The Canterbury Tale

           Lyric คีตกานท์ เกิดจากนักร้องเร่ที่เรยกตัวเองว่า ตรูบาดูร์ จะแต่งบทกวี ขับร้องกับพิณ นิยม
บรรเลงกันในปราสาทของขุนนางและราชสำนัก เป็นเรื่องเกี่ยวกับควารักแบบเทิดทูนต่อสตรีสูงศักด์ ซึ่งได้รับอิทะิพลมาจากราชสำนักของพวกมุสลิม การเทิดทุนสตรีที่สูงศกด์ก่อให้เกิดระเบียบวิะีปฏิบัติที่บุรุษควรมีต่อสตรีเพศ หรือที่เรียกว่า ธรรมเนียมวีรคติ ซึ่งถือปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดในหมู่อัศวินมีคุณค่าและมีเกียรติยศยิ่งนัก
           Lyric คีตกานต์ เป้นวรรคดีประเภทหนึ่งเป็นที่นิยมในศตวรรษที่ 14 โดยมีความสนและการแสดงออกทางอารมร์ ดยปกติแล้วเนื้อเพลงจะกล่าวถึง "ช่วงเวลา" โดยปกติแล้วจะพุดหรือแสดงในบุรุษที่ หนึ่ง แม้ว่าเนื้อบางส่วนจะมีเรื่องเล่าก้ตาม แต่จะมีเพียงครั้งคราว เนื่องจากเนื้อร้องสะท้อนถึง
"คุณสมบัติชุน" และการระบุผุ้เขียนเป็นเรื่องยากมาก เนื้อเพลงส่วนใหญ่มักยกเลิกการจับยคุ่และปรากฎในคอลเล็กชันที่ไม่มีความเป็นเอกภาพในตัว มีหลายเพลงที่ยังคงดำรงมาถึงปัจจุบัน ได้รับการกล่าวขวัยกันอย่างแพร่หลายในหลายรูปแบบต่างๆ ก่อนที่จะถูกเขียนลงเป็นหลักฐาน ซึ่งปรากฎในบทกวีภาษอังกฤษ ยุคกลาง โดยเฉาพะเรื่อง The Canterbury Tale  ของ Geoffrey Chaucer..
         The Canterbury Tales ตำนานแคนเตอร์บรี เป้ฯวรรณกรรมที่เขียนโดย เจฟฟรีย์ ชอเซอร์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 14 เป็นเรื่องยอ่ยที่รวบรวมกันเป็น
หนังสือ (สองเล่เป็นร้อยแก้ว อีกยี่สิบสองเล่มเป็นร้อยกรอง( ทีเป็นตำนานที่เล่าดดยนักแสวงบุญแต่ละคนจากซัทเธิร์ด ในลอนดอนที่เินทางกันไปแสวงบุญที่ซาเปลของนักบุญทอมัส เบ็ดเค็ทที่มหาวิหารแคนเตอร์บรี ไตำนานแคนเตอร์บรี" เขียนเป็นภาษาอังกฤษสมัยกลาง เรื่องราวต่างถือกันว่าเป้นหนึงในมหาวรรณกรรมที่ได้รับอิทธิพลมาจาก "ตำนานสิบราตรี" ที่เขียนโดยกวีชาวอิตาลี จิโอวานนิ โบคคาชโช ในคริสต์ศตวรรษที่ 14 ที่กล่าวกันว่าชอเซอร์ได้อ่านเมื่อเดินทางไปท่องเที่ยวในอิตาลีก่อนหน้านั้น แต่ผุ้ที่เล่าเรื่องในตำนานของชอเซอร์เป็น "มนุษย์เดินดิน" แทนที่จะเป็นเรื่องของชนชั้นขุนนางเช่นใน "ตำนานสิบราตรี" ของโบคคาชโช
         https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B5
เรื่องย่อ ในวันหนึ่งในเดือนเมษายนกลุ่มนักแสวงบุญพบปะกันหน้าโรงแรมทาบาร์ดไม่ไกลจากลอนดอนพร้อมกับเจ้าของโรงแรม เืพ่อจะเดินทางจากลอนดอนไปยังแคนเอตร์บรี เพื่อจะไปสักการะหลุ่มศพของนักบุญทอมัส เบ็ดเค็ทที่มหาวิหารแคนเตอร์บรี ชอเซอร์บรรยายสมาชิกแต่ละคนในกลุ่มอย่างละเอียดที่มาจากชนชั้นต่างๆ ทั้งชนชั้นสูง ชั้นกลาง และชั้นต่ำ ที่ีอาชีพต่างๆ กันทั้งนักบวช แม่ชี คนเรือ คนสีข้าว ช่างไม้ เจ้าหน้าที่ ผุ้ดีท้องถ่ิน อัศวิน และอื่นๆ แฮรี เลลีย์เจ้าของโรงแรมเสนอให้ทุกคนในกลุ่มเล่าเรื่องของตนเองระหว่างการเดินทางซึ่งก็เป็นที่ตกลงกันว่าแต่ละคนเล่าเรื่องคนละสีเรื่องสองเรื่องขาไปและอีกสองเรื่องขากลับผุ้ที่เล่าเรื่องที่น่าฟังที่สุดที่ตัดสินโดยเบบีย์ก็จะได้กินอาหารฟรีโดยสมาชิกช่วยกันจ่ายให้ ผุ้เล่าเรื่องคนแรกคือ ขุนนาง เื่องแต่ละเรื่องก็สะท้อนให้เห็นถึงฐานะทางสังคมของผุ้เล่า หรือบางเรื่องก็เป็นเรื่องที่เล่าขึ้นเพ่อเสียดสีผ้อื่นในกลุ่ม แต่ในตอนจบก็ไม่มีเรื่องใดที่ได้รับเลือกว่าเป็นเรื่องที่ดีที่สุด และนักแสวดงบุญก็ไม่ได้เล่าเรื่องกันทุกคน ในบทสุดท้ายชอเซอร์ก็กล่าวขอขมาถ้าเรื่องราวที่เล่าไปก้าวก่ายผุ้ใด...

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)