวทีมากที่สุด นอกจากนี้บทละครแฮมเลตยังมีส่วนสร้างแรงดลใจให้แก่นักประพันธ์หลายคนเช่น เกอรเธ ดิดเกนส์ และเจมส์ จอยซ์ เป็นต้น
โดยเนื้อเรื่องเป็นเรื่องของ กษัตริย์แห่งเดนมาร์กถุกพี่ชายชือ คลอดิอัส ลอบปลงพระชนม์เพื่อแยงบัลลัก์และอดีตราชินี วิญญาณของกษัตริย์แฮมเลตจึงได้มาหาโอรสหรือเจ้าชาย แฮมเลต และบัญชาให้ล้างแค้น เจ้าชาย แฮมเลตกลัดกลุ้มพระทัยมากจึงแกล้งทำเป็นบ้าและผลกัไสนางโอฟิเลีย หญิงสาวที่ตนหลงรัก ทรงวางแผนเปิดโปง คลอดิอัส โดยให้คณะละครเร่มาแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับการลอลปลงพระชนม์ แฮมเลตได้ฆ่าโพโลนีอัสพ่อของโอฟิเลีย โดยเข้าใจผิดคิดว่าเป้นคลอดิอัส ส่วนคลอดิอัสก็วางแผนกำจัดเขาเช่นเดียวกันแต่ไม่สำเร็จ โอฟิเลียโดน้ำตายเพราะความทุกข์ลาเอร์เทสพี่ชายของโอฟิเลียท้าแฮมเลตดวลดาบ บทละครจบลงด้วยตัวละครสำคัญตายหมด สุดท้าย แจ้าชายฟอร์ทินบราส์แห่งนอร์เวย์ได้เข้ามาควบคุมสถานการณ์ทั้งหมดhttps://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%AE%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%95