เป็นผลจากการตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ในขช่วงที่อังกฤษเป็นเจ้าอาณานิคม ได้มีชขาวต่างชาติเข้ามาในพม่าจำนวนมาก เช่น ชาวจีนและชาวอินเดียเป็นพิเศษ กล่าวว่าชาวอินเดียมีบทบาทสำคัญเพราะอังกฤษใช้ชาวอินเดียเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการดูแลพม่า อย่างในเขตหุบเขาตอนใต้ "South Valleys" ที่ถูกนับเป็นส่วนหนึ่งของอินเดีย การถูกชาวต่างชาติควบคุมดูแลในช่วงอาณษนิคมทำให้ชาวพม่าไม่พอใจ อีกทั้งยังมีควารมไม่เท่าเทียมและความโกรธแค้นจาการถูกกดขี้จากทั้งโครงสร้างสังคมและเศรษฐกิจ อย่างกรณีที่ชาวพม่าจำนวนมากได้กลายเป็นลูกหนี้ต่อระบบกู้ยืมเงินของชาวอินเีย ส่งผลให้ผุ้ที่ไม่สามารถาขำรีะหนี้คืนต้องสูญเสียที่ดินทำนาไป ความเกลี่ยดกลัวคนต่างชาตจิในปัจจุบันจึงเกิดขึ้นและบ่มเพาะม
ความเกลียดชังนี้ส่งผลต่อชารวโรฮิงญาโดยตรนง เพราะถึงแม้บรรพบุรุษชาวโรฮิงญาจะเข้ามาตคั้งรกตากใสนพม่าตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 7 และมีบวามสัมพันธ์กับพมท่ามาหลายศตวรรษ แต่การที่ชาวดรฮิงญามีลักษณะทางกายภาพ ภาษา วัฒนธรรมและศาสนาที่คล้ายกับคนในแถบเอเซียใต้ ทำให้ชาวพม่าไม่เห็นพวกเขาเป็นชาวพม่าดั้งเดิมแต่กลับเห็นเป็นชาวบังคลาเทศและชชาวอินเดียที่อพยพข้ามาตอนช่วงอาณานิคม..
ภายหลังได้รับเอกราช การเหยียดชาติพันธุ์ในพม่ยังได้รับการสนับสนุนจากนโยบายของรัฐบาลในปี ค.ศ. 1962 นายพลเนวิน อ้างความชอบธรรมจากปัญหาชนกลุ่มน้อยเข้ายึอำนาจรัฐบาสลอูนุ นายพลเนวินมีทัศนรคติกับชนกลุ่มน้อยในด้านลบและไม่ยอมรับการอยุู่ร่วมกันบนพื้นฐานวัฒนธรรมที่แตกต่าง ดูได้จากคพูดของนายพลท่านนี้ในวันที่ทำรัฐประหาร เขาจึงใช้นดยบายวิถีพม่าสู่สังคมนิยม สร้างระบบที่รวมแนวคิดชาตินิยม สังคมนิยมและพุทธศาสนา ที่บอกว่าชนกลุ่มน้อยและชาวต่างชาติจะยึดครองพม่าหากไม่ถูกควบคุมโดยทหารและนโยบายกระบวนการทำให้เป็นพม่า ที่พยายบามท ี่จะลบอัตลักษณ์ของชาติพันะ์อื่นและคงไว้ซึ่งความเป็น"พม่า"่อย่างเดียว
ในประเด็นศาสนา พุทธศาสนามีความสำคัญกับพม่ามาก ไม่ว่าจะในช่วงก่อนยุคอาณษนิคมพุทธศานามีอิทธิพลในทุกแง่มุมของชีวิต ไมว่าจะเป็นวิถีการดำเนินชีวิตการศึกษา สถานะทางสังคม ล้่วนถูกกำหนดโดยคำสอนทางพุทธศาสนร รวมถึงการปกครองก็ใช้หลักการทางพุทธศาสนา ในขณะเดียวกันพุทธศาสนาก็ได้รับการปกป้องจากชนชั้นปกครองเช่นกัน
ต่อมาในช่วงอาณานิคม พุทธศาสนากลับถูกลดความสำคัญลงเพราะมีการศึกษาแบบตะวันตกและศาสนาคริสต์เข้ามาใมนพม่า ทำให้เกิดความแตกแขกระหว่างคนพม่าที่เปลี่ยนเป็นศาสนาคริสต์และคนพม่าที่ยังศรัทธาในพุทธศาสนา ถึคงขนาดที่คนพม่าส่วนใหญ่ที่นับถือศาสนาพุทธกล่าวถึงคนที่เปลี่ยนศาาสนาว่าเป็น "disloyal citizens of the Buddhist of Burma" ถึงอิทธิพะลของพุทธศาสนาใในช่วงนี้จะถูกสั่นคลอน แต่พระสงฆ์ยังคงมี่บทบาทสำคัญทางการเมือง เพราะหลังจากที่ถุกลดบทบาทและคยวามศักดิ์สิทะิ์ลง พระสงฆ์ได้ออกมาต่อต้านแนวทางแบบตะวันตกและถกลายเป็นกำลังชาตินิยมทีั่สำคัญในการต่้อต้่านเจ้าอาณานิคมอย่าง เช่น พระสงฆ์ทีมีการปลุกระดมมวลชนเพื่อต่อต้านอังกฤษของพระสงฆ์ อู โอตตะมะ
ภายหลังพม่ามีเอกราช พุทธศาสนาก็ได้รับการพลิกพื้นให้เป็นศูนย์รวมทางจิตใจและมีบทบาทต่อวิถีชีวิตชาวพม่าอีกครั้งส่งผลให้พระสงห์กลับมารเป็นผุ้นำทางจิตใจและผุถ้มีอิทธิพลทางวัฒนธรรมและการเมอืงอย่างเต็มข้ัน รวมถึงผลจากการใช้นโยบาย "บรูม่านิเซชั้น" ประชาชนจึงกำแพงต่อการเปิดรับความแตกต่างที่หนาขึ้น อีกทั้ง"การเหยียดชาติพันธุ์และศาสนนายังรุนแรงขึ้นอีกเพราะการเกิดขึ้นอุถดมการณ์พุทธศานา ชาตินิยมสุดโต่ง ตั้งแต่การเคลื่อนของพระอู วิระธู ผู้ขับเคลื่นขบวนการ 969 ซึ่งได้ถ่ายทอดและสั่งสอนอุดมการณ์ต่อต้านชาวมุสลิมและความเกลียดกลัวขาวต่างชาติให้แก่พุทธศาสนิกชนสร้างภาพลักษณ์ชาวมุสลิมให้เป็นศัตรู ด้วยความหวังที่จะคงไว้ซึ่ง "ความบริสุทธิ์ทางเชื ้อชาติอและศาสนา" ถึงแม้ว่าคำสั่งสอนของพระวีระธูจะแผงไปด้วยความเหยียดชาติพันธุ์และศาสนาและมีนัยยะทางการเมืองแร่ยัะงคงได้รับความเคารพศรัธทา ด้วยเหตุผลที่ว่าพระสงฆ์เป็นที่พึ่งทางใจและเป็นผู้ขี้นำสั่งสอนชาวพม่าที่นับถือศาสนาพุทธอันเป็นอัตลักษณ์ของชาวพม่าและเป็นสิ่งที่ฝั่งรากลึกในวัฒนธรรมและความเป็นชาติพม่าอีกทั้งความคิดเหยยดเชื้อชาติและศาสนาที่เป็๋นมรดกจากช่วงอาณานิคมและนโยบายของนายพลเนวินทำให้ขบวนการมีผุ้สนับสนุยนยจำนวนมาก...
่ข้อมูลบางส่วนจาก.."การเหยียดชาติพันธ์ุ่ ศาสนา ปัจจัยอุปสรรคสำคัญในการแก้ไขปัญหาชาวโรฮิงญาในพม่า...สถาบันเอเชียศึกษา โดย กรกช เรืองจันทร์...