ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 จะเริ่มขึ้นในยุโรป อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำพรรคนาซีขึ้นครองอำนาจในประเทศเยอรมนี ซึ่งมีนโยบายเหยียดเชื้อชาติ “ยิว”จึงมีการขับไล่เหล่าอาจารย์ซึ่งมีเชื้อสายยิวออำจากมหาวิทยาลับกอททิงเจน University of Gottingen ที่ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ชั้นหัวกะทิรวมตัวกัน รวมทั้งนักฟิสิกส์รางวัลโนเบล แม็กซ์ บอร์น Max Born และระดับหัวกะทิอีกหลายคนที่มีเชื้อสายยิว และผู้ที่ต่อต้านฮิตเลอร์เป็นการส่วนตัว รวมถึงผู้ทีนิยมคอมมิวนิสต์ปฏิปักษ์ของพรรคนาซีจึงต้องลี้ภัย ซึ่งส่วนใหญ่ไปยังกรุงโคเปนเฮเกน และต่อมานักวิทยาศาสตร์ชั้นหัวกะทิแทบทุกคนได้เดินไปยังอเมริกาและได้เข้าร่วมโครงการแมนฮัตตันแอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เป็นอีกคนที่มีเชื้อสายยิว ที่ได้เดินทางลีภัยไปยังสหรัฐอเมริกา
จุดเริ่มต้นของโครงการแมนแฮตตันมาจากการทีนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน 2 คน ได้ค้นพบปฏิกิริยาการแบ่งแยกนิวเครียสขึ้นก่อน และจุดต้อมาคือการที่ซีลารดเป็นคนแรกที่มีความคิดว่าการแบ่งแยกนิวเคลีสน่าจะสามารถทำให้เกิดขึ้นได้อย่างต่อเนื่องเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ ซึ่งหากทำได้ก็จะมีพลังงานปลดปล่อยออกมาจากปฏิกิริยามามายมหาศาล ซึ่งอาจนำมาสร้างเป็นระเบิดปรมฯ หรือลูกระเบิดอะตอมได้ ดังนั้นเมื่อซีลาร์ดลี้ภัยมาอยู่ที่สหรัฐอเมริกา เขาจึงเป็นหนึ่งใน 5 ต้นคิดให้สหรัฐอเมริกาเร่งวิจัยการสร้างลูกระเบิดอะตอมให้สำเร็จก่อนเยอรมนีโดยในวันหนึ่งได้เดินทรงไปพบไอน์สไตน์ซึ่งเป็นผู้มีชื่อเสียง และขอให้ช่วยเป็นผู้ลงนามในจดหมายถึงประธานาธิบดีแฟรงคลิน ดี.โรสเวลต์ โดยโน้มน้าวสหรัฐอเมริกเร่งค้นคว้าวิจัยการสร้างลูกระเบิดอะตอม ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้เป็นอย่างเชื้องช้า มีเพียงการติดต่อซื้อยูเรเนียม1,200ตันจากเบลเยียมและถูกส่งมาถึงสหรัฐในปีถัดไป
ในที่สุด ต้นปี 1940 รัฐบาลสหรัฐอเมริกาจึงได้ให้บลประมาณสำหรับการวิจัยด้านอะตอมเป็นครั้งแรกแก่มหาวิทยาลัยโลมเบียเป็นจำนวนเงิน 6,000 ดอลล่าร์ ในปีนี้เช่นกัน คณะกรรมการระดับสูงของนักวิทยาศาสตร์ที่ประทเศอังกฤษก็มีรายงานออกมาว่า มีความเป็นไปได้ที่จะนำการแบ่งแยกนิวเคลียสของยูเรเนียมมาใช้เป็นอาวุธทางทหารได้ ซึ่งทำให้สหรัฐอเมริกาให้เงินสนับสนุนการวิจัยด้านอะตอมแก่มหาวิทยาลัยต่าง ๆ มากขึ้น ในปี 1941 สภาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ ได้เสนอว่าลูกระเบิดจากการแบ่งแยกนิวเคลียสมีความเป็นไปได้ ในที่สุดก็มีการตั้งคณะกรรมการพิเศษ เอศ-1 ขึ้นมาดูแลเรื่องนี้ว่าเป็นไปได้หรือไม่ ถ้าได้ จะกินเวลาเท่าใด และเรื่องเป็นจริงเป็นจังขึ้นมาจากการที่สหรัฐอเมิรกาประกาศเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 เนื่องจากถูกโจมตีที่ อ่าวเพิร์ล ฮาร์เบิรล
นักฟิสิกศ์รางวัลโนเบล อาร์เทอร์ เอช คอมป์ตัน ได้เข้าบหน้าที่ผู้อำนวยการของกลุ่มเอส-1 ซึ่งได้ย้ายมารวมกันที่มหาวิทยาลัยชิคาโกซึ่งที่นี้เองเฟร์กับทังานของเขาได้สร้างเครื่องปกิกรณ์นิวเคลียร์เครื่องแรกของโลกชื่อว่า ชิคาโกไพล์ –1 ได้สำเร็จเป็นเครื่องแรกของโลกในการทำลองในวันที่ 2 ธันวาคม 1942 เป็นการพิสูจน์ให้เห็นว่า ปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียร์เกิดขึ้นได้จริงและยังสามารถควบคุมและรักษาสภาพการเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ไม่ให้เกิดความรุนแรงเกินไปได้อีกด้วย
มิถุนายน 1942 กระทรวงกลาโหมเข้ามาดูแลโครงการโดยกองทัพน้อยทหารช่างเข้ารับช่วงงานทั้งหมดทุกโครงการที่กระจัดกระจายอยู่เข้ามาไว้ด้วยกันภายใต้ชื่อโครงการเป็นรหัสว่า มณฑลทหารช่างแมนแฮตตัน หรือต่อมาเรียกสั้นๆ ว่า โครงการแมนแฮตตัน โดยพันเอก เลสลีย์ อาร์.โกรฟส์ ผู้มีผลงานก่อสร้างอาคารกระทรวงกลาโหมหรือเพนตากอนมาเป็นหัวหน้า
โกรฟส์ตัดสินใจครั้งสำคัญซื้อสถานที่ห่างไกลแทบรกร้าง 52,000เอเคอร์ ที่โอกริดจ์ ในมลรัฐเทนเนสซี่เป็นที่สร้างโรงงานผลิตยูเรเนียม กองทัพบกเรียสถานที่นี้ว่า ไซต์เอกซื Site x และเข้าได้ทำการตัดสินใจครั้งสำคัญอีกครั้งคือการเลือกตัวบุคคลเพื่อทำหน้าที่หัวหน้าและประสานงานกับนักวทยาศสราตรืทั้งหมดในโครงการที่มีชื่อรหัสว่า โครงการวาย Project Y ซึ่งเขาเอกนักทฤษฎีฟิสิกส์ 38 ปี คือ เจ.รอเบิร์ต ออปเพนไฮเมอร์ อาจารย์ มหาวิทยาลัยเบิร์กลีกับสภบันเทคโนโลยีแห่งแคลิฟอร์เนีย
และเมื่อออปเพนไฮเมอร์เข้ารับหน้าที่ เขาเห็น่าผุ้ทีทำงานด้านฟิสิกส์ เคมี โลหกรรม รวมทั้งฝ่ายทหารสรรพาวุธ ควรมารวมอยุ่ในที่เดียวกันหมด ซึ่งโกรฟส์เห็นด้วย เขาได้พาโกรฟส์กับคณะทหารไปดูพื้นที่โรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งใกล้กับลอสอะลาโมส ในมลรัฐนิวเม็กซิโก กองทัพบกซื้อบริเวณนั้นและรอบๆ ในหนึ่งเดือนต่อมา และได้ขื่อว่า ไซต์วาย site Y ซึ่งไม่ปรากฎบนแผนที่แต่มีที่อยู่ สำหรับผู้ที่ติดต่อกับโลกภายนอก รวมทั้งเป็นบ้านเกิดของเด็กทารกอีกหลายๆ คนด้วย
ออปเพนไฮเมอร์เลือกสรรนักวิทยาศาสตร์มาทำงานโดยบอกว่าเป็นภารกิจที่หากสำเร็จจะยุติสงครามได้ดังนั้นจึงเป็นการรวมตัวของนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลกในโครงการนี้ โกรฟส์อนุมัติให้ซื้อพื้นที่ 500,000เอเคอร์ บนฝั่งแม่น้ำโคลัมเบียในมลรัฐวอชิงตันสำหรับผลิตโทเนียม เป็นอันว่าโครงการแมนแฮตตันมีหน่วยงานขนาดใหญ่แยกกันในพื้นที่ 3 แห่ง โกรฟส์ขีดเส้นตายว่าเมือถึงฤดูร้อน ปี 1945 ระเบิดอะตอมจะต้องพร้อมใช้งานคือมีเวลา 26 เดือน
12 เมษายน รองประธานาธิบดี แฮรี เอส. ทรูแมน ถูกตามตัวเขาทำเนียบขาวเพื่อรับทราบการถึงแก่อสัญกรรมของประธานาธิบดี โรสเวลต์ อีก 2 ชั่วโมงต่อมา ทรูแมนสาบานตนเข้ารับตำแหน่างประธานาธิบดี
กรกฎา 1945 โกรฟส์คากว่าจะผลิตระเบิดอะตอมได้ 3 ลูก โกรฟส์และออปเพนไฮเมอร์จึงตัดสินใจใช้ลูกระเบิดพลูโทเนียมสำหรับทดลองว่าลูกระเบิดจะใช้งานได้หรือไม่ โดยตั้งรหัสการทดสอบลูกระเบิดนี้ว่า ทรินิตี้ Trinity
แสงสว่างี่ไม่เคยมีมาในโลก ที่เป็นเหมือนแสงสว่างของดวงอาทิตย์หลายดวงรวมกันพวยพ่งออกมาจากท้องของพระแม่ธรณี เป็นอาทิตย์อุทัยที่โลกไม่เคยเห็นมาก่อน ดังกับว่าดวงอาทิตยฺลูกมหึมาสียเขียวที่ขึ้นพ้นขอบฟ้าและไตสูงขึ้นไปกว่า 8 ฟุดในเวลาเพียงเสี้ยวของวินาที่ ทั้งยังพุ่งสูงขึ้นต่อไปจนแตะเมฆ..
ขณะที่ลุฏไฟมหึมาเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 ไม่ล์กำลังพุ่งขึ้นไปนั้น สีสันของมันเปลี่นยแปลงอยู่ตลอดเวลา จากสีม่วงเข้าไปจนเป็นสีส้ร ..เเรงที่รั้งความเป็นธาตุไว้ได้รับการปลกปล่อยจากพันธนาการที่จองจำไว้มาหลายพันล้านปี.. ประหนึ่งว่าโลกได้เปิดออกและฟ้าได้ผ่าแยกจากกัน
แล้วความงียบอันสวัดวันก็พลันลั่นขึ้นมาด้วยเสียงกัมปนาทดังกว่าฟ้าร้อย..เสมือนเสียงร้องครั้งแรกของโลกใบหนึ่งี่เพิงคลอดใหม่แบบเดียวกับเสียงร้องของเด็กแรกเกิด
จากนั้นขอบสีดำเหนือนชายกระโปรงก็เกิดขึ้นรอบการระเบิดและเมฆรูปดอกเห็ดก็ลอยขึ้นเหนือฟ้าที่กำลังรุ่ง…
วันอังคารที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
วันจันทร์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:1942
มกราคม เริ่มต้นปีด้วยการก่อตั้ง “สหประชาชาติ”โดยมีฝ่านสัมพันธมิตร 26 ประทเศลงนามในการประกาศต่อต้านฝ่ายอักษะ เป็นครั้งแรกที่มีการใช้คำว่า “สหประชาชาติ”แทนความหมายของฝ่ายสัมพันธมิตร
ญี่ปุ่นบุกยึดมะนิลา ยึดกัวลาวัมเปอร์,มาลายาประกาศสงครามกับเนเธอร์แลนด์และโจมตีหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของดัตช์ รุกรานอินโดนีเซีย ยกพลขึ้นบกที่เกาะเซลีเบส ญี่ปุ่นจับตัวทหารชาวอังกฤษจำนวนมากเป็นนักโทษในสิงคโปร์,ทัพญี่ปุ่นรุกรานหมู่เกาะโซโลมอน
ประเทศไทยประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร ทัพอเมริกันขึ้นเกาะมัว ซึ่งเป็นส่วนของแผนป้องกันการรุกคืบของญี่ปุ่นในสงครามมหาสมุทรแปซิฟิก กองกำลังอังกฤษถอนกำลังทั้งหมดไปยังสิงคโปร์ กองทัพอเมริกันกลุ่มแรกไปถึงยุโรป
บาซิลตัดสัมพันธ์กับฝ่ายอักษะ ฮิตเลอร์ปราศัยที่เบอร์ลิน เรื่องยิวกับการทำลายล้างชาวยิว รวมถึงแจ้งว่าความล้เหลวในการบุกโซเวียตเนื่องมาจากสภาพอากาศไม่ดี เยอรมันถอยทัพจากแนวรบด้านตตะวันออกหลายจุด
กุมภาพันธ์
แนวรบด้านตะวันออก:กองทัพเยอรมันในสหภาพโซเวียตถูกขับออกจากเคิร์สค์ ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญในแผนการของเยอรมนี,กองทัพเยอรมันในสหภาพโซเวียตถูกขับออกจาดเคิร์สค์ ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญในแผนการของเยอรมนี
เอเซียบูรพา:นายพลโจเซฟ สติลเวล ได้เป็นหัวหน้าที่ปรึกษาของเจียง ไคเช็ค ผู้บัญชาการสูงสุดของกองทัพสัมพันธมิตรในประเทศจีน กองทัพอากาศญี่ปุ่นมุ่งไปโจมตีเกาะชวา,ทัพอังกฤษเสริมกำลังพลไปยังสิงคโปร์เพื่อเตรียมการต่อสู้ครั้งสุดท้าย,สิงคโปร์ยอมจำนนต่อญี่ปุ่น เป้ฯความสูญเสียครั้งใหญ่ของทัพอังกฤษ ,กองทัพญี่ปุ่นข้ามแม่น้ำสาละวิน,ญี่ปุ่นรุกรานบาหลีและติมอร์,ประธานาธิปดีโรสเวลด์ออกคำสั่งให้นายพลดักลาส แมกอาเธอร์ถอนตัวออกจากฟิลิปปินส์,
สหรัฐอเมริกา:ผู้นำทางการทหารของสหรัฐอเมริกาประชุมอย่างเป็นทากการครั้งแรกเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ของกองทัพสหรัฐอเมริกา,แคนาดาประกาศเกณฑ์ทหาร,การกักตัวพลเมืองชาวอเมริกัน-ญี่ปุ่นเร่มต้นขึ้นในสหรัฐอเมริกาจากความวิตกที่เพิ่มมากขึ้น
มีนาคม
แนวรบด้านตะวันออก:การรุกของกองทัพแดงในคาบสมุทรไครเมียเริ่มต้นขึ้น
เอเซียบูรพา:ญี่ปุ่นตีเมืองย่างกุ้งแตก,นาพลดักลาส แมกอาเธอร์ได้รับคำสังให้ถอนออกจากฟิลิปินส์ เขากล่าวถ้อยคำที่เป็นที่จดจำเอาไว้ว่า “แล้วผมจะกลับมา” i shall return กองทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกบนเกาะมินดาเนา,กองทัพญี่ปุนยกพลขึ้นบกบนหมู่เกาะโซโลมอน,นายพลแมกอาเธอร์เดินทางถึงออสเตรเลีย
ภาพพื้นยุโรป:มีการออกกฏหมายการเกณฑ์ทหารฉบับใหม่ในสหราชอาณาจักร ซึ่งรวมถึงชายหญิงทุกคนจนถึงอายุ 45 ปี , กองทัพอากาศอังกฤษส่งเครื่องบินไปทำลายเป้าหมายหลายแห่งในฝรั่งเศสและเยอรมนี
เมษายน
เอเซียบูรพา:กองทัพผสมอเมริกัน-ฟิลิปินส์ถูกปิดล้อมที่คาบสมุทรบาตาน,กองทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกที่เกาะนิวกินี,กองทัพเรือแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่นโจมตีกรุงโคลัมโบ บนเกาะศรีลังกา,กองทัพญี่ปุ่นยึดครองคาบสมุทรบาตาน เชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตรถูกบังคับใหเดินเท้าไปยังค่ายกักกันทางตอนเหนือ,กองทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกที่เกาะเซบู,
แนวรบต้านตะวันออก:กองทัพเยอรมันเริ่มการบุกในคาบสมุทรไครเมีย
พฤษภาคม
เอเซียบูรพา: แมนดาเลและเมืองท่าอื่นๆ ในพม่าอยูภายใต้การยึดครององญี่ปุ่น,ญี่ปุ่นยึดครองพม่าอย่างสมบูณ์
แนวรบตะวันออก:กองทัพโซเวียตเริ่มต้นการโจมตีครั้งใหญ่ที่เมืองคาร์คอฟ,มีการลงนาในสนธิสัญญาอังกฤษ-โซเวียตโดยทั้งสองฝ่ายตกลงว่าจจะไม่มีการลงนามเป็นพันธฒิตรกับชาติใดๆโดยต้องได้รับการับรองจากอีกฝ่ายหนึ่งก่อน,กองทัพเยอรมันได้รับชัยชนะที่เมืองคาร์คอฟ,
เม็กซิโกประกาศสงครามกับฝ่ายอักษะ,ยุทธนาวีทะเลคอรอลเริ่มต้นขึ้น,กองทัพอังกฤษเริ่มปฏิบัติการไอรอนแคลดโดยเริ่มบุกดามากัสการ์ของวิชีฝรั่งเศสเพื่อป้องกันการโจมตีจากจักรวรรดิญี่ปุ่น
มิถุนายน
เอเซียบูรพา:ยุทธนาวีแห่งมิดเวย์เริ่มต้นขึ้น,
ภาคพื้อนยุโรป:สหรัฐอเมริกาประกาศสงครามกับบัลแกเรีย ฮังการีและโรมาเนีย
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ: กองทัพเยอรมันขับไล่กองทัพสัมพันธมิตรออกจากแนวกาซาลา,กองทัพเยอรมันสามารถยึดเมืองโทรบรุคคืนได้ ,กองทัพอังกฟษล่าถอยไปยังอิยิปต์ด้วยขวัญกำลังใจที่ตกต่ำ,กองทัพอังกฤษล่าถอยไปยังเมืองเอล อาลาเมน ซึ่งอยู่ห่างจากนครอเล็กซานเดรีย 60 ไมล์เพื่อเตรียมตัวต่อสู้ครั้งสุดท้าย,กองทัพเยอรมันเคลื่อนพลถึงเอล อาลาเมน
แนวรบด้านตะวันออก:กองทัพเยอรมันมุ่งหน้าไปยังเมืองรอสตอฟ,ปฏิบัติการสีน้ำเงินเริ่มต้นขึ้น โดยมีเป้าหมายที่จะยึดครองสตาลินกราดและเทือกเขาคอเคซัส
กรกฎาคม
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ:ยุทธการแห่งเอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่งเริ่มต้นขึ้น รอมเมลเริ่มการโจมตีแนวตั้งรับของอังกฤษเป็นครั้งแรก แต่ต้องหยุดชงักเนื่องจากขาดแคลนเครื่องกระสุน
แนวรบด้านตะวันออก:กองทัพเยอรมันสามรถยึดเมืองซาเวสโตปอลได้สำเร็จเป็นการยุติการรบต้านทานของทหารโซเวียตในคาบสมุทรไครเมีย
เอเซียบูรพา:กองทัพญี่ปุ่นยึดเกาะกัวดาคาแนล
สิงหาคม
เอเชียบูรพา:ยุทธนาวีเกาะชาโวเกิดขึ้นใกล้กับเกาะกัวดาคาแนล เรือรบฝ่ายสัมพันธมิตรได้รับความเสียหายจำนวนหนึ่ง มหาตมะ คาธีถูกจับกุมตัว เนืองจากการก่อจลาจลในอินเดีย
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ:พลโท เบอร์นาร์ต มอนโกเมอรี ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการกองทัพที่แปดแห่งสหราชอาณาจักรในแอฟริกาเหนือ ยุทธการแห่งอลาม เอล ฮัลฟา ไม่ไกลจากดอล อาลาเมนเกิดขึ้นเป็นความพยายามที่จะเจาะทะลุแนวป้องกันของอังกฤษ
แนวรบด้านตะวันออก:จอมพล เกออร์กี้ จูคอฟ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการป้องกันในนครสตาลินกราด สตาลันกราดถูกทิ้งระเบิดอย่างหนักจากกองทัพอากาศเยอรมัน
ภาคพื้นยุโรป:ลักเซมเบิร์กถูกผนวกเข้ากับเยอมนีอย่างเป็นทางการ
กันยายน
แนวรบด้านตะวันออก:นครสตาลินกราดถูกปิดล้อมโดยกองทัพเยอรมัน,นายพล วาซิชี ซุยคอฟได้รับแต่งตั้งให้บัญชาการการป้องกันเมือง แดงทัพเยอรมันบางส่วนถูกผลักดันออกไป ทหารโซเวียตส่งกำลังข้ามแม่น้ำโวลก้าในยามค่ำคืน
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ:นายพลรอมเมลถูกส่งกลับเยอรมนีเพื่อรักษาตัว
ตุลาคม
เอเซียบูรพา:ยุธนาวีแห่งแหลมเอสเปอเรนซ์ ทางชายฝั่งด้านตะวันตกเฮียงเหนือของเกาะกัวดาคาแนลกองทัพเรือสหรัฐอเมริกาสามารถขัดขวางการเสริมกำลังทางเรือของญี่ปุ่นได้ ยุทธนาวีแห่งซานตา ครูซเริ่มต้นขึ้น ฝ่ายญี่ปุ่นได้เสริมกำลังของตนไปยังเกาะกัวดาคาแนล
แนวรับด้านตะวันออก:การรุกของกองทัพเยอรมันในสตาลินกราดหยุดชะงัก
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ:ยุทธการแห่งเอล อาลาเมนครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้น ฝ่ายสัมพันธมิตทิ้งระเบิดที่ตั้งของกองทัพเยอรมันอย่างหนัก นายพลรอมเมลถูกส่งตัวกลับไปบัญชาการรบที่เอล อาลาเมน แม้วาจะยังไม่หายจากอาการเจ็บป่วย ยามเกราะฝ่ายสัมพันธมิตรเจาะผ่านแนวตั้งรับของเยอรมนี่ ทุ่งระเบิดไม่ประสบผลในการรุกครั้งนี้
พฤศจิกายน
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ: ฝ่ายสัมพันธมิตรเร่มตีฝ่าออกจากเอล อาลาเมน กองทัพเยอรมันล่าถอยจากเอล อาลาเมนในยามค่ำคืน ปฏิบัติการคบเพลิง ทหารฝ่ายสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่อัลจีเรียและโมร็อกโก พลโทมอนโกเมอรี่เริ่มต้นการบุกที่โซลลุมตามแนวชายแดนลิเบีย-อียิปต์เขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นอัศวินและเลื่อนยศขึ้นเป็นพลเอก กองทัพที่แปดแห่งสหราชอาณากรปลดปล่อยนครโทรบรุค กองทัพอักฤษมุ่งหน้าต่อไปยังตูนิเซีย
เอเชียบูรพา:กองเรือสหรัฐอเมริกาสูญเสียอย่างหนักในยุทธนาวีรอบเกาะกัวดาแนลแต่ก็คงยังควบคุมน่านน้ำได้อยู่
แนวรบด้านตะวันออก:กองทัพโซเวียตภายใต้การบัญชการของจอมพล เกออร์กี จูคอฟ เริ่มต้น ปฏิบัติการยูเรนัสโดยมีเป้าหมายเพื่อโอบล้อมกองทัพเยอรมันในสตาลินกราด กองทัพเยอรมันถูกปิดล้อมที่นครสตาลินกราด ฮิตเลอร์สังนายพลลัสห้ามถอยทหารจานคร
ธันวาคม
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ:การรุกตูนิเซียของพันธมิตรหยุดชะงัก กองทัพเจอร์เกน ฟอนอาร์นิมเข้ารับตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุดในการป้องกันตูนิเซีย สภาพดินฟ้าอากาศเป็นอุปสรรคต่อฝ่ายพันธมิตร ในช่วงปลายเดือนสัมพันธมิตรวางแผนการบุกครั้งใหม่แต่ได้รับคำสั่งให้หยุดยั้งไว้ก่อน
แนวรบตะวันออก:ฝ่ายเยอรมนีเร่งส่งกองทหารไปยังรัสเซียพยายามอย่างยิ่งที่จะช่วยเหลือสตาลินกราดจการถูกล้อม กองทัพที่ 6 ในสตาลินกราดกำลังอดอยากและอ่อนแดเกินก่าจะตีฝ่าออกมาบรรจบกับกำลังที่ส่งมาช่วย ปฏิบัติการพายุฤดูหนาว กองพลแพนเซอร์ถูกย้ายมาสามกองพล ซึ่งเร่งรุดเคลื่อนที่จากโคเทลนีโคโวมุ่งสู่แม่น้ำอัคไซ แต่ถูกหยุดขณะห่างจากจุดหมาย 65 กิโลเมตร เพื่อเบนความสนใจ ฝ่ายโซเวียตตัดสินใจเข้าบทขยี้อิตาลีและขัดขวางความพยายามสับเปลี่ยนกำลังหากทำได้ โซเวีตสามารถทำลายอากาศยานจำนวนมากท่ีส่งกำลังบรรเทาไปยังสตาลินกราด
เอเซียบูรพา:ญี่ปุ่นบุกฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย ฮ่องกงตกเป็นของญี่ปุ่น
ญี่ปุ่นบุกยึดมะนิลา ยึดกัวลาวัมเปอร์,มาลายาประกาศสงครามกับเนเธอร์แลนด์และโจมตีหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของดัตช์ รุกรานอินโดนีเซีย ยกพลขึ้นบกที่เกาะเซลีเบส ญี่ปุ่นจับตัวทหารชาวอังกฤษจำนวนมากเป็นนักโทษในสิงคโปร์,ทัพญี่ปุ่นรุกรานหมู่เกาะโซโลมอน
ประเทศไทยประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร ทัพอเมริกันขึ้นเกาะมัว ซึ่งเป็นส่วนของแผนป้องกันการรุกคืบของญี่ปุ่นในสงครามมหาสมุทรแปซิฟิก กองกำลังอังกฤษถอนกำลังทั้งหมดไปยังสิงคโปร์ กองทัพอเมริกันกลุ่มแรกไปถึงยุโรป
บาซิลตัดสัมพันธ์กับฝ่ายอักษะ ฮิตเลอร์ปราศัยที่เบอร์ลิน เรื่องยิวกับการทำลายล้างชาวยิว รวมถึงแจ้งว่าความล้เหลวในการบุกโซเวียตเนื่องมาจากสภาพอากาศไม่ดี เยอรมันถอยทัพจากแนวรบด้านตตะวันออกหลายจุด
กุมภาพันธ์
แนวรบด้านตะวันออก:กองทัพเยอรมันในสหภาพโซเวียตถูกขับออกจากเคิร์สค์ ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญในแผนการของเยอรมนี,กองทัพเยอรมันในสหภาพโซเวียตถูกขับออกจาดเคิร์สค์ ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญในแผนการของเยอรมนี
เอเซียบูรพา:นายพลโจเซฟ สติลเวล ได้เป็นหัวหน้าที่ปรึกษาของเจียง ไคเช็ค ผู้บัญชาการสูงสุดของกองทัพสัมพันธมิตรในประเทศจีน กองทัพอากาศญี่ปุ่นมุ่งไปโจมตีเกาะชวา,ทัพอังกฤษเสริมกำลังพลไปยังสิงคโปร์เพื่อเตรียมการต่อสู้ครั้งสุดท้าย,สิงคโปร์ยอมจำนนต่อญี่ปุ่น เป้ฯความสูญเสียครั้งใหญ่ของทัพอังกฤษ ,กองทัพญี่ปุ่นข้ามแม่น้ำสาละวิน,ญี่ปุ่นรุกรานบาหลีและติมอร์,ประธานาธิปดีโรสเวลด์ออกคำสั่งให้นายพลดักลาส แมกอาเธอร์ถอนตัวออกจากฟิลิปปินส์,
สหรัฐอเมริกา:ผู้นำทางการทหารของสหรัฐอเมริกาประชุมอย่างเป็นทากการครั้งแรกเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ของกองทัพสหรัฐอเมริกา,แคนาดาประกาศเกณฑ์ทหาร,การกักตัวพลเมืองชาวอเมริกัน-ญี่ปุ่นเร่มต้นขึ้นในสหรัฐอเมริกาจากความวิตกที่เพิ่มมากขึ้น
แนวรบด้านตะวันออก:การรุกของกองทัพแดงในคาบสมุทรไครเมียเริ่มต้นขึ้น
เอเซียบูรพา:ญี่ปุ่นตีเมืองย่างกุ้งแตก,นาพลดักลาส แมกอาเธอร์ได้รับคำสังให้ถอนออกจากฟิลิปินส์ เขากล่าวถ้อยคำที่เป็นที่จดจำเอาไว้ว่า “แล้วผมจะกลับมา” i shall return กองทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกบนเกาะมินดาเนา,กองทัพญี่ปุนยกพลขึ้นบกบนหมู่เกาะโซโลมอน,นายพลแมกอาเธอร์เดินทางถึงออสเตรเลีย
ภาพพื้นยุโรป:มีการออกกฏหมายการเกณฑ์ทหารฉบับใหม่ในสหราชอาณาจักร ซึ่งรวมถึงชายหญิงทุกคนจนถึงอายุ 45 ปี , กองทัพอากาศอังกฤษส่งเครื่องบินไปทำลายเป้าหมายหลายแห่งในฝรั่งเศสและเยอรมนี
เมษายน
เอเซียบูรพา:กองทัพผสมอเมริกัน-ฟิลิปินส์ถูกปิดล้อมที่คาบสมุทรบาตาน,กองทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกที่เกาะนิวกินี,กองทัพเรือแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่นโจมตีกรุงโคลัมโบ บนเกาะศรีลังกา,กองทัพญี่ปุ่นยึดครองคาบสมุทรบาตาน เชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตรถูกบังคับใหเดินเท้าไปยังค่ายกักกันทางตอนเหนือ,กองทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกที่เกาะเซบู,
แนวรบต้านตะวันออก:กองทัพเยอรมันเริ่มการบุกในคาบสมุทรไครเมีย
พฤษภาคม
เอเซียบูรพา: แมนดาเลและเมืองท่าอื่นๆ ในพม่าอยูภายใต้การยึดครององญี่ปุ่น,ญี่ปุ่นยึดครองพม่าอย่างสมบูณ์
แนวรบตะวันออก:กองทัพโซเวียตเริ่มต้นการโจมตีครั้งใหญ่ที่เมืองคาร์คอฟ,มีการลงนาในสนธิสัญญาอังกฤษ-โซเวียตโดยทั้งสองฝ่ายตกลงว่าจจะไม่มีการลงนามเป็นพันธฒิตรกับชาติใดๆโดยต้องได้รับการับรองจากอีกฝ่ายหนึ่งก่อน,กองทัพเยอรมันได้รับชัยชนะที่เมืองคาร์คอฟ,
เม็กซิโกประกาศสงครามกับฝ่ายอักษะ,ยุทธนาวีทะเลคอรอลเริ่มต้นขึ้น,กองทัพอังกฤษเริ่มปฏิบัติการไอรอนแคลดโดยเริ่มบุกดามากัสการ์ของวิชีฝรั่งเศสเพื่อป้องกันการโจมตีจากจักรวรรดิญี่ปุ่น
มิถุนายน
เอเซียบูรพา:ยุทธนาวีแห่งมิดเวย์เริ่มต้นขึ้น,
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ: กองทัพเยอรมันขับไล่กองทัพสัมพันธมิตรออกจากแนวกาซาลา,กองทัพเยอรมันสามารถยึดเมืองโทรบรุคคืนได้ ,กองทัพอังกฟษล่าถอยไปยังอิยิปต์ด้วยขวัญกำลังใจที่ตกต่ำ,กองทัพอังกฤษล่าถอยไปยังเมืองเอล อาลาเมน ซึ่งอยู่ห่างจากนครอเล็กซานเดรีย 60 ไมล์เพื่อเตรียมตัวต่อสู้ครั้งสุดท้าย,กองทัพเยอรมันเคลื่อนพลถึงเอล อาลาเมน
แนวรบด้านตะวันออก:กองทัพเยอรมันมุ่งหน้าไปยังเมืองรอสตอฟ,ปฏิบัติการสีน้ำเงินเริ่มต้นขึ้น โดยมีเป้าหมายที่จะยึดครองสตาลินกราดและเทือกเขาคอเคซัส
กรกฎาคม
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ:ยุทธการแห่งเอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่งเริ่มต้นขึ้น รอมเมลเริ่มการโจมตีแนวตั้งรับของอังกฤษเป็นครั้งแรก แต่ต้องหยุดชงักเนื่องจากขาดแคลนเครื่องกระสุน
แนวรบด้านตะวันออก:กองทัพเยอรมันสามรถยึดเมืองซาเวสโตปอลได้สำเร็จเป็นการยุติการรบต้านทานของทหารโซเวียตในคาบสมุทรไครเมีย
เอเซียบูรพา:กองทัพญี่ปุ่นยึดเกาะกัวดาคาแนล
สิงหาคม
เอเชียบูรพา:ยุทธนาวีเกาะชาโวเกิดขึ้นใกล้กับเกาะกัวดาคาแนล เรือรบฝ่ายสัมพันธมิตรได้รับความเสียหายจำนวนหนึ่ง มหาตมะ คาธีถูกจับกุมตัว เนืองจากการก่อจลาจลในอินเดีย
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ:พลโท เบอร์นาร์ต มอนโกเมอรี ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการกองทัพที่แปดแห่งสหราชอาณาจักรในแอฟริกาเหนือ ยุทธการแห่งอลาม เอล ฮัลฟา ไม่ไกลจากดอล อาลาเมนเกิดขึ้นเป็นความพยายามที่จะเจาะทะลุแนวป้องกันของอังกฤษ
แนวรบด้านตะวันออก:จอมพล เกออร์กี้ จูคอฟ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการป้องกันในนครสตาลินกราด สตาลันกราดถูกทิ้งระเบิดอย่างหนักจากกองทัพอากาศเยอรมัน
ภาคพื้นยุโรป:ลักเซมเบิร์กถูกผนวกเข้ากับเยอมนีอย่างเป็นทางการ
กันยายน
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ:นายพลรอมเมลถูกส่งกลับเยอรมนีเพื่อรักษาตัว
ตุลาคม
เอเซียบูรพา:ยุธนาวีแห่งแหลมเอสเปอเรนซ์ ทางชายฝั่งด้านตะวันตกเฮียงเหนือของเกาะกัวดาคาแนลกองทัพเรือสหรัฐอเมริกาสามารถขัดขวางการเสริมกำลังทางเรือของญี่ปุ่นได้ ยุทธนาวีแห่งซานตา ครูซเริ่มต้นขึ้น ฝ่ายญี่ปุ่นได้เสริมกำลังของตนไปยังเกาะกัวดาคาแนล
แนวรับด้านตะวันออก:การรุกของกองทัพเยอรมันในสตาลินกราดหยุดชะงัก
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ:ยุทธการแห่งเอล อาลาเมนครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้น ฝ่ายสัมพันธมิตทิ้งระเบิดที่ตั้งของกองทัพเยอรมันอย่างหนัก นายพลรอมเมลถูกส่งตัวกลับไปบัญชาการรบที่เอล อาลาเมน แม้วาจะยังไม่หายจากอาการเจ็บป่วย ยามเกราะฝ่ายสัมพันธมิตรเจาะผ่านแนวตั้งรับของเยอรมนี่ ทุ่งระเบิดไม่ประสบผลในการรุกครั้งนี้
พฤศจิกายน
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ: ฝ่ายสัมพันธมิตรเร่มตีฝ่าออกจากเอล อาลาเมน กองทัพเยอรมันล่าถอยจากเอล อาลาเมนในยามค่ำคืน ปฏิบัติการคบเพลิง ทหารฝ่ายสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่อัลจีเรียและโมร็อกโก พลโทมอนโกเมอรี่เริ่มต้นการบุกที่โซลลุมตามแนวชายแดนลิเบีย-อียิปต์เขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นอัศวินและเลื่อนยศขึ้นเป็นพลเอก กองทัพที่แปดแห่งสหราชอาณากรปลดปล่อยนครโทรบรุค กองทัพอักฤษมุ่งหน้าต่อไปยังตูนิเซีย
เอเชียบูรพา:กองเรือสหรัฐอเมริกาสูญเสียอย่างหนักในยุทธนาวีรอบเกาะกัวดาแนลแต่ก็คงยังควบคุมน่านน้ำได้อยู่
แนวรบด้านตะวันออก:กองทัพโซเวียตภายใต้การบัญชการของจอมพล เกออร์กี จูคอฟ เริ่มต้น ปฏิบัติการยูเรนัสโดยมีเป้าหมายเพื่อโอบล้อมกองทัพเยอรมันในสตาลินกราด กองทัพเยอรมันถูกปิดล้อมที่นครสตาลินกราด ฮิตเลอร์สังนายพลลัสห้ามถอยทหารจานคร
ธันวาคม
สมรภูมิแอฟริกาเหนือ:การรุกตูนิเซียของพันธมิตรหยุดชะงัก กองทัพเจอร์เกน ฟอนอาร์นิมเข้ารับตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุดในการป้องกันตูนิเซีย สภาพดินฟ้าอากาศเป็นอุปสรรคต่อฝ่ายพันธมิตร ในช่วงปลายเดือนสัมพันธมิตรวางแผนการบุกครั้งใหม่แต่ได้รับคำสั่งให้หยุดยั้งไว้ก่อน
แนวรบตะวันออก:ฝ่ายเยอรมนีเร่งส่งกองทหารไปยังรัสเซียพยายามอย่างยิ่งที่จะช่วยเหลือสตาลินกราดจการถูกล้อม กองทัพที่ 6 ในสตาลินกราดกำลังอดอยากและอ่อนแดเกินก่าจะตีฝ่าออกมาบรรจบกับกำลังที่ส่งมาช่วย ปฏิบัติการพายุฤดูหนาว กองพลแพนเซอร์ถูกย้ายมาสามกองพล ซึ่งเร่งรุดเคลื่อนที่จากโคเทลนีโคโวมุ่งสู่แม่น้ำอัคไซ แต่ถูกหยุดขณะห่างจากจุดหมาย 65 กิโลเมตร เพื่อเบนความสนใจ ฝ่ายโซเวียตตัดสินใจเข้าบทขยี้อิตาลีและขัดขวางความพยายามสับเปลี่ยนกำลังหากทำได้ โซเวีตสามารถทำลายอากาศยานจำนวนมากท่ีส่งกำลังบรรเทาไปยังสตาลินกราด
เอเซียบูรพา:ญี่ปุ่นบุกฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย ฮ่องกงตกเป็นของญี่ปุ่น
วันอาทิตย์ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:Arika Korps
สมรภูมิแอฟริกา ในแอฟริกาเหนือ “ลิเบีย” เป็นอาณานิคมของอิตาลีและ “อียิปต์” ซึ่งมีพรมแดนติดกันเป็นอาณานิคมของจัรวรรดิอังกฤษ จึงทำให้กองทัพอิตาลีและอังกฤษเริ่มทำสงครามกันอย่างเต็มรูปแบบ สมรภูมิแอฟริกาเป็นพื้นดินโล่งสุดลูกหูลูกตา ไม่มีที่กำบัง ไม่มีพลซุ่มยิง สู่กันด้วยกองพลยานเกราะและยุทธวิธี เป็นการประจันหน้า โดยมีกลยุทธเป็นปัจจัยสำคัญในการตัดสินแพ้ชนะในกานยุทธแต่ละครั้ง
รอมเมลเป็นหนึ่งในนายพลไม่กี่คนที่ได้รับการยอมรับนับถือทั้งจากทหารเยอรมันและฝ่ายสัมพันธมิตร ชื่อของรอมเมลสามารถทำให้ฝ่ายตรงข้ามถึงขั้นสติแตกเมืองรู้ว่าจะต้องรบกับ ทัพ Arika Kops ที่บัญชาการโดยนายพล รอมเมล เพราะคิดว่าไม่สามารถเอาชนะได้ ขวัญกำลังใจของทหารอังกฤษยิ่งทรุดหนักเมื่อนายพล วิลเลี่ยม ก็อทผู้บังคับบัญชา กำลังหลักของอังกฏษคือ “กองทัพที่ 8” เสียชีวิตจากการที่เครื่องบินโดยสารถูกทัพอากาศเยอรมันยิงตก และเป็นการเปิดโฉมหน้าคู่ปรับคนสำคัญของรอมเมล คือ นายพล “เบอร์นาร์ด มอนโกมอรี่”
สมารภูมิอียิปต์ ฮิตเลอร์แต่งตั้ง รอมเมลขุนพลหนุ่มแห่งเยอรมันเป็นผู้บัชาการกองทัพรถถัง 2 กองพลแล้วสั่งให้ให้มาช่วยการปราชัยของอิตาลีให้เร็วที่สุด รอมเมลประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็ว กองทัพอังกฤษหยุดทัพเนื่องจากรัฐบาลอังกฤษสั่งให้หยุดทัพ รอมเมลจึงตัดสินใจใช้กำลังที่มีอยู่ในขณะนั้นเข้าโจมตี การวิเคราะห์สถานะการณ์ที่แม่นยำแสดงออกให้เป็นในวันที่ 2 เมษา 1941 รอมเมลเริ่มบุกต่อไปทั้งๆ ที่มีคำสั่งให้หยุดเป็นเวลา 2 เดือน โดยบุกทั้งที่มีรถถังเพียง 50 คัน อับทหารอิตาลีซึ่งส่งเข้ามาใหม่ เพียง 2 กองพลเท่านั้น กอังกฤษนอกจากจะต้องถอนตัวออกไปจากเบงกาห์ซีแล้ว ในวันต่อมาต้องถอนตัวเข้าไปในอียิปต์ระหว่างทางที่อังกฤษถอยหนีกองทัพของรอมเมล อังกฤษต้องสูญเสียรถถังไปเป็นจำนวนมากและในวันที่ 7 เมษา กองทัพรถถังจำนวนมากของอังกฤษที่เมชิลีต้องยอมแพ้กองทัพของรอมเมล และในวันที่ 11 เมษา ทุกแห่งในไซเรนา ยกเว้นโทรบรุค ถูกกองทัพของรอมมเลยึดครอง
ทั้งหมด
กองกำลังแพนเซอร์ Panzer ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการ บลิทคลิทซ์ Blktakrieg ซึ่งมีความเร็ว(speed) ยกพลขึ้นบกที่แอฟริการเหนือ รอมเมลใช้หน่วยนานเกราะที่ชื่อในการรบนามว่า กองพลยานเกราะที่ 21 The 21st Panzer Division ซึ่งในขณะนั้นใช้ชื่อหน่วนว่า กองพลเบาที่ 5 ร่วมกับหร่วย Panzer คือกองพลยานเกราะที่ 15 และกองพลเบาที่ 50 โจมต เอลกากลีล่า แม้ว่าทหารเยอรมัน จะติดอยู่ในสนามทุ่นระเบิดของฝ่ายอังกฤษ แต่ด้วยความตกใจ ฝ่ายอังกฤษทำอะไรไม่ถูกกลับเป็นฝ่ายถูกเยอรมันโจมตีและยึดที่หมาย
สมรภูมทะเลทรายด้านตะวันตก 18 พฤศจิกายน 1941 กองกำลังอังกฤษเข้าโจมตีกองทัพรถถังของรอมเมลอย่างรุนแรงใน "ปฏิบัติการศักดิ์สิทธิ์" อังกฤษมีจำนวนรถถังมากว่าถึง 2:1 เคื่องบินสนับสนุน 4:1 แต่รถถังของรอมเมลบางคันติดปืนขนาดใหญ่กว่าและทุกเชียวชาญในการรบ การบุกของอังกฤษจึงไม่เกิดผล อังกฤษานำกำลังรถถังมาเสริมเพื่อให้มีจำนวนมากขึ้น อังกฤษทำการกดดันเยอรมันอย่างหนักตลอดสองสัปดาห์ รอมเมลจำต้องถอนกองทัพออกจากไซเรนนิกาเข้าไปยังอาเกบาเดีย รอมเมลทำการเสริมสร้างกองทัพตนให้เข้มแข็งและพร้อมที่จะผลักดันอังกฤษ โดยที่อังกฤษยังเข้าใจว่ากองทัพเยอรมันยังคงบอบช้ำจากการโจมตีครั้งก่อนรอมเมลชิงจะหวังลงมือโจมตีอังกฤษก่อนกระทั่งกองทัพอังกฤษต้งอถอยหนีไปยังแนวป้องกันกาซาลาทางตะวันตกของป้อมปืนโทรบรุค
กองทัพของทั้งสองฝายต่างเร่งสร้างเสริมกำลัง กองทัพอังกฤษได้รับคำสังให้โจมตีกองทัพรอมเมลและเป็นอีกครั้งที่รอมเมลลงมือตัดหน้าก่อนทัพอังกฤษ การบุกโจมตีครั้งแรกของรอมเมลสามารถทำลายรถถังของอังกฤษตรงจุดอ่อนไ้ด้จำนวนหนึ่ง แต่ไม่สามารถตีฝ่าเข้าไปถึงชายฝั่งทะเลหลังแนวกาลาซา นอกจากนี้ กองทัพที่ 8 ของอังกฤษยังมีรถถังแกรนท์แบบใหม่ผลิตในอเมริกาไว้ใช้ ตอิปืนขนาด 75 มม.ซึ่งสร้างความตระหนกในแก่รอมเมล การปะทะกันเป็นไปอย่างดุเดือด ในเวลาต่อมารอมเมลบำเข้าโจมตีอีกครั้งแต่ไม่สามรถฝ่าเข้าไปถึงชายฝั่งทะเลได้ รอมเมลจึงตัดสินใจเป็นฝ่ายตั้งรับ ซึ่งตรงนี้่ได้ผล การบุกโจมตีของฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นการเข้าโจมตีของรถถังกลุ่มเล็กๆ ซึ่งง่ายต่อการทำลายแนวโจมตี ในขณะที่รอมเมลสร้างความปลอดภัยให้กับส่วนหลังของกองทัพของตนกับเส้นทางลำเลียงปัจจัยโดยการสกัดรถถังอังฏฟษไว้ที่ ไซได มุฟตาห์ และบริอากีบ
ก่อนการรบอังกฤษมีรถถัง 700 คันและรถถังสำรอง 200 คันโดยที่รอมเมลมีรถถัง 545 คัน มิถนายนจำนวนรถถังอังกฤษเหลือเพียง 170 คันหลังจากการใช้ยุทธวิธีของรอมเมลในการตั้งรับที่แนวคอลดรอน และรถถังสำรอง 200 คันถูกกองทัพรอมเมลถล่มจนพินาศ 13 มิถุนายน 1942 อังกฤษเหลือรถถังเพียง 70 คันในขณะที่รอมเมลพร้อมรถถังที่เหลืออีก 150 คันกลายเป็นเจ้าสมรภูมิในที่สุด
รอมเมลเป็นหนึ่งในนายพลไม่กี่คนที่ได้รับการยอมรับนับถือทั้งจากทหารเยอรมันและฝ่ายสัมพันธมิตร ชื่อของรอมเมลสามารถทำให้ฝ่ายตรงข้ามถึงขั้นสติแตกเมืองรู้ว่าจะต้องรบกับ ทัพ Arika Kops ที่บัญชาการโดยนายพล รอมเมล เพราะคิดว่าไม่สามารถเอาชนะได้ ขวัญกำลังใจของทหารอังกฤษยิ่งทรุดหนักเมื่อนายพล วิลเลี่ยม ก็อทผู้บังคับบัญชา กำลังหลักของอังกฏษคือ “กองทัพที่ 8” เสียชีวิตจากการที่เครื่องบินโดยสารถูกทัพอากาศเยอรมันยิงตก และเป็นการเปิดโฉมหน้าคู่ปรับคนสำคัญของรอมเมล คือ นายพล “เบอร์นาร์ด มอนโกมอรี่”
สมารภูมิอียิปต์ ฮิตเลอร์แต่งตั้ง รอมเมลขุนพลหนุ่มแห่งเยอรมันเป็นผู้บัชาการกองทัพรถถัง 2 กองพลแล้วสั่งให้ให้มาช่วยการปราชัยของอิตาลีให้เร็วที่สุด รอมเมลประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็ว กองทัพอังกฤษหยุดทัพเนื่องจากรัฐบาลอังกฤษสั่งให้หยุดทัพ รอมเมลจึงตัดสินใจใช้กำลังที่มีอยู่ในขณะนั้นเข้าโจมตี การวิเคราะห์สถานะการณ์ที่แม่นยำแสดงออกให้เป็นในวันที่ 2 เมษา 1941 รอมเมลเริ่มบุกต่อไปทั้งๆ ที่มีคำสั่งให้หยุดเป็นเวลา 2 เดือน โดยบุกทั้งที่มีรถถังเพียง 50 คัน อับทหารอิตาลีซึ่งส่งเข้ามาใหม่ เพียง 2 กองพลเท่านั้น กอังกฤษนอกจากจะต้องถอนตัวออกไปจากเบงกาห์ซีแล้ว ในวันต่อมาต้องถอนตัวเข้าไปในอียิปต์ระหว่างทางที่อังกฤษถอยหนีกองทัพของรอมเมล อังกฤษต้องสูญเสียรถถังไปเป็นจำนวนมากและในวันที่ 7 เมษา กองทัพรถถังจำนวนมากของอังกฤษที่เมชิลีต้องยอมแพ้กองทัพของรอมเมล และในวันที่ 11 เมษา ทุกแห่งในไซเรนา ยกเว้นโทรบรุค ถูกกองทัพของรอมมเลยึดครอง
ทั้งหมด
กองกำลังแพนเซอร์ Panzer ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการ บลิทคลิทซ์ Blktakrieg ซึ่งมีความเร็ว(speed) ยกพลขึ้นบกที่แอฟริการเหนือ รอมเมลใช้หน่วยนานเกราะที่ชื่อในการรบนามว่า กองพลยานเกราะที่ 21 The 21st Panzer Division ซึ่งในขณะนั้นใช้ชื่อหน่วนว่า กองพลเบาที่ 5 ร่วมกับหร่วย Panzer คือกองพลยานเกราะที่ 15 และกองพลเบาที่ 50 โจมต เอลกากลีล่า แม้ว่าทหารเยอรมัน จะติดอยู่ในสนามทุ่นระเบิดของฝ่ายอังกฤษ แต่ด้วยความตกใจ ฝ่ายอังกฤษทำอะไรไม่ถูกกลับเป็นฝ่ายถูกเยอรมันโจมตีและยึดที่หมาย
สมรภูมทะเลทรายด้านตะวันตก 18 พฤศจิกายน 1941 กองกำลังอังกฤษเข้าโจมตีกองทัพรถถังของรอมเมลอย่างรุนแรงใน "ปฏิบัติการศักดิ์สิทธิ์" อังกฤษมีจำนวนรถถังมากว่าถึง 2:1 เคื่องบินสนับสนุน 4:1 แต่รถถังของรอมเมลบางคันติดปืนขนาดใหญ่กว่าและทุกเชียวชาญในการรบ การบุกของอังกฤษจึงไม่เกิดผล อังกฤษานำกำลังรถถังมาเสริมเพื่อให้มีจำนวนมากขึ้น อังกฤษทำการกดดันเยอรมันอย่างหนักตลอดสองสัปดาห์ รอมเมลจำต้องถอนกองทัพออกจากไซเรนนิกาเข้าไปยังอาเกบาเดีย รอมเมลทำการเสริมสร้างกองทัพตนให้เข้มแข็งและพร้อมที่จะผลักดันอังกฤษ โดยที่อังกฤษยังเข้าใจว่ากองทัพเยอรมันยังคงบอบช้ำจากการโจมตีครั้งก่อนรอมเมลชิงจะหวังลงมือโจมตีอังกฤษก่อนกระทั่งกองทัพอังกฤษต้งอถอยหนีไปยังแนวป้องกันกาซาลาทางตะวันตกของป้อมปืนโทรบรุค
กองทัพของทั้งสองฝายต่างเร่งสร้างเสริมกำลัง กองทัพอังกฤษได้รับคำสังให้โจมตีกองทัพรอมเมลและเป็นอีกครั้งที่รอมเมลลงมือตัดหน้าก่อนทัพอังกฤษ การบุกโจมตีครั้งแรกของรอมเมลสามารถทำลายรถถังของอังกฤษตรงจุดอ่อนไ้ด้จำนวนหนึ่ง แต่ไม่สามารถตีฝ่าเข้าไปถึงชายฝั่งทะเลหลังแนวกาลาซา นอกจากนี้ กองทัพที่ 8 ของอังกฤษยังมีรถถังแกรนท์แบบใหม่ผลิตในอเมริกาไว้ใช้ ตอิปืนขนาด 75 มม.ซึ่งสร้างความตระหนกในแก่รอมเมล การปะทะกันเป็นไปอย่างดุเดือด ในเวลาต่อมารอมเมลบำเข้าโจมตีอีกครั้งแต่ไม่สามรถฝ่าเข้าไปถึงชายฝั่งทะเลได้ รอมเมลจึงตัดสินใจเป็นฝ่ายตั้งรับ ซึ่งตรงนี้่ได้ผล การบุกโจมตีของฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นการเข้าโจมตีของรถถังกลุ่มเล็กๆ ซึ่งง่ายต่อการทำลายแนวโจมตี ในขณะที่รอมเมลสร้างความปลอดภัยให้กับส่วนหลังของกองทัพของตนกับเส้นทางลำเลียงปัจจัยโดยการสกัดรถถังอังฏฟษไว้ที่ ไซได มุฟตาห์ และบริอากีบ
ก่อนการรบอังกฤษมีรถถัง 700 คันและรถถังสำรอง 200 คันโดยที่รอมเมลมีรถถัง 545 คัน มิถนายนจำนวนรถถังอังกฤษเหลือเพียง 170 คันหลังจากการใช้ยุทธวิธีของรอมเมลในการตั้งรับที่แนวคอลดรอน และรถถังสำรอง 200 คันถูกกองทัพรอมเมลถล่มจนพินาศ 13 มิถุนายน 1942 อังกฤษเหลือรถถังเพียง 70 คันในขณะที่รอมเมลพร้อมรถถังที่เหลืออีก 150 คันกลายเป็นเจ้าสมรภูมิในที่สุด
วันเสาร์ที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:Erwin Johannes Eugen Rommel
ในสงครามโลกครั้งที่ 1 รอมเมล เป็นหัวหน้ากองร้อยเนื่องจากหัวหน้าคนเดิมเสียชีวิต เป็นหัวหน้านำหมู่โจมตีกองทัพฝรั่งเศสสำเร็จด้วยความสามารถ และความชาญฉลาด ซึ่งทไห้ได้รับเครื่องอิสริยาภรณ์ “กางเขนเหล็กชั้น 2” แต่ได้รับบาดเจ็บโดนกระสุนที่ขา หลังจากนั้นได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ “กางเขนเหล็กชั้น 1” ขณะที่มียศร้อยโท ในครานั้นรอมเมลได้รับคำสั่งลาดตระเวนแนวรบฝรังเศสและเมื่อปะทะกับทัพฝรั่งเศส ด้วยการนำทีมของเขาเองสามารถตีทัพฝรั่งเศสแตกพ่ายไป จากนั้นได้ยายไปประจำกองพันทหารภูเขาซี่งเป็นหน่วนงานใหม่ ที่ต้องใช้ความสามรถและขอบข่ายภารภารกิจที่มากกว่าทหารราบธรรมดา
จากการนำกองร้อบชนะกองทัพรูเมเนีย จับเชลยศึกได้เป็นจำนวนกว่าพันคน และยึดอาวุธยุทโธปกรณ์ได้อีกจำนวนหนึ่งจึงทำให้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ โพ เลอ เมรีท ซึ่งเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์สูงสุดทางทหารที่มีแต่ชั้นนายพลเท่านั้นที่จะได้ จากนั้นเยอรมันแพ้สงคราม
รอมเมล รับราชการเป็นอาจารย์สอนโรงเรียนการทหารราบ เขาได้เลื่อยยศเป็ฯพันตรี ขณะที่อายุเพียง 40 ปี เป็นนายทหารชั้นพันที่อายุน้อยมาก เขาได้รับเลื่อนยศเป็นพันโท พร้อมได้รับแต่งตั้งเป็นคณบดีมหาวิทยาลัยวิชาการทหารที่ปอตสดัม
ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศเยอรมนีมีการแก่งแย่งกันที่จะเป็นผู้นำประเทศกันอย่างดุเดือด ระหว่างพรรคนาซี กับคณะนายพล รอมเมลถูกทาบทามให้เป็นคนใกล้ชิดกับฮิตเลอร์ ในปี 1938 รอมเมล ได้รับแต่งตั้งเป็ฯพันเอกเต็มขั้นและรอมเมลก็เป็นผู้ก่อตั้งทัพยานเกราะเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่ 2
รอมเมลได้รับหน้าที่บุกโปแลนด์ เบลเยี่ยม และฝรั่งเศสและได้รับชัยชนะในที่สุด รอมเมลได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์หลายชั้นตั้งแต่ชั้นอัศวินไปจนถึงกางเขนเหล็ก ภายหลังฝรั้งเศสยอมแพ้ รอมเมลได้เลื่อนยศเป็นพลโท ในเดือนมกรคม 1941 และอีก 1 เดือนต่อมาเขาต้องเดินทางกลับเบอร์ลิน เพื่อรับตำแหน่งผู้บัญชาการกองทัพเยรมนีในแอฟริกา
สมรภูมิทะเลทราย เป็นการใช้การวางแผนที่ชาญฉลาด ในทะเลทรายอันเวิ้งวางในการพิชิตศึก รอมเมลสามารถเอาชนะทัพอังกฤษในสงครามทะเลทรายโดยตลอด เชอร์ชิล ได้กล่าวไว้ในที่ประชุมนายทหารอังกฤษว่า “เรากำลังเผชิญกับศัตรูที่น่าเกรงขามที่สุด ..และบางที่อาจเป็นสงครามแห่งมหาวินาศโดยแท้ เพราะนายพลผู้ยิ่งยงผุ้นี้เพียงคนเดียว”
การรบในทะเลทรายดำเนินการฝ่านไปเรื่อยๆ กองทัพเยอรมันเริ่มขาดแคลนเสบียง ยุทโธปกรณ์และน้ำมันที่จะเป็น เส้นทางลพเลียงถูกทัพอังกฤษตัดขาดเยิรมันยิ่งขาดแคลนขึ้นอีก กำลังใจของกำลังพลลดลงทุกขณะ..ในที่สุดอังกฤษส่งนายพลเบอนาร์ด มอนต์โกเมอรี่ มาสยบ แต่ในการพ่ายศึกครั้งนี้ เนื่องจากฮิตเลอร์ไม่ใส่ใจในการรบในสมรภูมิทะเลทราย ฮิตเลอร์ในขณะนั้นสนใจในการบุกรัสเซีย ซึงกลับมาทุ่มกำลังในช่วงที่ใกล้แพ้ศึกในสมรภูมิทะเลทรายแต่ก็ไม่ทันการณ์
รอมเมลมีรายชื่ออยู่ใน กลุ่มพลังต่อต้านฮิตเลอร์ ซึ่งเกิดจากคณะนายทหารทีเห็นท่าที่ว่าเยอรมันจะแพ้ในสงคราม รถของรอมเมลถูกเครื่องบินกองทัพอังกฤษโหมกระสุนใส่จนรถเกิดพลิกคว่ำ รอมเมลเกือบเสียชีวิต และขณะนั้น ฝ่ายปฏิวัติฮิตเลอร์ เริ่มปฏิบัติการด้วยการวาระเบิดรัฐสภาแต่ล้มเหลว ฮิตเลอร์ได้รับบาดเจ็บเพียงเล็กน้อย ฮิตเลอร์แค้นเคืองมาก และสืบหาผู้บงการที่อยู่เบื้องหลัง
รอมเมลรู้ตัวว่าถูกจับตาจากตำรวจลับที่ได้ชื่อว่าเหี้ยมโหดทีสุดของเยอรมันซึง่บัญชาการโดยนายพลเกอริง
และต่อมา พนายพลเบอร์กดอล์ฟ และนายพลไมเซล ได้นำเงื่อนไขของฮิตเลอร์ส่งมาให้ว่าจะยอมถูกไต่สวนโดยศาลประชาชนหรือกินยาพิษ ซึ่งรอมเมลคิดว่าถ้าเลื่อกข้อแรกเขาพอจะเดาออกว่าผลการตัดสินก็คือ “ประหารชีวิต”ในข้อหาทรยศต่อชาติ..เขาจึงเลือกอย่างที่สอง
พิธีศพของรอมเมล ถูกจัดขึ้นอย่างสมเกียรติ รอมเมลเป็นที่รักของประชาชนคำสดุดีถูกจัดทำขึ้นโดยฮิตเลอร์ใจความว่า “จอมพลรอมเมลถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 1944 เนื่องจากได้รับบาดเจ็บสาหัสในคราวรถยนต์ประสบอุบัติเหตุ เมื่อคราวเดินทางกลับจากตรวจแนวรบด้านตะวันตก..การสูญเสียรอมเมลก็เท่ากัยได้สุญเสียนายทหารคนสำคัญคนหนึ่ง ในการต่อสู้กับชะตากรรมที่ชาวเยอรมันทั้งปวงกำลังเผชิญอยู่ในขณะทนี้นั้น ชื่อนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งยวด เป็นเสมือนศูนย์รวมของความกล้าหาญและความองอาจไม่กลัวตาย”
จากการนำกองร้อบชนะกองทัพรูเมเนีย จับเชลยศึกได้เป็นจำนวนกว่าพันคน และยึดอาวุธยุทโธปกรณ์ได้อีกจำนวนหนึ่งจึงทำให้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ โพ เลอ เมรีท ซึ่งเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์สูงสุดทางทหารที่มีแต่ชั้นนายพลเท่านั้นที่จะได้ จากนั้นเยอรมันแพ้สงคราม
รอมเมล รับราชการเป็นอาจารย์สอนโรงเรียนการทหารราบ เขาได้เลื่อยยศเป็ฯพันตรี ขณะที่อายุเพียง 40 ปี เป็นนายทหารชั้นพันที่อายุน้อยมาก เขาได้รับเลื่อนยศเป็นพันโท พร้อมได้รับแต่งตั้งเป็นคณบดีมหาวิทยาลัยวิชาการทหารที่ปอตสดัม
ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศเยอรมนีมีการแก่งแย่งกันที่จะเป็นผู้นำประเทศกันอย่างดุเดือด ระหว่างพรรคนาซี กับคณะนายพล รอมเมลถูกทาบทามให้เป็นคนใกล้ชิดกับฮิตเลอร์ ในปี 1938 รอมเมล ได้รับแต่งตั้งเป็ฯพันเอกเต็มขั้นและรอมเมลก็เป็นผู้ก่อตั้งทัพยานเกราะเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่ 2
รอมเมลได้รับหน้าที่บุกโปแลนด์ เบลเยี่ยม และฝรั่งเศสและได้รับชัยชนะในที่สุด รอมเมลได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์หลายชั้นตั้งแต่ชั้นอัศวินไปจนถึงกางเขนเหล็ก ภายหลังฝรั้งเศสยอมแพ้ รอมเมลได้เลื่อนยศเป็นพลโท ในเดือนมกรคม 1941 และอีก 1 เดือนต่อมาเขาต้องเดินทางกลับเบอร์ลิน เพื่อรับตำแหน่งผู้บัญชาการกองทัพเยรมนีในแอฟริกา
สมรภูมิทะเลทราย เป็นการใช้การวางแผนที่ชาญฉลาด ในทะเลทรายอันเวิ้งวางในการพิชิตศึก รอมเมลสามารถเอาชนะทัพอังกฤษในสงครามทะเลทรายโดยตลอด เชอร์ชิล ได้กล่าวไว้ในที่ประชุมนายทหารอังกฤษว่า “เรากำลังเผชิญกับศัตรูที่น่าเกรงขามที่สุด ..และบางที่อาจเป็นสงครามแห่งมหาวินาศโดยแท้ เพราะนายพลผู้ยิ่งยงผุ้นี้เพียงคนเดียว”
การรบในทะเลทรายดำเนินการฝ่านไปเรื่อยๆ กองทัพเยอรมันเริ่มขาดแคลนเสบียง ยุทโธปกรณ์และน้ำมันที่จะเป็น เส้นทางลพเลียงถูกทัพอังกฤษตัดขาดเยิรมันยิ่งขาดแคลนขึ้นอีก กำลังใจของกำลังพลลดลงทุกขณะ..ในที่สุดอังกฤษส่งนายพลเบอนาร์ด มอนต์โกเมอรี่ มาสยบ แต่ในการพ่ายศึกครั้งนี้ เนื่องจากฮิตเลอร์ไม่ใส่ใจในการรบในสมรภูมิทะเลทราย ฮิตเลอร์ในขณะนั้นสนใจในการบุกรัสเซีย ซึงกลับมาทุ่มกำลังในช่วงที่ใกล้แพ้ศึกในสมรภูมิทะเลทรายแต่ก็ไม่ทันการณ์
รอมเมลมีรายชื่ออยู่ใน กลุ่มพลังต่อต้านฮิตเลอร์ ซึ่งเกิดจากคณะนายทหารทีเห็นท่าที่ว่าเยอรมันจะแพ้ในสงคราม รถของรอมเมลถูกเครื่องบินกองทัพอังกฤษโหมกระสุนใส่จนรถเกิดพลิกคว่ำ รอมเมลเกือบเสียชีวิต และขณะนั้น ฝ่ายปฏิวัติฮิตเลอร์ เริ่มปฏิบัติการด้วยการวาระเบิดรัฐสภาแต่ล้มเหลว ฮิตเลอร์ได้รับบาดเจ็บเพียงเล็กน้อย ฮิตเลอร์แค้นเคืองมาก และสืบหาผู้บงการที่อยู่เบื้องหลัง
รอมเมลรู้ตัวว่าถูกจับตาจากตำรวจลับที่ได้ชื่อว่าเหี้ยมโหดทีสุดของเยอรมันซึง่บัญชาการโดยนายพลเกอริง
และต่อมา พนายพลเบอร์กดอล์ฟ และนายพลไมเซล ได้นำเงื่อนไขของฮิตเลอร์ส่งมาให้ว่าจะยอมถูกไต่สวนโดยศาลประชาชนหรือกินยาพิษ ซึ่งรอมเมลคิดว่าถ้าเลื่อกข้อแรกเขาพอจะเดาออกว่าผลการตัดสินก็คือ “ประหารชีวิต”ในข้อหาทรยศต่อชาติ..เขาจึงเลือกอย่างที่สอง
พิธีศพของรอมเมล ถูกจัดขึ้นอย่างสมเกียรติ รอมเมลเป็นที่รักของประชาชนคำสดุดีถูกจัดทำขึ้นโดยฮิตเลอร์ใจความว่า “จอมพลรอมเมลถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 1944 เนื่องจากได้รับบาดเจ็บสาหัสในคราวรถยนต์ประสบอุบัติเหตุ เมื่อคราวเดินทางกลับจากตรวจแนวรบด้านตะวันตก..การสูญเสียรอมเมลก็เท่ากัยได้สุญเสียนายทหารคนสำคัญคนหนึ่ง ในการต่อสู้กับชะตากรรมที่ชาวเยอรมันทั้งปวงกำลังเผชิญอยู่ในขณะทนี้นั้น ชื่อนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งยวด เป็นเสมือนศูนย์รวมของความกล้าหาญและความองอาจไม่กลัวตาย”
วันศุกร์ที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:trusteeship of the powerful
เช้าของวันที่ 22 มิถุนายน 1941 ฝ่ายอักษะอันประกอบด้วย เยอรมัน อิตาลี รูเมเนีย เชโกสโลวะเกีย ฟินแลนด์ และฮังการีเข้าร่วมรบกับรุสเซีย โดยทำลายเครือข่ายสายโทรเลขในมณฑลทหารบกทางชายแดนด้านตะวันตกของสหภาพโซเวียตทั้งหมดเพื่อทำลายการติดต่อสือสารของโซเวียต กองพล 190 กองพลของเยอรมนี 10 กองพลของโรมาเนีย 9 กองพลน้อยของโรมาเนียและ 4 กองพลน้อยของฮังการีเข้าสมทบ
เพื่อสถาปนาความเป็นเจ้าอากาศลุฟท์วัฟเฟอร์เริ่มการเข้าโจมตีฉับพลัน ทำลายสนามบินโซเวีตและทำลายกองสนามบินกองทัพอากาศ เป็นเวลากว่าเดือนที่โซเวียตไม่สามารถหยุดยั้งการรุกของเยอรมัน กำลังแพนเซอร์โอบล้อมกองทหารโซเวียนนับแสนในวงล้อมขนาดใหญ่
เป้าหมายกองทัพกลุ่มเหนือ คือ เลนินกราด ผ่านรัฐบอลติก กองทัพกลุ่มแลง เคลื่อที่ไปทางเหนือและใต้ของเบรสท์ -ลีดอฟสก์และมาบรรจบกันทางตะวันออกองมินสก์ และข้ามแม่น้ำนเปอร์ ในวันที่ 11 กรกฎาคม และเข้ตีสโมเลนสก์ ได้ในวันที่ 16 กรกฎาแต่การต้านทานอย่างดุเดือดของโซเวียตในพื้นที่สโมเลนสก์และความล่ช้าในการุกทางเหนือและทางใต้บีบให้ฮิตเลอร์หยุดการผลักดันตรงกลางที่กรุงมอสโกและเบนกำลังกลุ่มแพนเซอร์ไปทางเหนือและใต้โดยกองทหารราบทกของกองทัพกลุ่มกลางแทบไม่เหนือการสนับสนุนจากยานเกราะในการดำเนินการรุกยุงมอสโก
การตัดสินใจนี้ก่อให้เกิดวิกฤตการณ์ภาวะผู้นำอย่างรุนแรง ผู้บังคับบัญชาสนามของเยอรมนีสนับสนุนการรุกไปยังกรุงมอสโกทันที่ทันใดแต่ฮิตเลอร์ปฏิเสธ โดยอ้างความสำคัญของทรัพยการเกษตรกรรม เชื่อกันว่ามีผลกระทบร้ายแรงต่อผลของยุทธการมอสโกโดยยอมเสียความเร็วในการุกคืบไปยังกรุงมอสโกไปโอบล้อมกองทหารโซเวียตขนาดใหญ่รอบเคียฟ…
เมื่อกลุ่มแพนเซอร์ที่ 1 เชื่อมกับส่วนใต้ของกองทัพกลุ่มใต้ที่อูมัน ก็สามารถจับเชลยโซเวียตได้กวา 100,000 นาย และเมื่อพลยานเกราะของกองทัพกลุ่มใต้ที่กำลังรุกคืบพบกับกลุ่มแพนเซอร์ในเดือนกันยายน ก็สามารถจับเชลยโซเวียตไปกว่า 400,000 คนเมื่อเคียฟยอมจำนน ในวันที่ 19 กันยายน
การสู้รบกับเยอรมนีเป็นเรื่องยากอย่างยิ่งสำหรับรุสเซีย แม้สหรัฐอเมริกาจะประกาศศึกกับญี่ปุ่นในเดือนธันวาคม เป็นการทำลายภาวะศึกกระหนาบข้างให้แก่รุสเซียแล้วก็ตาม เยอรมนียึดครองรุสเซียตะวันตก ซึ่งเป็นแหลงที่มีโรงงานผลิตยุทโธปกรณ์ กว่า 70 เปอร์เซ็นของทั้งประเทศ เมือสิ้นปี 1941 รุสเซียย้ายโรงงานอุตาสาหกรรมไปที่อินแดนตะวันออกของตนคือไซบีเรีย เอเชียกลาง ลุ่มน้ำโวลกาตอนล่างและบริเวณเทือกเขาอูราล
ชัยชนะที่ได้รับในการบุกรุสเซียเป็นชัยชนะที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความไม่แน่ใจในผลลัพท์เท่าใดนัก เพราะเยอรมนีเองก็เกรงว่า รุสเซียอาจบุกเปอร์เซียแล้วประสานงานแนวรบกับอังกฤษ อีกทั้งการรบรุกเองเริ่มเผชิญความยากลำบากในด้านการส่งกำลังบำรุง ฤดูหนาวก็บั่นทอนพลกำลังและขวัญกำลังใจของทหารมาก เยอรมนีได้ส่งทหารจากแนวรบตะวันตกสู่รุสเซียมากไม่ขาดสาย แต่การรบเองนั้นเริ่มขากการริเริ่มปฏิบัติการ กำลังทหารเพียงแต่รักษาที่มั่นประจำการมากกว่าจะรุกคืบหน้าเมื่อถึงคราวจำเป็น ทหารเยอรมันจึงจะรุก
ในการรบที่ดำเนินมานั้นรัสเซียใช้แผนการตั้งรับโดยดัดแปลงมาจาอดีตที่รุสเซียใช้กับสวีเดนและฝรั่งเศส โดยใช้ธรรมชาติเข้าช่วย ภูมิประเทศที่กว้างใหญ่ไพศาลเป็นผลดีต่อการใช้กลยุทธ์กองโจร และความหนาวเย็นจะบั่นทอนพลกำลังข้าศึกถึงขั้นเสียชีวิต ความหนาวเย็นจะทำให้การรบไม่สามารถดำเนินไปได้โดยสะดวก
ยอมสละพื้อที่บ้างเพื่อหวังยึดครองเมื่อเวลาผ่านไปกระทั่งศัตรูสิ้นสุดกำลังที่จะรักษาพื้นที่นั้น
ทำลายทุกอย่างมิให้เป็นประโยชน์แก่ข้าศึก
ดำเนินสงครามกองโจร
โฆษณาชวนเชื่อ ปลุกระดมมวลชนให้รักชาติ โดยใช้วัฒนธรรมเป็นสือให้เกิดสำนึกในเชื้อชาติเผ่าพันธ์และอดีตอันรุ่งโรจน์ของรุสเซีย ใช้ศาสนาเป็นเครื่องมือให้เกิดความสามมัคคีกัน และรณรงค์ลัทธินิยมเผ่าพันธ์สลาฟเพื่อเรียกร้องให้สลาฟในบอลข่านคุ้มครองรุสเซียดินแดนมาตุภูมิของชนเผ่าสลาฟ ตลอดจนการเปลี่ยนนโยบายของตนต่อไปอีด้วยการยินยอมให้ฝ่ายปฏิปักษ์ทางการเมืองเข้าร่วมการปกครองบ้านเมือง
รุสเซียเร้าใจผู้คนให้รักชาติยิ่งขึ้น ด้วยการวาดภาพเอยรมนีว่าเป็นผู้ที่จะมาเป็น “เจ้าเข้าครองรุสเซีย”กล่าวหาเยอรมันว่าทำสงครามอย่างไร้มนุษยธรรมโดยชี้ถึงการทารุณกรรมอย่างเหี้ยมโหดที่เยอรมันปฏิบัติต่อเชลยศึก
มหาพันธมิตร
อริชศัตรูทรงพลังกระทั่งรุสเซียตระหนักดีว่า ลำพังรุสเซียนั้นไม่อาจจะพิชิตศึกสงครามได้โดยง่าย รุสเซียต้องแสวงหาพันธมิตร รุสเซียจำเป็นต้องหันหลังให้อุดมการณ์ด้วยการทาบทามทางไม่ตรีจากอังกฤษและสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นผู้นำประเทศโลกทุนนิยม เพื่อจะให้เปิดแนวรบตะวันตกผ่อนคลายภารหนักที่รุสเซียต้องรับศึกเยอรมันในแนวรบตะวันออก และต้องการให้สหรัฐประกาศสงครามกับเยอรมันด้วย
อังกฤษและสหรัฐอเมริกาเองนั้นมิได้วางใจรับไมตรีรุสเซียเท่าที่ควรในชั้นต้น เพราะได้คาดประเมินการไว้ต่ำกว่าความเป็นจริงมากว่า ศักยภาพทางทหารของรุสเซียคงต่ำมากด้วยเหตุที่สตะลินกำจัดคู่แข่งทหารจนสิ้น ปฏิบัติการรบรุกแบบสายฟ้าแลยของเยอรมนีจึงสมารถจะพิชิตบดขยี้รุสเซียจนราบเป็นหน้ากลองได้โดยง่ายภายในสามเดือน
อังกฤษและสหรัฐฯก็ยังไม่ลืมว่า รุสเซียเองนั้นเคยเล่นบทบาทประทับใจ “พลิก”ความคาดหมายเพียงใด รุสเซียอาจเล่นบทบาทเหยียบเรือสองแคมโดยหวังทางไมตรีเยอรมนี่อีก มากว่าทางไมตรีจากอังกฤษและสหรัฐอเมริกา ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับรุสเซียอย่างระมัดระวัง โดยจำกัดความร่วมมือ อังกฤษลงนาในข้อตกลงความช่วยเหลือร่วมกับรุสเซีย ซึ่งระบุว่า จะไม่แยกทำสนธิสัญญาสันติภาพกับฝ่ายอักษะ ส่วนสหรัฐฯก็ทำข้อตกลงให้เช่ายืม ความร่วมมือที่จำกันเช่นนั้นย่อมไม่เพียงพอและไม่ทันกับภาวะคับขันที่รุสเซียเผชิญอยู่ รุสเซียเข้าตาจนถึงขั้นพร้อมที่จะขอกองทัพอังกฤษและสหรัฐอเมริกาไปช่วยตนรบภายในประเทศ แต่แล้วภาวะคับขันกลับค่อยคลี่คลายลงไปเองเมื่อสหรัฐอเมริกาเข้าสู่สงครามโลกเต็มตัวในเดือนธันวาคมและทุ่มความช่วยเหลือแก่รุสเซียเต็มที่ (ศัตรูของศัตรูคือเพื่อน) มหาพันธฒิตรเท่าที่ปรกกฎยืนอยู่บนพื้นฐานแห่งความเข้สใตอันดีว่า ศัตรูร่วมกันคือฝ่ายอักษะ แต่ก็เต็มไปด้วยความไม่จริงใจและระแวงต่อกัน ปัญหาที่ทำให้พันธมิตรยังคิดข้องใจในการกระทำของรุสเซีย คือ ปัญหาเรือ่งยุโรปตะวันออกและภูมิภาคทะเลบอลติก รุสเซียได้ยืนกรานมั่นคงที่จะเรียกร้องให้มีการแรบแนวพรมแดนในถูกต้องโดยระบุว่า ต้องเป็นการปรับตามแนวพรมแดนเดิมของรุสเซีย และต้องการให้โปแลนด์ขยายพรมแดนโดยได้ปรัสเซียตะวันออก ซึ่งเป็นการตัดดินแดนของเยอรมนีนั้นเอง พันธมิตรได้แต่รับพิจารณาโดยมิอาจยินยิมรับรองตามความต้องการของรุสเซีย โดยเฉพาะอังกฤษเองได้แสดงจุดยืนแน่วแน่ว่ารุสเซียจะผนวกโปแลนด์ตะวันออกและรูเมเนียไม่ได้ เมื่อการเจรจาหยุดชะงัก รุสเซียมิได้นิ่งนอนใจ ทำการเจรจาทางการทูตหาหนทางสร้างความมั่นคงแก่พรมแดนของตนต่อไป ด้วยการเจรจาทำสนธิสัญญาร่วมช่วยเหลือกัน กับเชโกสโลวะเกียและกับโปแลนด์
เมื่อสงครามดำเนินต่อไปในลักษณะที่เข้าสู่ภาวะคับขันมากขึ้น พันธมิตรก็จำต้องหันหน้ามาเจรจากับรุสเซียใหม่ โดยพยายามแก้ไขปัญหาที่ติดค้างอยู่คือ ปัญหายุโรปตะวันออกและภูมิภาคทะเลบอลติก เหล่าพันธมิตรจำต้องรับตู้ความต้องการของรุสเซียในดินแดนดังกล่าวโดยพฤตินัย และเพื่อเป็นการผู้มัดรุสเซีย อังกฤษได้ลงนามในสนธิสัญญาเป็นพันธมิตรกับรุสเซียในวันที่ 26 พฟษภาคม ปัญหายุโรปตะวันออก บอลข่านและภูมิภาคทะเลบอลติก ยังคงมีปรากฎและรุสเซียก็พร้อมที่จะรอคอยจังหวะเหมาะที่จะทำให้พันธมิตรต้องยอมรับความต้องการของรุสเวยในภายภาคหน้า สิ่งที่รุสเซียไม่เคยวางมือคือ เรื่องโปแลนด์ รุสเซียได้ตัดความสัมพันธ์กับรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลนด์ เพราะรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลนด์นี้ได้รับความอุปถัมจากพันธมิตร รุสเซียต้องการรัฐบาลโปแลนด์ที่เป็นคอมมิวนิสต์เพื่อสะดวกต่อการกลืนโปแลนด์ ปัญหาโปแลนด์เป็นจุดที่ชี้ชัดถึงการที่พันธมิตรต้องหวานอมขมกลืนกับพฤติกรรมรุสเซีย เพราะรุสเซียแสดงที่ท่าพร้อมที่จะหวนกลับไปสู่ความเป็นมิตรกับเยอรมนีอีกครั้งหนึ่ง เมือพันธมิตรไม่อาจรับปากรับคำที่จะเปิดแนวรบตะวันตก รุสเซยย่อมต้องดิ้นรนฝ่านคลายภาวะเสียวความั่นคงของตน ด้วยการหันไปหาเยอรมนีอีกครั้งหนึ่งเมือ่พันธมิตรไม่อาจรับปากที่จะเปิดแนวรบตะวันตก รุสเซียก็ย่อมต้องดิ้นรนผ่อนคลายภาวะเสี่ยงความมั่นคงของตน ด้วยการหันไปหาเยอรมนี เยอรมันได้ใช้ญี่ปุ่นเป็นคนกลางเจรจาหาทางทำสนธิสัญญาสันติภาพกับรุสเซีย การเจราทาบทามรุสเซียได้ดำเนินไปถึง 4 ครั้ง พร้อมๆ กับการที่การรบยังคงมีปรากฎในดินแดนรุสเซียเป็นเหตุให้พันธมิตรจำต้องปฏิบัติการยกพลขึ้นบกในทวีปแอฟริกาเหนือ
เพื่อสถาปนาความเป็นเจ้าอากาศลุฟท์วัฟเฟอร์เริ่มการเข้าโจมตีฉับพลัน ทำลายสนามบินโซเวีตและทำลายกองสนามบินกองทัพอากาศ เป็นเวลากว่าเดือนที่โซเวียตไม่สามารถหยุดยั้งการรุกของเยอรมัน กำลังแพนเซอร์โอบล้อมกองทหารโซเวียนนับแสนในวงล้อมขนาดใหญ่
เป้าหมายกองทัพกลุ่มเหนือ คือ เลนินกราด ผ่านรัฐบอลติก กองทัพกลุ่มแลง เคลื่อที่ไปทางเหนือและใต้ของเบรสท์ -ลีดอฟสก์และมาบรรจบกันทางตะวันออกองมินสก์ และข้ามแม่น้ำนเปอร์ ในวันที่ 11 กรกฎาคม และเข้ตีสโมเลนสก์ ได้ในวันที่ 16 กรกฎาแต่การต้านทานอย่างดุเดือดของโซเวียตในพื้นที่สโมเลนสก์และความล่ช้าในการุกทางเหนือและทางใต้บีบให้ฮิตเลอร์หยุดการผลักดันตรงกลางที่กรุงมอสโกและเบนกำลังกลุ่มแพนเซอร์ไปทางเหนือและใต้โดยกองทหารราบทกของกองทัพกลุ่มกลางแทบไม่เหนือการสนับสนุนจากยานเกราะในการดำเนินการรุกยุงมอสโก
การตัดสินใจนี้ก่อให้เกิดวิกฤตการณ์ภาวะผู้นำอย่างรุนแรง ผู้บังคับบัญชาสนามของเยอรมนีสนับสนุนการรุกไปยังกรุงมอสโกทันที่ทันใดแต่ฮิตเลอร์ปฏิเสธ โดยอ้างความสำคัญของทรัพยการเกษตรกรรม เชื่อกันว่ามีผลกระทบร้ายแรงต่อผลของยุทธการมอสโกโดยยอมเสียความเร็วในการุกคืบไปยังกรุงมอสโกไปโอบล้อมกองทหารโซเวียตขนาดใหญ่รอบเคียฟ…
เมื่อกลุ่มแพนเซอร์ที่ 1 เชื่อมกับส่วนใต้ของกองทัพกลุ่มใต้ที่อูมัน ก็สามารถจับเชลยโซเวียตได้กวา 100,000 นาย และเมื่อพลยานเกราะของกองทัพกลุ่มใต้ที่กำลังรุกคืบพบกับกลุ่มแพนเซอร์ในเดือนกันยายน ก็สามารถจับเชลยโซเวียตไปกว่า 400,000 คนเมื่อเคียฟยอมจำนน ในวันที่ 19 กันยายน
การสู้รบกับเยอรมนีเป็นเรื่องยากอย่างยิ่งสำหรับรุสเซีย แม้สหรัฐอเมริกาจะประกาศศึกกับญี่ปุ่นในเดือนธันวาคม เป็นการทำลายภาวะศึกกระหนาบข้างให้แก่รุสเซียแล้วก็ตาม เยอรมนียึดครองรุสเซียตะวันตก ซึ่งเป็นแหลงที่มีโรงงานผลิตยุทโธปกรณ์ กว่า 70 เปอร์เซ็นของทั้งประเทศ เมือสิ้นปี 1941 รุสเซียย้ายโรงงานอุตาสาหกรรมไปที่อินแดนตะวันออกของตนคือไซบีเรีย เอเชียกลาง ลุ่มน้ำโวลกาตอนล่างและบริเวณเทือกเขาอูราล
ชัยชนะที่ได้รับในการบุกรุสเซียเป็นชัยชนะที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความไม่แน่ใจในผลลัพท์เท่าใดนัก เพราะเยอรมนีเองก็เกรงว่า รุสเซียอาจบุกเปอร์เซียแล้วประสานงานแนวรบกับอังกฤษ อีกทั้งการรบรุกเองเริ่มเผชิญความยากลำบากในด้านการส่งกำลังบำรุง ฤดูหนาวก็บั่นทอนพลกำลังและขวัญกำลังใจของทหารมาก เยอรมนีได้ส่งทหารจากแนวรบตะวันตกสู่รุสเซียมากไม่ขาดสาย แต่การรบเองนั้นเริ่มขากการริเริ่มปฏิบัติการ กำลังทหารเพียงแต่รักษาที่มั่นประจำการมากกว่าจะรุกคืบหน้าเมื่อถึงคราวจำเป็น ทหารเยอรมันจึงจะรุก
ในการรบที่ดำเนินมานั้นรัสเซียใช้แผนการตั้งรับโดยดัดแปลงมาจาอดีตที่รุสเซียใช้กับสวีเดนและฝรั่งเศส โดยใช้ธรรมชาติเข้าช่วย ภูมิประเทศที่กว้างใหญ่ไพศาลเป็นผลดีต่อการใช้กลยุทธ์กองโจร และความหนาวเย็นจะบั่นทอนพลกำลังข้าศึกถึงขั้นเสียชีวิต ความหนาวเย็นจะทำให้การรบไม่สามารถดำเนินไปได้โดยสะดวก
ยอมสละพื้อที่บ้างเพื่อหวังยึดครองเมื่อเวลาผ่านไปกระทั่งศัตรูสิ้นสุดกำลังที่จะรักษาพื้นที่นั้น
ทำลายทุกอย่างมิให้เป็นประโยชน์แก่ข้าศึก
ดำเนินสงครามกองโจร
โฆษณาชวนเชื่อ ปลุกระดมมวลชนให้รักชาติ โดยใช้วัฒนธรรมเป็นสือให้เกิดสำนึกในเชื้อชาติเผ่าพันธ์และอดีตอันรุ่งโรจน์ของรุสเซีย ใช้ศาสนาเป็นเครื่องมือให้เกิดความสามมัคคีกัน และรณรงค์ลัทธินิยมเผ่าพันธ์สลาฟเพื่อเรียกร้องให้สลาฟในบอลข่านคุ้มครองรุสเซียดินแดนมาตุภูมิของชนเผ่าสลาฟ ตลอดจนการเปลี่ยนนโยบายของตนต่อไปอีด้วยการยินยอมให้ฝ่ายปฏิปักษ์ทางการเมืองเข้าร่วมการปกครองบ้านเมือง
รุสเซียเร้าใจผู้คนให้รักชาติยิ่งขึ้น ด้วยการวาดภาพเอยรมนีว่าเป็นผู้ที่จะมาเป็น “เจ้าเข้าครองรุสเซีย”กล่าวหาเยอรมันว่าทำสงครามอย่างไร้มนุษยธรรมโดยชี้ถึงการทารุณกรรมอย่างเหี้ยมโหดที่เยอรมันปฏิบัติต่อเชลยศึก
มหาพันธมิตร
อริชศัตรูทรงพลังกระทั่งรุสเซียตระหนักดีว่า ลำพังรุสเซียนั้นไม่อาจจะพิชิตศึกสงครามได้โดยง่าย รุสเซียต้องแสวงหาพันธมิตร รุสเซียจำเป็นต้องหันหลังให้อุดมการณ์ด้วยการทาบทามทางไม่ตรีจากอังกฤษและสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นผู้นำประเทศโลกทุนนิยม เพื่อจะให้เปิดแนวรบตะวันตกผ่อนคลายภารหนักที่รุสเซียต้องรับศึกเยอรมันในแนวรบตะวันออก และต้องการให้สหรัฐประกาศสงครามกับเยอรมันด้วย
อังกฤษและสหรัฐอเมริกาเองนั้นมิได้วางใจรับไมตรีรุสเซียเท่าที่ควรในชั้นต้น เพราะได้คาดประเมินการไว้ต่ำกว่าความเป็นจริงมากว่า ศักยภาพทางทหารของรุสเซียคงต่ำมากด้วยเหตุที่สตะลินกำจัดคู่แข่งทหารจนสิ้น ปฏิบัติการรบรุกแบบสายฟ้าแลยของเยอรมนีจึงสมารถจะพิชิตบดขยี้รุสเซียจนราบเป็นหน้ากลองได้โดยง่ายภายในสามเดือน
อังกฤษและสหรัฐฯก็ยังไม่ลืมว่า รุสเซียเองนั้นเคยเล่นบทบาทประทับใจ “พลิก”ความคาดหมายเพียงใด รุสเซียอาจเล่นบทบาทเหยียบเรือสองแคมโดยหวังทางไมตรีเยอรมนี่อีก มากว่าทางไมตรีจากอังกฤษและสหรัฐอเมริกา ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับรุสเซียอย่างระมัดระวัง โดยจำกัดความร่วมมือ อังกฤษลงนาในข้อตกลงความช่วยเหลือร่วมกับรุสเซีย ซึ่งระบุว่า จะไม่แยกทำสนธิสัญญาสันติภาพกับฝ่ายอักษะ ส่วนสหรัฐฯก็ทำข้อตกลงให้เช่ายืม ความร่วมมือที่จำกันเช่นนั้นย่อมไม่เพียงพอและไม่ทันกับภาวะคับขันที่รุสเซียเผชิญอยู่ รุสเซียเข้าตาจนถึงขั้นพร้อมที่จะขอกองทัพอังกฤษและสหรัฐอเมริกาไปช่วยตนรบภายในประเทศ แต่แล้วภาวะคับขันกลับค่อยคลี่คลายลงไปเองเมื่อสหรัฐอเมริกาเข้าสู่สงครามโลกเต็มตัวในเดือนธันวาคมและทุ่มความช่วยเหลือแก่รุสเซียเต็มที่ (ศัตรูของศัตรูคือเพื่อน) มหาพันธฒิตรเท่าที่ปรกกฎยืนอยู่บนพื้นฐานแห่งความเข้สใตอันดีว่า ศัตรูร่วมกันคือฝ่ายอักษะ แต่ก็เต็มไปด้วยความไม่จริงใจและระแวงต่อกัน ปัญหาที่ทำให้พันธมิตรยังคิดข้องใจในการกระทำของรุสเซีย คือ ปัญหาเรือ่งยุโรปตะวันออกและภูมิภาคทะเลบอลติก รุสเซียได้ยืนกรานมั่นคงที่จะเรียกร้องให้มีการแรบแนวพรมแดนในถูกต้องโดยระบุว่า ต้องเป็นการปรับตามแนวพรมแดนเดิมของรุสเซีย และต้องการให้โปแลนด์ขยายพรมแดนโดยได้ปรัสเซียตะวันออก ซึ่งเป็นการตัดดินแดนของเยอรมนีนั้นเอง พันธมิตรได้แต่รับพิจารณาโดยมิอาจยินยิมรับรองตามความต้องการของรุสเซีย โดยเฉพาะอังกฤษเองได้แสดงจุดยืนแน่วแน่ว่ารุสเซียจะผนวกโปแลนด์ตะวันออกและรูเมเนียไม่ได้ เมื่อการเจรจาหยุดชะงัก รุสเซียมิได้นิ่งนอนใจ ทำการเจรจาทางการทูตหาหนทางสร้างความมั่นคงแก่พรมแดนของตนต่อไป ด้วยการเจรจาทำสนธิสัญญาร่วมช่วยเหลือกัน กับเชโกสโลวะเกียและกับโปแลนด์
เมื่อสงครามดำเนินต่อไปในลักษณะที่เข้าสู่ภาวะคับขันมากขึ้น พันธมิตรก็จำต้องหันหน้ามาเจรจากับรุสเซียใหม่ โดยพยายามแก้ไขปัญหาที่ติดค้างอยู่คือ ปัญหายุโรปตะวันออกและภูมิภาคทะเลบอลติก เหล่าพันธมิตรจำต้องรับตู้ความต้องการของรุสเซียในดินแดนดังกล่าวโดยพฤตินัย และเพื่อเป็นการผู้มัดรุสเซีย อังกฤษได้ลงนามในสนธิสัญญาเป็นพันธมิตรกับรุสเซียในวันที่ 26 พฟษภาคม ปัญหายุโรปตะวันออก บอลข่านและภูมิภาคทะเลบอลติก ยังคงมีปรากฎและรุสเซียก็พร้อมที่จะรอคอยจังหวะเหมาะที่จะทำให้พันธมิตรต้องยอมรับความต้องการของรุสเวยในภายภาคหน้า สิ่งที่รุสเซียไม่เคยวางมือคือ เรื่องโปแลนด์ รุสเซียได้ตัดความสัมพันธ์กับรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลนด์ เพราะรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลนด์นี้ได้รับความอุปถัมจากพันธมิตร รุสเซียต้องการรัฐบาลโปแลนด์ที่เป็นคอมมิวนิสต์เพื่อสะดวกต่อการกลืนโปแลนด์ ปัญหาโปแลนด์เป็นจุดที่ชี้ชัดถึงการที่พันธมิตรต้องหวานอมขมกลืนกับพฤติกรรมรุสเซีย เพราะรุสเซียแสดงที่ท่าพร้อมที่จะหวนกลับไปสู่ความเป็นมิตรกับเยอรมนีอีกครั้งหนึ่ง เมือพันธมิตรไม่อาจรับปากรับคำที่จะเปิดแนวรบตะวันตก รุสเซยย่อมต้องดิ้นรนฝ่านคลายภาวะเสียวความั่นคงของตน ด้วยการหันไปหาเยอรมนีอีกครั้งหนึ่งเมือ่พันธมิตรไม่อาจรับปากที่จะเปิดแนวรบตะวันตก รุสเซียก็ย่อมต้องดิ้นรนผ่อนคลายภาวะเสี่ยงความมั่นคงของตน ด้วยการหันไปหาเยอรมนี เยอรมันได้ใช้ญี่ปุ่นเป็นคนกลางเจรจาหาทางทำสนธิสัญญาสันติภาพกับรุสเซีย การเจราทาบทามรุสเซียได้ดำเนินไปถึง 4 ครั้ง พร้อมๆ กับการที่การรบยังคงมีปรากฎในดินแดนรุสเซียเป็นเหตุให้พันธมิตรจำต้องปฏิบัติการยกพลขึ้นบกในทวีปแอฟริกาเหนือ
วันพฤหัสบดีที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:Oparation Babarossa
เป็นชื่อรหัสสำหรับแผนการบุกสหภาพโซเวีตของนาซีเยอรมนี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ปฏิบัติการเริ่มในวันที่ 22 มิถุนายน 1941 ซึ่งถูกตั้งตามพระนามของจักรพรรดิฟรีดริซ บาร์บารอสซา แห่งจักรวรรด์โรมันอันศักดิ์สิทธิ์ผู้นำสงครามครูเสดครั้งที่สาม
วัตถุประสงค์คือการพิชิตสหภาพโซเวียตทางภาคพื้นยุโรปทั้งหมด ตามแนวเส้นระหว่าง อัคอังเกลส์ก ที่อยู่ทางตอนเหนือของรัสเซีย ลงไปจนถึงเมืองอัสตราคาน ที่อยู่ริมสามเหลี่ยมปากแม่น้ำวอลกาโดยแนวนี้ถูกเรียกว่าแนว AA ปฏิบัติการบาร์บาราสซาไม่ประสบความสำเร็จอย่างที่ฮิตเลอร์คาดหวังไว้ ในทางยุทธวิธีแล้วกองทัพเยอรมันก่อให้เกิดความเสียหายใหญ่หลวงต่อสหภาพโซเวียต โดยการยึดครองพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญของประเทศเอาไว้
ปฏิบัติการบาร์บารอสซาเป็นปฏิบัติการเป็นปฏิบัติการทางการทหารที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ทั้งทางด้านกำลังพล พื้อนที่ปฏิบัติการและความสูญเสียที่เกิดขึ้นความล้มเหลวในยุทธการบาร์บารอสซาเป็ฯที่ถกเถียงกันว่าเป็นสาเหตุโดยรวมที่ทำให้นาซีเยอรมนีต้องประสบกับความพ่ายแพ้และเป็นจุดเปลี่ยนของนาซี
จากการเปิดฉากการโจมตีของนาซีทำให้เกิดการรบใหม่ขึ้น คือแนวรบด้านตะวันออกซึ่งเป็นยุทธบริเวณที่ใหย๋ที่สุดในโลกตราบจนปัจจุบัน ปฏิบัติการบาร์บาลอสกลายเป็นการรบครั้งยิ่งใหญ่ ความโหดร้ายการสูญเสียชีวิตปริมาณมหาศาล ซึ่งทั้งหมดได้ส่งปิทธิพลต่อสงครามโลกครั้งที่สอง และประวัติศาสตร์
นายทหารระดับสูงของกองทัพเยอรมมันได้ร่างบันทึกอันตรายที่จะเกิดขึ้นภายหลังการรุกรานสหภาพโซเวียตรวมไปถึงความคิดที่ว่ายูเครน เบโลรุสเซียและรัฐแถบบอลติกจะเป็นภาระใหญ่หลวงทางเศรษฐกิจต่อเยอรมนีส่วนนายทหารอีกพวกนึ่งได้แย้งว่าระบบรัฐบาลของโซเวียตจะไม่ได้รับผลกระทบและการยึดครองดังกล่วจะไม่กอ่ให้เกิดประโยชน์อันใดต่อเยอรมนี รวมไปถึงไม่เข้าใจว่าเหตุใดจึงต้องเข้าไปยุ่งกับพวกบอลเซวิคด้วยฮิตเลอร์ปฏิเสธความคิดเห็นทั้งหมด ปฏิบัติการบาร์บาลอสซาส่วนใหญ่เริ่มต้นมาจากความคิดของฮิตเลอร์เพียงผุ้เดียว บุคลากรทางการทหาและสมาชิกในพรรคนาซีแนะนำว่าควรที่จะจัดการกับเกาะบริเตนให้เสร็จสิ้นก่อนแล้วจึงค่อยเปิดการโจมตีสหภาพโซเวียตในแนวหน้าตะวันออก
ฮิตเลอร์โน้มน้าวบุคลากรของตน โดยกลาวว่า “ เราเพียงแค่ต้องถีบประตูลงมา แล้วอาคารที่เสื่อมโทรมทั้งอาคารก็จะถล่มลงมาด้วย” ฮิตเลอร์มั่นใจในศักยภาพเกินไปจจากการประบความสำเร็จอยางรวดเร็วในการรบในยุโรปตะวันตก อีกทั้งสบประมาทความสามารถของโซเวียตที่จะสู้รบในสงครามนอกฤดูหนาว
ปฏิบัติการลวงของเยอรมนีมีจุดประสงค์คือเพิ่มมูลความจริงให้ตรงกับคำอ้างของเยอรมนี่ว่าเกาะบริเตนคือเป้าหมายที่แท้จริง "ปฏิบัติการไฮฟิสก์”
รองแม่ทัพโซเวียต MaXim Purkayev ที่มาโทรศัพท์รายงาน สายลับได้เข้ามาส่งข่าวมาว่ากองทัพนาซีออกเดินทัพมุ่งมาทางโซเวียตแล้ว ซึ่งก็มาพร้อมกับรายงานทุกสาย รวมทั้งวิสตัน เชอร์ชิลล์ที่ได้ติดต่อเตือนมาถึงสตาลิน ว่าเยอรมันกำลังจะบุกโซเวียตแต่สตาลินได้แต่ระแวงว่าเชอร์ชิลล์จะมาไม้ไหน เพราะใคร ๆ ก็รู้ว่าเชอร์ชิลล์เป็นไม้เบื่อไม้เมากับระบบคอมมิวนิสต์มาแต่ไหนแต่ไร
สตาลินเชคข่าวไปยังหน่วยข่าวกรองที่ทำงานในสถานทูตโซเวียตที่ญี่ปุ่น..ซึ่งได้รับคำตอบว่าไม่มีข่าวแต่อย่างใด กระทั่งหนึ่งเดือนก่อนการบุก ทางหน่วยข่าวกรองเสียงโดยการส่งวิทยุ ในข้อความสั้น ๆ ถึงมอสโควว่า “การบุกจะมีในวันที่ 2 มิถุนายน” หน่วยข่าวกรองถูกจับได้และประหารชีวิต ฝ่ายเยอรมันได้สร้างข่าวเท็จออกมาเป็นระยะ เพื่อสร้างความสับสนเป็นไปในวงกว้าง ก่อนหน้านั้ หัวหน้าฝ่ายข่าวกอง รายงานมาว่าเยอรมันจะไม่ทำสงครามกับโซเวียตจนกว่าได้รับชัยชนะ จากยุทธการบิรเทน หรือไม่ก็หลังจากที่ได้เซ็นสัญญาสงบศึกแล้ว..และรายงานเพิ่มเติมมาด้วยวา “ข่าวที่เยอรมันจะบุกในช่วงฤดูใบไม้ผลินี้ คือข่าวลือทั้งสิ้นและการกุน่าจะมาจากฝั่งอังกฤษหรือจากสายลับเยอรมัน”
กาดรบุกสหภาพโซเวียตจึงสร้างความแปลกใจสำหรับฝ่ายโซเวียตอย่างมาก ซึ่งส่วนใหญ่มาจากความเชื่อมั่นของสตาลินว่าอาณาจักรไรท์ที่ 3หม่น่าจะโจมตีประเทศของตนหลังจากที่เพิ่งเซ็นสัญญาโมโลดอฟ-ริบเบนท์ สตาลินเชื่อด้วยว่ากองทัพนาซีจะจัดการสงครามกับเกาบิรเตนให้เรียบร้อยก่อนจะเปิดสมรภูมิใหม่ แม้จะมีคำเตือนหลายครั้งจากหน่วยข่าวกรอง สตาลินก็ยังปฏิเสธที่เชื่อการรายงานทั้งหมด โดยเกรงว่าข้อมูลดังกล่าวอาจเป็นกาปล่อยข่าวโคมลอยจากกองทัพอังฏฤษเพื่อที่จะจุดชนวนสงครามระหว่างนาซีและโซเวียตโดยกล่าวว่า “พวกเขาแค่กำลังเคลื่อกำลังทหารให้ออกมานอกระยะของเครื่องบินทิ้งระเบิดของอังกฤษ การเตรียมตัวตั้งรับการโจมตีของเยอรมนีจึงเป็นไปยอ่างไม่จริงจัง
ปฏิบัติการไฮฟิสก์ โดยจำลองว่าเตรียมตัวบุกเบิรเตนเริ่มขึ้นในประเทศนอร์เวย์ ชายฝั่งตามแนวช่องแคบอังกฤษและจังหวัดบริตตานีย์ในฝรั่งเศส ปฏิบัติการณ์ระดมกำลังเรือรบ ปฏิบัติการสอดแนมทางอากาศและการฝึกซ้อมภาคสนามถูกจัดขึ้นเพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น โดยแผนการบุกจิงๆ ถูกจัดขึ้นและปล่อยให้ข้อมูลสามารถรั่วไหลได้บางส่วน
ในการวางแผนกลยุทธ กองบัญชาการกองทัพบกระดับสูง และผุ้บัญชาระดับสูงอีกหลายๆคนมีแนวคิดที่ขัแย้งกันเกียวกับแผนกกลยุทธที่จะใช้ในการโจมตีสหภาพโซเวียต โดยกองบัญชากการกองทัพบกเสนอว่าควรเคลื่อนพลตรงไปยังเมืองหลวงมอสโก แต่ฮิตเลอร์ต้องการที่จะให้กองทัพเคลื่อนทัพไปยังยูเครนที่อุดมสมบูรณ์และดินแดนบริเวณทะเลบอลติก ก่อนที่จะเคลื่อพลไปยึดมอสโก จึงเป็นเหตุให้การบุกล่าช้าไปอีกเดือนกว่า ๆ
กลยุทธที่ฮิตเลอร์และนายพลของเขาร่วมกันวางขึ้นคือการแบ่งกองกำลังออกเป็นสามกลุ่มกองทัพโดยแต่ละกลุ่มกองทัพถูกจัดให้ยึดภูมิภาคที่กำหนดไว้รวมในสหภาพโซเวียต เมือ่การบุกสหภาพโซเวียตเริ่มต้นขึ้นจะแบ่งแนวทางการบุกออกเป็นสามทางโดยเคลื่อยพลไปตามเส้นทางที่เคยถูกบุกในประวัติศาสตร์(ตามการบุกราชอาณาจักรรัสเซียของนโปเลียน โบนาปาร์ต) กล่มกองทัพเหนือถูกมอบหมายให้เคลื่อนพลฝ่านดินแดนรอบทะเลบอลติก แล้วจึงเคลื่อนไปยังรัสเซียตอนเหนือโดยำการยึดหรือทำลายเมืองเลนินกราด กองทัพกลางถูกมอบหมายให้มุ่งหน้าตรงไปยังเมืองสโมเลนสก์ แล้วทำการยึดมอสโกโดยต้องทำการเคลื่อนพลฝ่านประเทศเบลารุสในปัจจุบันละฝ่ายภูมิภาคกลางแถบตะวันตกที่สาธารณรัฐสังคมนิยมรัสเซียครอบครองอยู่และกลุ่มกองทัพใต้จะต้องเปิดการโจมตีในส่วนที่เป็นใจกลางของยูเครนที่เป็นศูนย์กลางทางเกษตณกรรมและประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นโดยยึดเมืองเคียฟก่อนที่จะเคลื่อนพลมุ่งไปทางทิศตะวันออกฝ่านทุ่งหญ้าสเตปปส์ในรัสเซียตอนใต้ไปยังแม่น้ำโวลกาและเทือกเขาคอเคซัสที่อุดมไปด้วน้ำมันดิบ..
วัตถุประสงค์คือการพิชิตสหภาพโซเวียตทางภาคพื้นยุโรปทั้งหมด ตามแนวเส้นระหว่าง อัคอังเกลส์ก ที่อยู่ทางตอนเหนือของรัสเซีย ลงไปจนถึงเมืองอัสตราคาน ที่อยู่ริมสามเหลี่ยมปากแม่น้ำวอลกาโดยแนวนี้ถูกเรียกว่าแนว AA ปฏิบัติการบาร์บาราสซาไม่ประสบความสำเร็จอย่างที่ฮิตเลอร์คาดหวังไว้ ในทางยุทธวิธีแล้วกองทัพเยอรมันก่อให้เกิดความเสียหายใหญ่หลวงต่อสหภาพโซเวียต โดยการยึดครองพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญของประเทศเอาไว้
ปฏิบัติการบาร์บารอสซาเป็นปฏิบัติการเป็นปฏิบัติการทางการทหารที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ทั้งทางด้านกำลังพล พื้อนที่ปฏิบัติการและความสูญเสียที่เกิดขึ้นความล้มเหลวในยุทธการบาร์บารอสซาเป็ฯที่ถกเถียงกันว่าเป็นสาเหตุโดยรวมที่ทำให้นาซีเยอรมนีต้องประสบกับความพ่ายแพ้และเป็นจุดเปลี่ยนของนาซี
จากการเปิดฉากการโจมตีของนาซีทำให้เกิดการรบใหม่ขึ้น คือแนวรบด้านตะวันออกซึ่งเป็นยุทธบริเวณที่ใหย๋ที่สุดในโลกตราบจนปัจจุบัน ปฏิบัติการบาร์บาลอสกลายเป็นการรบครั้งยิ่งใหญ่ ความโหดร้ายการสูญเสียชีวิตปริมาณมหาศาล ซึ่งทั้งหมดได้ส่งปิทธิพลต่อสงครามโลกครั้งที่สอง และประวัติศาสตร์
นายทหารระดับสูงของกองทัพเยอรมมันได้ร่างบันทึกอันตรายที่จะเกิดขึ้นภายหลังการรุกรานสหภาพโซเวียตรวมไปถึงความคิดที่ว่ายูเครน เบโลรุสเซียและรัฐแถบบอลติกจะเป็นภาระใหญ่หลวงทางเศรษฐกิจต่อเยอรมนีส่วนนายทหารอีกพวกนึ่งได้แย้งว่าระบบรัฐบาลของโซเวียตจะไม่ได้รับผลกระทบและการยึดครองดังกล่วจะไม่กอ่ให้เกิดประโยชน์อันใดต่อเยอรมนี รวมไปถึงไม่เข้าใจว่าเหตุใดจึงต้องเข้าไปยุ่งกับพวกบอลเซวิคด้วยฮิตเลอร์ปฏิเสธความคิดเห็นทั้งหมด ปฏิบัติการบาร์บาลอสซาส่วนใหญ่เริ่มต้นมาจากความคิดของฮิตเลอร์เพียงผุ้เดียว บุคลากรทางการทหาและสมาชิกในพรรคนาซีแนะนำว่าควรที่จะจัดการกับเกาะบริเตนให้เสร็จสิ้นก่อนแล้วจึงค่อยเปิดการโจมตีสหภาพโซเวียตในแนวหน้าตะวันออก
ฮิตเลอร์โน้มน้าวบุคลากรของตน โดยกลาวว่า “ เราเพียงแค่ต้องถีบประตูลงมา แล้วอาคารที่เสื่อมโทรมทั้งอาคารก็จะถล่มลงมาด้วย” ฮิตเลอร์มั่นใจในศักยภาพเกินไปจจากการประบความสำเร็จอยางรวดเร็วในการรบในยุโรปตะวันตก อีกทั้งสบประมาทความสามารถของโซเวียตที่จะสู้รบในสงครามนอกฤดูหนาว
ปฏิบัติการลวงของเยอรมนีมีจุดประสงค์คือเพิ่มมูลความจริงให้ตรงกับคำอ้างของเยอรมนี่ว่าเกาะบริเตนคือเป้าหมายที่แท้จริง "ปฏิบัติการไฮฟิสก์”
รองแม่ทัพโซเวียต MaXim Purkayev ที่มาโทรศัพท์รายงาน สายลับได้เข้ามาส่งข่าวมาว่ากองทัพนาซีออกเดินทัพมุ่งมาทางโซเวียตแล้ว ซึ่งก็มาพร้อมกับรายงานทุกสาย รวมทั้งวิสตัน เชอร์ชิลล์ที่ได้ติดต่อเตือนมาถึงสตาลิน ว่าเยอรมันกำลังจะบุกโซเวียตแต่สตาลินได้แต่ระแวงว่าเชอร์ชิลล์จะมาไม้ไหน เพราะใคร ๆ ก็รู้ว่าเชอร์ชิลล์เป็นไม้เบื่อไม้เมากับระบบคอมมิวนิสต์มาแต่ไหนแต่ไร
สตาลินเชคข่าวไปยังหน่วยข่าวกรองที่ทำงานในสถานทูตโซเวียตที่ญี่ปุ่น..ซึ่งได้รับคำตอบว่าไม่มีข่าวแต่อย่างใด กระทั่งหนึ่งเดือนก่อนการบุก ทางหน่วยข่าวกรองเสียงโดยการส่งวิทยุ ในข้อความสั้น ๆ ถึงมอสโควว่า “การบุกจะมีในวันที่ 2 มิถุนายน” หน่วยข่าวกรองถูกจับได้และประหารชีวิต ฝ่ายเยอรมันได้สร้างข่าวเท็จออกมาเป็นระยะ เพื่อสร้างความสับสนเป็นไปในวงกว้าง ก่อนหน้านั้ หัวหน้าฝ่ายข่าวกอง รายงานมาว่าเยอรมันจะไม่ทำสงครามกับโซเวียตจนกว่าได้รับชัยชนะ จากยุทธการบิรเทน หรือไม่ก็หลังจากที่ได้เซ็นสัญญาสงบศึกแล้ว..และรายงานเพิ่มเติมมาด้วยวา “ข่าวที่เยอรมันจะบุกในช่วงฤดูใบไม้ผลินี้ คือข่าวลือทั้งสิ้นและการกุน่าจะมาจากฝั่งอังกฤษหรือจากสายลับเยอรมัน”
กาดรบุกสหภาพโซเวียตจึงสร้างความแปลกใจสำหรับฝ่ายโซเวียตอย่างมาก ซึ่งส่วนใหญ่มาจากความเชื่อมั่นของสตาลินว่าอาณาจักรไรท์ที่ 3หม่น่าจะโจมตีประเทศของตนหลังจากที่เพิ่งเซ็นสัญญาโมโลดอฟ-ริบเบนท์ สตาลินเชื่อด้วยว่ากองทัพนาซีจะจัดการสงครามกับเกาบิรเตนให้เรียบร้อยก่อนจะเปิดสมรภูมิใหม่ แม้จะมีคำเตือนหลายครั้งจากหน่วยข่าวกรอง สตาลินก็ยังปฏิเสธที่เชื่อการรายงานทั้งหมด โดยเกรงว่าข้อมูลดังกล่าวอาจเป็นกาปล่อยข่าวโคมลอยจากกองทัพอังฏฤษเพื่อที่จะจุดชนวนสงครามระหว่างนาซีและโซเวียตโดยกล่าวว่า “พวกเขาแค่กำลังเคลื่อกำลังทหารให้ออกมานอกระยะของเครื่องบินทิ้งระเบิดของอังกฤษ การเตรียมตัวตั้งรับการโจมตีของเยอรมนีจึงเป็นไปยอ่างไม่จริงจัง
ปฏิบัติการไฮฟิสก์ โดยจำลองว่าเตรียมตัวบุกเบิรเตนเริ่มขึ้นในประเทศนอร์เวย์ ชายฝั่งตามแนวช่องแคบอังกฤษและจังหวัดบริตตานีย์ในฝรั่งเศส ปฏิบัติการณ์ระดมกำลังเรือรบ ปฏิบัติการสอดแนมทางอากาศและการฝึกซ้อมภาคสนามถูกจัดขึ้นเพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น โดยแผนการบุกจิงๆ ถูกจัดขึ้นและปล่อยให้ข้อมูลสามารถรั่วไหลได้บางส่วน
ในการวางแผนกลยุทธ กองบัญชาการกองทัพบกระดับสูง และผุ้บัญชาระดับสูงอีกหลายๆคนมีแนวคิดที่ขัแย้งกันเกียวกับแผนกกลยุทธที่จะใช้ในการโจมตีสหภาพโซเวียต โดยกองบัญชากการกองทัพบกเสนอว่าควรเคลื่อนพลตรงไปยังเมืองหลวงมอสโก แต่ฮิตเลอร์ต้องการที่จะให้กองทัพเคลื่อนทัพไปยังยูเครนที่อุดมสมบูรณ์และดินแดนบริเวณทะเลบอลติก ก่อนที่จะเคลื่อพลไปยึดมอสโก จึงเป็นเหตุให้การบุกล่าช้าไปอีกเดือนกว่า ๆ
วันพุธที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:The Greater East Asia Co-Prosperity Sphere
วงไพบูลย์ร่วมแห่งมหาเอเซียบูรพา เป็นความพยายามของญี่ปุ่นที่รวบรวมแลสร้างแนวป้องกันแห่งชาติเอเซียเพื่อหลุดพ้นจากอิทธิพลของชาติตะวันตก โดยเป็นความคิดริเริ่มของนายพลฮะชิโร อะริตะ ซึ่งขณะนั้นตำรงค์ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และมีอุดมการณ์ทางการทหารอย่างแรงกล้าที่จะสร้างมหาเอเซียตะวันออก “เอเซียเพื่อชาวเอเซีย”(Asia for Asians) โดยเนื้อหานั้นจะพูดถึงเกี่ยวกับการปลดปล่อยชาติในเอเซียให้หลุดพ้นจากลัทธิจักรวรรดินิยม โดยทำการบุกประเทศเพื่อนบ้านและขับไล่ทหาร อังกฤษ ฝรั่งเศส และอเมริกา ออกไปจากภูมิภาคนี้
ญี่ปุ่นมีความคิดว่าญี่ปุ่นมีชาติพันธุ์ที่เหนือกว่าชาติอื่นในเอซีย ในเมือปกครองโดยพระจักรพรรดิผู้ทรงสืบเชื้อสายมาจากพระอาทิตย์มาอย่างไม่ขาดสายจึงมีสิทธิชอบธรรมที่จะเป็นใหญ่คุ้มครองชาติอื่น
ญี่ปุ่นคิดว่าวัฒนธรรมตะวันตกหรือปรัชญาตะวันตกเป็นยาพิษของตะวันออกและเป็นวัฒนธรรมที่เสือมทราม จึงจำเป็นที่จะต้องฟื้นฟู่ระเบียบสังคมและวัฒนธรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณีดั้งเดิมของตะวันออกที่เป็นแบบอำนาจนิยมขึ้นมาแทนระบอบประธิปไตยแบบตะวันตก เพื่อให้เอเซียเป้นของชาวเอเซียเท่านั้น
แผนสงครามของญี่ปุ่นที่ร่างขึ้นในเดือนพฤศจิกายน ได้วาดภาพแปรทั้งพื้นที่ไปสู่เขตวงไพบูลย์ของเอเซียบูรพา โดยมีญี่ปุ่นจีนภาคเหนือและแมนจูเรียเป็นฐานอุตสาหกรรม ประเทศอื่น ๆ ต้องส่งวัตถุดิบแก่ญี่ปุ่นและเป็นส่วนของการบริโภคที่กว้างใหญ่ไพศาล เป็นการสร้างพลังเศรษฐกิจในระดับหนึ่งที่จะทำให้ญี่ปุ่นสามารถเผชิญและตั้งรับการรุรานจากภายนอกได้เป็นประการแรก และถ้าทุกอย่างดำเนินไปด้วยดี ก็รวมอินเดีย ออสเตรเลียและบรรดามณฑลไซบีเรียของรุสเซียไว้ด้วยในการสงครามครั้งนี้
ญี่ปุ่นจำเป็นต้องเข้าครอบครอง ครอบงำแทนที่ตะวันตก อย่างน้อยที่สุดก็ต้องเป็นเช่นนั้น เป็นการตัดสินใจด้วยเหตุเสมือนสงครามครูเสดทางวัฒนธรรม โดยการสอนเผยแพร่ภาษาญี่ปุ่น ปฏิรูปการศึกษาที่ขจัดอิทธิพอันมิพึงปรารนา การจัดตั้งการประชุมทางวรรณกรรมและวิทยาศาสรตร์ แม้จนถึงพยายามที่จะขจัดการนอนอกลางวันและดนตรีแจ๊ส รวมทั้งการสร้างขอบข่ายงานความร่วมมือทางการเมืองอย่างใกล้ชิดกัน บางประเทศก็มีอิสระเอกราชพอควรตั้งแต่แรกเริ่ม
อินโดจีนก็ยังตกอยู่ในการปกครองฝรั่งเศส
สยามยังคงมีกษัตริย์และการบริหารราชการโดยให้ความอนุเคราะห์เป็นพิเศษแก่ญี่ปุ่นภายหลังการลงนามในสนธิสัญญเป็นพันธมิตร
จีนที่ถูกยึดครองก็มีระบอบของ หวัง ชิง เวย เป็นจัวแทนก็ได้ทำข้อตกลงสันติภาพ และถูกเกลี้ยกล่อมให้ประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ นีถือได้วาเป็นยุคแห่งความเสมอภาคอย่างเป็นทางการกับญี่ปุ่นโดยญี่ปุ่นยกเลิกสัมปทานมากมายในเมืองท่าต่าง ๆ ตามสนธิสัญญาเก่าในปีนั้น แน่นอนว่า รัฐ แมนจูก็ยังคงเป็นรัฐเอกราช ทั้ง ๆ ที่กองทัพกวันตุงยังคงประจำการอยู่ สถานการณ์นี้เหมือนสถานะการณ์แห่งการเป็นอาณานิคมแบบเกาหลี
ในบรรดาดินแดนที่ได้รับจากชัยชนะใหม่ๆ นั้น พม่ามีผุ้นำเป็นหุ่นเชิดคือนาย บา เมา ซึ่งเป็นผู้นำการบริหารภายใต้การอุปภัมถ์ของญี่ปุ่น อย่างไรก็ตาม อำนาจที่แท้จริงอยู่ในมือที่ปรึกษาทางทหาร และทหารได้ยึดอำนาจนั้นภายหลังที่ประเทศได้รับเอกราชในปีต่อมาเมือได้ประกาศสงครามกับพันธมิตร
ฟิลิปปินส์ก็ได้รับเอกราชโดยความช่วยเหลือของผุ้ร่วมกิจการที่นิยมญี่ปุ่น แม้รัฐบาลจะสามารถหลีกเลี่ยงการประกาศสงคราต่อฝ่ายสัมพันธมิตรได้
ในอีกแง่หนึ่ง ในมลายูและหมู่เกาะอินเดียของเนเธอร์แลนด์ซึ่มีค่าจำเป็นยิ่งทางเศรษฐกิจ ญี่ปุ่นไม่เต็มใจทางที่จะยินยอมปล่อยมือจากการควบคุมญี่ปุ่นได้ให้มีการบริหารราชการโดยทหารในสองแห่งนั้น ดดยรวมอำนาจอยู่ที่ศูนย์กลางและใช้กรรมวิธีของราชการประจำแทนระเบียบราชการเดิมของบรรดามหาอำนาจเจ้าของอาณานิคมสองแห่งนั้น การเคลื่อนไหวเพื่อเอราชใรรูปใดก็มิได้รับความสนับสนุนในสองปีแรก แม้จนถึงภายหลังก็มิได้ให้คำมั่นอะไรมากมายนัก แม้ว่ายอมให้มีการตั้งสภาระดับภูมิภาคและผุ้ว่าการระดับท้องถิ่นให้มีบทบาทบ้างในการปกครอง อันที่จริง ในมลายูนั้น คือสิ่งที่ได้ปฏิบัติกันมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ในระยะสงครามที่เหลือ แม้ในหมู่เกาะอินเดียจะพัฒนาการเคลื่อนไหวชาตินิยมและท้ายสุดญี่ปุ่นเองยอมรับรองเมือเห็นความปราชัยชัดแจ้ง ข้อเท็จริงนั้นทำให้ผู้นำการเคลื่อนไหว คือ ดร.ซูการณ์โน ประกาศอินโดนีเซียเป็นเอกราชทันทีหลังจากที่ญี่ปุ่นยอมแพ้ในเดือนสิงหาคมปีนั้น
นอกจากปัญหาระยะยาวของการรักษาเอกราชของรัฐเหล่นั้นแล้ นโยบายอาณานิคมของญี่ปุ่นก็มุ่งตรงไปที่เสี่ยงใช้ความรู้สึกแอนตี้ตะวันตกของประเทศเหล่านั้นให้เป็นประโยชน์และเบียดบังทรัพยากรธรรมชาติทางเศรษฐกิจในการบำรุงกำลังรบของตน ในนโยบายเชนนี้ ญี่ปุ่นประสบความสำเร็จน้อยกว่าเป็นอย่างมาก ประการแรกการปกครองที่เข้มแข็งรุนแรงมีแนวโน้มที่จะทำให้ประชาชนเอาใจออกห่าง ทั้ง ๆ ที่ญี่ปุ่นพยายามที่จะเอาชนะใจประชาชนเหล่านั้นให้มีความเห็นอกเห็นใจญี่ปุ่น การตัดสินประหารชีวิตและการทรมานที่บ่อยครั้งเกินไปได้ก่อให้เกิดความเกลียดชังและการต่อต้านมากกว่าร่วมมือ จึงเป็นเรื่องที่ฝ่ายริราชศัตรูค้นพบและง่ายที่จะนำมาใช้ อีกทั้งยังมีความไร้ประสิทธิภาพด้วย ตั้งแต่กระทรวงเอเซียตะวันออกที่ยิ่งใหญ่กว่า ที่จัดตั้งขึ้น ซึ่งได้เรียกใช้ผู้คนมาร่วมงานโดยส่วนใหญเป็นพวกนักการทูต และตัวแทนจากวงการค้าซึ่งล้วนถูกเรียกตัวกลับจากยุโรปและจากที่อื่น ๆ เกมือเกิดสงคราม หรือมาจากนักหนังสือพิมพ์และพ่อค้าซึ่งมีเคยทำงานในดินแดนเหล่นี้จนคุ้นเคยกับพื้นที่ปกครองนั้น ๆ นักหนังสือพิมพ์ขาดความรู้ระดับท้องถิ่น ส่วนพ่อค้าขาดประสบการณ์ในการบริหารราชการและขาดุ้ชำนาญการ ในขณะที่ทั้งนักหนังสือพิมพ์และพ่อค้าก็ไม่อาจจะดำเนินนโยบายใดที่ขัดแย้งกับทัศนติ ของฝ่ายผู้บัชาการของกองทัพบก อุปสรรคนี้ยังมีอีกเรื่องคือ การขาดนักเทคนิคที่ได้รับกาฝึกอบรมพอที่จะสามารถฟื้นฟุ้การค้าและอุตสาหกรมในเอเซียอาคเนย์ให้มีประสิทธิภาพเหมือนเดิมได้ โดยเฉพาะการผลิตน้ำมัน ดังนั้แผนสร้างกล่มเศรษฐกิจที่ทรงอำนาจและพึ่งตนเองได้นั้นก็ได้ความยากลำบากตั้งแต่เริ่มต้น
ความยากลำบากทวีขึ้นโดยผลของความล้มเหลวทางทหาร การโจมตีของเรือดำน้ำฝายสัมพันธมิตร ได้แทรกแซงการติดต่อคมนาคมทางทะเลกับหมู่เกาะต่างๆ มากในต้นปี ต่อมาเมื่อมีการเสริมด้วยการโจมตีทางอากาศ ญี่ปุ่นก็พบตัวเองถูกตัดขาดจากดินแดนของตนที่ไกลโพ้น ความสูญของเรือพาณิชย์เกิดจากการพยายามจะรักษาเส้นทางเดินเรือให้เปิดไว้ ผละประการหนึ่งก็คือมันกลายเป็นอุปสรรคต่อการผลิตทางอุตสาหกรรมภายในประเทศจนการแข่งขันกันระหว่างทหารบกกับทหารเรือทวีขึ้นดดยเหตุข้อพิพาทด้วยเรื่องการจัดสรรปันส่วนยุทธปัจจัย ถึงขั้นกระทบกระเทือนต่อการประสานงานในการปฏิบัติการร่วมกัน
การที่กองทัพได้รับมอบหมายในการปฏิบัติหน้าที่ ในการให้ได้มาซึ่งดินแดนขยายสู่รอบนอกในขณะที่ญ่ปุ่นต้องเสริมกำลังให้เต็มด้วยกำลังกองหนุน เพื่อให้อเมริกาถูกเกลี้ยกล่อมให้ยอมรับสันติภาพอันประนีประนอมต่อกัน ไม่เพียงแต่การพัฒนาเศรษฐกิจในเขตวงไพบูลย์จะช้าลงมากแล้วเท่านั้นหากแต่การรบรุกตอบโต้ของฝ่ายอเมริกายังรวดเร็วกล่วที่คาดมากด้วยยุทธนาวีในทะเลคอรัล และในเกาะมิดเวย์ในเดือนต่อมายับยั้งญี่ปุ่นมิให้บุกทะลวงไปสู่ออสเตรเลียและฮาไวอิตามลำดับ ในกรณีออสเตรเลียเป็นการยืนยันได้ เพราะออสเตรเลียได้ปกป้องนิวกินี ตอนใต้สำเร็จในปีนั้น แล้วอเมริกาได้ยึดกัวดาคาแนลในหมู่เกาะโซโลมอน เป้นการรุกไล่ครั้งใกม่บนแผ่นดิน หลังจากที่สู้รบกันอน่างหนักอยู่หกเดือน ในเดือนกุมภาพันธ์ ปฏิบัติการทางทหารเหล่านั้นได้ปรากฎต่อมาว่าเป็นจุดหัวเลี้ยวหัวต่อทางยุทธศาสตร์
การปกิบัติการทางทหาร ด้วยกลยุทธอย่างใหม่ในด้วยยุทธนาวี การปฏิบัติการในระยะยาวได้ใช้เครื่องบินจากเรือบรรทุกเครื่องบินเป็นอาวุธสำคัญในการรบรุก เป็นพัฒนาการซึ่งทำให้ญี่ปุ่นสิ้นสุดความได้เปรียบที่จะเป็นฝ่ายลงมือปฏิบัติการจาเรือรบหลัก ในการบตามเกาะ การให้ความร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดระหว่างทหารบก ทหารเรือ และกำลังทางอากาศก็เป็นการเลือกที่จะเป็นการรบภายใต้การบัญชาการอันเดียวกัน นี่คือส่วนหนึ่งของเทคนิคการรบอเมริกาแบบ “กระโดดที่ละเกาะ” โดยมิได้มุ่งยึดดินแดนตามความหมายทั่วไปหากแต่มุ่งรบเพื่อให้ได้มาซึ่งฐานทัพเพื่อให้เรือรบและเครื่องบินสามารถครอบงำทั้งพื้นที่ในน่านน้ำแปซิฟิคตะวันตกทั้งหมด…
ญี่ปุ่นมีความคิดว่าญี่ปุ่นมีชาติพันธุ์ที่เหนือกว่าชาติอื่นในเอซีย ในเมือปกครองโดยพระจักรพรรดิผู้ทรงสืบเชื้อสายมาจากพระอาทิตย์มาอย่างไม่ขาดสายจึงมีสิทธิชอบธรรมที่จะเป็นใหญ่คุ้มครองชาติอื่น
ญี่ปุ่นคิดว่าวัฒนธรรมตะวันตกหรือปรัชญาตะวันตกเป็นยาพิษของตะวันออกและเป็นวัฒนธรรมที่เสือมทราม จึงจำเป็นที่จะต้องฟื้นฟู่ระเบียบสังคมและวัฒนธรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณีดั้งเดิมของตะวันออกที่เป็นแบบอำนาจนิยมขึ้นมาแทนระบอบประธิปไตยแบบตะวันตก เพื่อให้เอเซียเป้นของชาวเอเซียเท่านั้น
ญี่ปุ่นจำเป็นต้องเข้าครอบครอง ครอบงำแทนที่ตะวันตก อย่างน้อยที่สุดก็ต้องเป็นเช่นนั้น เป็นการตัดสินใจด้วยเหตุเสมือนสงครามครูเสดทางวัฒนธรรม โดยการสอนเผยแพร่ภาษาญี่ปุ่น ปฏิรูปการศึกษาที่ขจัดอิทธิพอันมิพึงปรารนา การจัดตั้งการประชุมทางวรรณกรรมและวิทยาศาสรตร์ แม้จนถึงพยายามที่จะขจัดการนอนอกลางวันและดนตรีแจ๊ส รวมทั้งการสร้างขอบข่ายงานความร่วมมือทางการเมืองอย่างใกล้ชิดกัน บางประเทศก็มีอิสระเอกราชพอควรตั้งแต่แรกเริ่ม
อินโดจีนก็ยังตกอยู่ในการปกครองฝรั่งเศส
สยามยังคงมีกษัตริย์และการบริหารราชการโดยให้ความอนุเคราะห์เป็นพิเศษแก่ญี่ปุ่นภายหลังการลงนามในสนธิสัญญเป็นพันธมิตร
จีนที่ถูกยึดครองก็มีระบอบของ หวัง ชิง เวย เป็นจัวแทนก็ได้ทำข้อตกลงสันติภาพ และถูกเกลี้ยกล่อมให้ประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ นีถือได้วาเป็นยุคแห่งความเสมอภาคอย่างเป็นทางการกับญี่ปุ่นโดยญี่ปุ่นยกเลิกสัมปทานมากมายในเมืองท่าต่าง ๆ ตามสนธิสัญญาเก่าในปีนั้น แน่นอนว่า รัฐ แมนจูก็ยังคงเป็นรัฐเอกราช ทั้ง ๆ ที่กองทัพกวันตุงยังคงประจำการอยู่ สถานการณ์นี้เหมือนสถานะการณ์แห่งการเป็นอาณานิคมแบบเกาหลี
ในบรรดาดินแดนที่ได้รับจากชัยชนะใหม่ๆ นั้น พม่ามีผุ้นำเป็นหุ่นเชิดคือนาย บา เมา ซึ่งเป็นผู้นำการบริหารภายใต้การอุปภัมถ์ของญี่ปุ่น อย่างไรก็ตาม อำนาจที่แท้จริงอยู่ในมือที่ปรึกษาทางทหาร และทหารได้ยึดอำนาจนั้นภายหลังที่ประเทศได้รับเอกราชในปีต่อมาเมือได้ประกาศสงครามกับพันธมิตร
ฟิลิปปินส์ก็ได้รับเอกราชโดยความช่วยเหลือของผุ้ร่วมกิจการที่นิยมญี่ปุ่น แม้รัฐบาลจะสามารถหลีกเลี่ยงการประกาศสงคราต่อฝ่ายสัมพันธมิตรได้
ในอีกแง่หนึ่ง ในมลายูและหมู่เกาะอินเดียของเนเธอร์แลนด์ซึ่มีค่าจำเป็นยิ่งทางเศรษฐกิจ ญี่ปุ่นไม่เต็มใจทางที่จะยินยอมปล่อยมือจากการควบคุมญี่ปุ่นได้ให้มีการบริหารราชการโดยทหารในสองแห่งนั้น ดดยรวมอำนาจอยู่ที่ศูนย์กลางและใช้กรรมวิธีของราชการประจำแทนระเบียบราชการเดิมของบรรดามหาอำนาจเจ้าของอาณานิคมสองแห่งนั้น การเคลื่อนไหวเพื่อเอราชใรรูปใดก็มิได้รับความสนับสนุนในสองปีแรก แม้จนถึงภายหลังก็มิได้ให้คำมั่นอะไรมากมายนัก แม้ว่ายอมให้มีการตั้งสภาระดับภูมิภาคและผุ้ว่าการระดับท้องถิ่นให้มีบทบาทบ้างในการปกครอง อันที่จริง ในมลายูนั้น คือสิ่งที่ได้ปฏิบัติกันมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ในระยะสงครามที่เหลือ แม้ในหมู่เกาะอินเดียจะพัฒนาการเคลื่อนไหวชาตินิยมและท้ายสุดญี่ปุ่นเองยอมรับรองเมือเห็นความปราชัยชัดแจ้ง ข้อเท็จริงนั้นทำให้ผู้นำการเคลื่อนไหว คือ ดร.ซูการณ์โน ประกาศอินโดนีเซียเป็นเอกราชทันทีหลังจากที่ญี่ปุ่นยอมแพ้ในเดือนสิงหาคมปีนั้น
นอกจากปัญหาระยะยาวของการรักษาเอกราชของรัฐเหล่นั้นแล้ นโยบายอาณานิคมของญี่ปุ่นก็มุ่งตรงไปที่เสี่ยงใช้ความรู้สึกแอนตี้ตะวันตกของประเทศเหล่านั้นให้เป็นประโยชน์และเบียดบังทรัพยากรธรรมชาติทางเศรษฐกิจในการบำรุงกำลังรบของตน ในนโยบายเชนนี้ ญี่ปุ่นประสบความสำเร็จน้อยกว่าเป็นอย่างมาก ประการแรกการปกครองที่เข้มแข็งรุนแรงมีแนวโน้มที่จะทำให้ประชาชนเอาใจออกห่าง ทั้ง ๆ ที่ญี่ปุ่นพยายามที่จะเอาชนะใจประชาชนเหล่านั้นให้มีความเห็นอกเห็นใจญี่ปุ่น การตัดสินประหารชีวิตและการทรมานที่บ่อยครั้งเกินไปได้ก่อให้เกิดความเกลียดชังและการต่อต้านมากกว่าร่วมมือ จึงเป็นเรื่องที่ฝ่ายริราชศัตรูค้นพบและง่ายที่จะนำมาใช้ อีกทั้งยังมีความไร้ประสิทธิภาพด้วย ตั้งแต่กระทรวงเอเซียตะวันออกที่ยิ่งใหญ่กว่า ที่จัดตั้งขึ้น ซึ่งได้เรียกใช้ผู้คนมาร่วมงานโดยส่วนใหญเป็นพวกนักการทูต และตัวแทนจากวงการค้าซึ่งล้วนถูกเรียกตัวกลับจากยุโรปและจากที่อื่น ๆ เกมือเกิดสงคราม หรือมาจากนักหนังสือพิมพ์และพ่อค้าซึ่งมีเคยทำงานในดินแดนเหล่นี้จนคุ้นเคยกับพื้นที่ปกครองนั้น ๆ นักหนังสือพิมพ์ขาดความรู้ระดับท้องถิ่น ส่วนพ่อค้าขาดประสบการณ์ในการบริหารราชการและขาดุ้ชำนาญการ ในขณะที่ทั้งนักหนังสือพิมพ์และพ่อค้าก็ไม่อาจจะดำเนินนโยบายใดที่ขัดแย้งกับทัศนติ ของฝ่ายผู้บัชาการของกองทัพบก อุปสรรคนี้ยังมีอีกเรื่องคือ การขาดนักเทคนิคที่ได้รับกาฝึกอบรมพอที่จะสามารถฟื้นฟุ้การค้าและอุตสาหกรมในเอเซียอาคเนย์ให้มีประสิทธิภาพเหมือนเดิมได้ โดยเฉพาะการผลิตน้ำมัน ดังนั้แผนสร้างกล่มเศรษฐกิจที่ทรงอำนาจและพึ่งตนเองได้นั้นก็ได้ความยากลำบากตั้งแต่เริ่มต้น
ความยากลำบากทวีขึ้นโดยผลของความล้มเหลวทางทหาร การโจมตีของเรือดำน้ำฝายสัมพันธมิตร ได้แทรกแซงการติดต่อคมนาคมทางทะเลกับหมู่เกาะต่างๆ มากในต้นปี ต่อมาเมื่อมีการเสริมด้วยการโจมตีทางอากาศ ญี่ปุ่นก็พบตัวเองถูกตัดขาดจากดินแดนของตนที่ไกลโพ้น ความสูญของเรือพาณิชย์เกิดจากการพยายามจะรักษาเส้นทางเดินเรือให้เปิดไว้ ผละประการหนึ่งก็คือมันกลายเป็นอุปสรรคต่อการผลิตทางอุตสาหกรรมภายในประเทศจนการแข่งขันกันระหว่างทหารบกกับทหารเรือทวีขึ้นดดยเหตุข้อพิพาทด้วยเรื่องการจัดสรรปันส่วนยุทธปัจจัย ถึงขั้นกระทบกระเทือนต่อการประสานงานในการปฏิบัติการร่วมกัน
การที่กองทัพได้รับมอบหมายในการปฏิบัติหน้าที่ ในการให้ได้มาซึ่งดินแดนขยายสู่รอบนอกในขณะที่ญ่ปุ่นต้องเสริมกำลังให้เต็มด้วยกำลังกองหนุน เพื่อให้อเมริกาถูกเกลี้ยกล่อมให้ยอมรับสันติภาพอันประนีประนอมต่อกัน ไม่เพียงแต่การพัฒนาเศรษฐกิจในเขตวงไพบูลย์จะช้าลงมากแล้วเท่านั้นหากแต่การรบรุกตอบโต้ของฝ่ายอเมริกายังรวดเร็วกล่วที่คาดมากด้วยยุทธนาวีในทะเลคอรัล และในเกาะมิดเวย์ในเดือนต่อมายับยั้งญี่ปุ่นมิให้บุกทะลวงไปสู่ออสเตรเลียและฮาไวอิตามลำดับ ในกรณีออสเตรเลียเป็นการยืนยันได้ เพราะออสเตรเลียได้ปกป้องนิวกินี ตอนใต้สำเร็จในปีนั้น แล้วอเมริกาได้ยึดกัวดาคาแนลในหมู่เกาะโซโลมอน เป้นการรุกไล่ครั้งใกม่บนแผ่นดิน หลังจากที่สู้รบกันอน่างหนักอยู่หกเดือน ในเดือนกุมภาพันธ์ ปฏิบัติการทางทหารเหล่านั้นได้ปรากฎต่อมาว่าเป็นจุดหัวเลี้ยวหัวต่อทางยุทธศาสตร์
การปกิบัติการทางทหาร ด้วยกลยุทธอย่างใหม่ในด้วยยุทธนาวี การปฏิบัติการในระยะยาวได้ใช้เครื่องบินจากเรือบรรทุกเครื่องบินเป็นอาวุธสำคัญในการรบรุก เป็นพัฒนาการซึ่งทำให้ญี่ปุ่นสิ้นสุดความได้เปรียบที่จะเป็นฝ่ายลงมือปฏิบัติการจาเรือรบหลัก ในการบตามเกาะ การให้ความร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดระหว่างทหารบก ทหารเรือ และกำลังทางอากาศก็เป็นการเลือกที่จะเป็นการรบภายใต้การบัญชาการอันเดียวกัน นี่คือส่วนหนึ่งของเทคนิคการรบอเมริกาแบบ “กระโดดที่ละเกาะ” โดยมิได้มุ่งยึดดินแดนตามความหมายทั่วไปหากแต่มุ่งรบเพื่อให้ได้มาซึ่งฐานทัพเพื่อให้เรือรบและเครื่องบินสามารถครอบงำทั้งพื้นที่ในน่านน้ำแปซิฟิคตะวันตกทั้งหมด…
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...