ข้อตกลงเจนีวาปี 1954 กำหนดจัดการดินแดนอินโดจีนคือหนึ่งในลาวและกัมพูชาให้ยุติการสู้รบ ถอนทหารฝรั่งเศสและเวยดมินออกจากพื้นที่ จัดตั้งรัฐบาลและให้มวลประเทศทั้งหลายในโลกยอมรับในเอกราช และความเป็นกลางของลาวและกัมพูชา สองในเวียดนามให้ยุติการสู้รบกำหนดเส้นแบ่งดินแดนเวียดนามอย่างเป็ฯการชั่วคราวที่เส้นขนาน 17 องศาเหนือ เวียดมินภายใต้การนำของโฮจิมินถือครองดินแดนเวียดนามเหนือเส้นขนาน 17 องศาเหนือเรียกเวียดนามเหนือ มีกรุงฮานอยเป็นศูนย์กลางการปกครอง รัฐแห่งเวียดนามภายใต้การนำของจักรพรรดิเบาได๋ถือครองดินแดนเวยดนามใต้เส้นขนาน 17 องศเหนือเยกร้องเวียดนามใต้ มีกรุงไซง่อนเป็นศูนย์กลางการปกครองและกำหนดจัดการเลือกตั้งในเดื่อนกรกฏาคม ในดินแดนเวียดนามเพื่อการรวมดินแดนนำสู่ การจัดตั้งรัฐบาลและการมีเอกราชที่สมบูรณ์ในอนาคต สามกำหนดจัดตั้งคณะกรรมการประกอบด้วยตัวแทนจากแคนาดา โปแลนด์และอินเดียเพื่อคบวบคุมดูแลให้รัฐบาลเวยดนามทั้งสองปฏิบัติตามข้อตกลงทุกประการ สหรัฐอเมริกาและรัฐแห่งเวยดนามไหนด้วยกับการกำนหดการเลือกตั้งในเดือนกรกฎาคม เพราะเกรงว่าเวียดมินจะชนะคุมเสียงข้างมากในรัฐสภา ลัทธิคอมมิวนิสต์จะแผ่ขยายทั่วดินแดนเวียดนาม และจะนำเวียดนามสู่การเป้นสมาชิกโลกคอมมิวนิสต์หรือโลกตะวันออก ภายใต้ขอ้ตอลงเจนีวา ในเวียดนามใต้จักรพรรดิเบาได๋แต่งตั้งให้โงดินเดียมเป็นนายกรัฐมนตรี และสหรัฐอเมริกาเริ่มจัดส่งคณะที่ปรึกษาอเมริกันทั้งฝ่ายพลเรือนและทหารเข้าช่วยพัฒนาเวียดนามใต้
ข้อตกลงเจนีวาปี 1954 นำสู่การเกิดสงครามเวียดนาม ภายใต้ข้อตกลงเจนีวาปี 1954 จักรพรรดิเบาได๋นำการปกคอรงในเวียดนามไต้แต่งตั้งให้โงดินเดียม เป้นนายกรัฐมนตรีในปี 1955 เวียดนามใต้หรือรัฐแห่งเวียดนามเปลี่ยนชื่อประเทศใหม่ว่าสาธารณรัฐเวียดนาม และเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นสาธารณัฐมีโดนเดียนเป็นประธานาธิบดี นำการบริหารประเทศ สหรัฐฯให้การสนับสนุนประธานาธิบดีโงดินเดียม ภายใต้การปกครองของโงคิมเดียมมีการทุจริตในวงการเมือง ยึดมั่นในระบบพวกพ้อง ที่ดินส่วนใหญ่เป็นของคนรวย ชาวเวียดนามส่วนใหญ่ยากจนโดยเฉพาะอยางยิ่งเกษตรกรไม่มีดินแดนเป็นของตนเองในการทำเกษตรกรรมการปฏิรูปเศรษฐฏิจและสังคมมีน้อยมาก และโงดินเดียมไม่ปฏิบยัติตามข้อตกลงเจนีวา ในประเด็นปฏิเสธจัดการเลือกตั้งในเวียดนามใต้ในเวียดนามใต้ซึ่งไม่ศรทธาในโงดินเดียมอยู่แล้วไม่พอใจ ในปี 1957 เวียดมินในเวยดนามใต้ประกาศตนเป็นศัตรูกับรัฐบาลโงดินเดียมภายใต้ชื่อว่าเวียดกง รวมตัวจัดตั้งแนวร่วมปลดแอกแห่งชาติ มุ่งปฏิบัติการปฏิวัติโค่นล้มอำนาจรัฐบาลโงดินเดียม ปฏิบัติการสู้รบแบบกองโจร เวียดนามเหนือฝ่านลาวและกัมพูชาสู่เวียดนามใต้ เรียกเส้นทางนี้ว่าเส้นทางโฮจิมิน อันถือเป็นการเริ่มต้นสงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนาม
เริ่มจากสงครามกลางเมือง โดยชาวเวียดนามสองกลุ่มเพื่อการตัดสินใจการทีรูปแบบรัฐบาลปกครองประเทศ จากสงครามกลางเมืองพัฒนากลายเป็นข้อขัดแย้งระหว่างประเทศดึงสหรัฐอเมริกาให้ต้องเข้าร่วมสงครามเป็นเวลายาวนาน พวกเวียดมินและเวียดกงเรียกสงครามเวียดนามว่าสงครามเพื่อการปลดแอกชาติ อันหมายถึงเวียตนามเหนือตองการยุติการสนับสนุนของสหรัฐอเมริกาที่ให้แก่เวียดนามครั้งนี้จีนและรุสเซียให้กาสนับสนุนด้านยุทธปัจจัยเท่านั้นแก่เวียดนามเหนือที่ให้แก่เวียดกง สหรัฐใหนการสนับสนุนเวียดนามใต้เริ่มด้วยการจัดส่งผู้เชี่ยวชาญอเมริกัทั้งฝ่ายพลเรื่อนและฝ่ายทหารจำนวน 675 คนให้คำปรึกษาแก่รัฐบาลเวียดนามใต้และยุทธปัจจัยช่วงปี 1955-1961 มูลค่าปีละกว่า สองพันล้านดอลล่า ด้วยเกรงกลัวต่อการขยายลัทธิคอมมิวนิสต์จากเวียดนามสู่เอเซียตะวันออกเฉพียงใต้
สหรัฐปกป้องการขยายอิทธิพลของคอมมิวนิสต์ในเอเซยตะวันออกเฉียงใต้ด้วยองค์การสนธิสญญาเอเว๊ญตะวันออกเฉียงใต้ หรือซีโต้ คอมมิวนิสต์ประสบความสำเร้๗ในการขยายอิทธิพลอย่างมากในเอเซียกล่าวคือ ในปี 1954 คอมมิวนิสต์ประสบความสำเณในการขยายอิทธิพลอย่างมากในเอเซียกล่าวคือ จีนคอมมิวนิสต์ยึดครองแผ่นดินใหญ่จีนได้ ในสงครามเกาหลี จีนคอมมิวนิสต์เข้าช่วยเกาหลีอย่างเปิดเผย ในสงครามอินโดจีน รุสเซียและจีนคอมมิวนิสต์หนุนเวียดมินต้านการกลับมามีอำนาจของฝรังเศสในอินโดจีน กองกำลังฝรั่งเศสเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ สหรัฐเกรงการขยายอิทธิพลของคอมมิวนิสตจากอนโดจีสู่เอเซยตะวันออกเฉฑียงไต้ นำการหาทางสกัดกั้นการขยายอิทธิพลของคอมมิวนิสต์ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ด้วยองค์การสนธิสัญญาเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ปี 1954 การจัดตั้งเร่มด้วยในกรุงมะนิลา ฟิลิปปินส์ พันธมิตรแปดชาติคือสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส อังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ไทย ปากีสถาน และฟิลิปินส์ ร่วมกันลงนามในสนธิสัญญาปัองกันร่วมกันในเอเซยตะวนออกเฉพียงใต้ กำหนดร่วมกันจัดตั้งองค์การสนธิสัญญาป้องกันร่วมกันในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ กำหนดร่วมกันจัดตั้งองค์การสนธิสัญญาเอเซียตะวัออกเฉียงใต้หรือซีโต้ จุดมุ่งหมายของซีโต้คือชาติสมาชิกเป็นพันธมิตรกับทางกองกำลังทหารให้ความสำคัญเพื่อการคงความมั่นคงทางการเมืองและต่อต้านการขยายอิทธิพลของคอมมิวนิสต์ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
วันจันทร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันอาทิตย์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
Никита Сергеевич Хрущёв
นิกิต้า เซเกรเยวิช ครุสซอฟ เป็น เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ แห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากโจเซฟ สตาลิน นิกิต้า เซเกรเยวิช ครุสซอฟ เกิดเมือ่ 15 เมษายน ปี 1894 ในครอบครั้วของแรงงานขุดเหมือแร่ ในหมู่บ้านคาลินอฟกา ในยุคจักวรรดิรับเซียใกล้กับพรหมแดนยูเครนปัจจุบัน บิดาคือ เซอร์เกย์ ครุสซอฟ นิโกโนโรวิช และแม่ชื่อ เคสิเนีย อิวาโนว์ ครุสซอฟได้เรียนหนังสนือแค่สี่ปี และต้องทำงานตั้งแต่อายุ 12 ปี เร่มจากกาทำงานเป็นคนเก็บผลไม้อายุ 14 ปี ครอบครัวย้อยไปทำเหมืองใหล้ ๆ กับเมืองยุซอฟก้า มันเป็นเมืองอุตสาหกรรมที่เจริญแห่งหนึ่งงของประเทศ ครุเซฟ ทำงานหลายแห่งก่อนที่จะได้ทำงานในโรงงานเหล็ก แต่ไม่นานก็ถูกไล่ออกและได้งานใหม่ที่เหมืองถ่านหินใกล้กับเมืองรุตเชนโกโว่ ปี 1914 เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 1 เขาได้รับการยกเว้นไม่ต้องเกณฑ์ทหารซึ่งโรงงานดังกล่วต้องทำงานส่งให้เหมืองหลายสิบแห่ง ปี 1918 เข้าเป็นสมาชิกของพรรคบอลเชวิค แต่ก็ยังคงทำงานในเหมืองถ่านหินต่อไปและก็เข้าเรียนหนังสือที่นิคทอุตสาหกรรมโดเนตส์ เขาทำงานให้กับพรรคในพื้นที่ของเมืองเคียฟและดอนบาส์ส
ครุสซอฟรู้จักกับหัวหน้าพรรคคอมมิวนิสต์ในยูเครนคือ กาจาโนวิชนิสัยของครุสชอฟ สร้างความประทับใจให้กับกาจาโยวิชมาก ต่อมาเขาจึงเป็นผู้สนับสนุนให้ครุสซอฟมาเรียนหนังสือต่อในมอสโควครุสซอฟอยู่ในกองทัพแด่งนแถบเมืองรุตเชนโกโว่ จนได้รับเลือกเป็นคระกรรมการฝ่ายการเมืองของหน่วย 1974 ไรเฟิลที่ 9 ปี 1931 ครุสซอฟได้เข้าเป็นสมาชิกแลทำงานกับพรรคคอมมิวนิสต์ในมอสโคว กระทั้งปี 1938 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์อันกับที่หนึ่ง ประจำยูเครน ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขามีบทบาทอย่างมากในฐานะนายทหารระดับสูง จนเมืองสงครามโลกยุติก็มีบทบาทสำคัญในรัฐบาลยูเครน จนธันวามคม 1949 ก็ย้ายจากยูเครนกลับมายังมอสโคว
ปี 1953 อสัญกรรมของสตาลิน ลาเวรนติ เบเรีย หัวหน้าหน่วยตำรจลับของสตาลิน ได้ขึ้นเป็นรองประธานสภารัฐมนตรีลำดับที่หนึ่งและรัฐมนตรีกิจการภายในในทันที ถือเป็นบุคคลที่ทรงอิทธิพลที่สุดในโซเวียต หลังจากนั้นกนึ่งวันพันธมิตรของครุสซอฟ กอร์กี มาเลนคอฟ ได้กลายเป็นประธานสภารัฐมนตรีหุ่นเชิดและเบเรียครองอำนาจทุกอย่าง เบเรียมีนโยบายที่จะออกจากเยอมันตะวันออกและหันไปทางสหรับอเมริกาทำให้คณะกรรมการพรรคหลายคนไม่พอใจ และไม่ไจในตัวเบอรีย โดยเฉฑาะครุสซอฟเป็นคนที่ต่อต้านเบเรยอย่างเปิดเผย แต่ว่าไม่สามารถทำอะไรเบเรียได้จนกระทั่งเมือเกิดการลุกฮือของประชาชนในเยอมันตะวันออก สมาชิกพรรคหบายคนกังวลว่านั้นเป็นนธยบายที่ผิดพลาดและจะทำลายโซเวียต มาเลนคอฟหันไปช่วเหลือครุสซอฟ ครุสซอฟทำการรัฐประหารยึดอำนาจจากเบรียทำให้เบเรียถูกจับตัว หลังจากนั้นครุสเซฟจึงได้รับแต่งตั้ให้เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งโซเวียต และก็ได้ตำรังตำแหน่ง ประธานสภารัฐมนตรีควบคู่กันไป
ครุฟซอฟทำให้โลกตกตะลึงด้วยการฝ่ายคลายความเข้มงวดในระบบสตาลิน พร้อมทังประณามความดหดร้ายของสตาลิน ในที่สุดทุกที่ที่มีรูปปั้นสตาลินจะถูกทุบทิ้ง เพลงชาติที่มีชื่อสตาลินก็ถูกลบออกศพของสตาลินก็ย้ายจากวลาดิมีร์ ไปผุ้งอยู่ในกำแพงวังเครมลิน ซึ่งการประณามสตาลินในครั้งนั้นประนเหมา เจ๋อ ตุง ผุ้นำจีนเกดความไม่พอใจเป็นอย่างมาก ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับสหภาพโซเวียตตกต่ำกระทั่งทำให้เกิดการแบ่งแยกอุดมการณ์ของลัทธิคอมมิวนิสต์ออกเป็นสองแบบ คือ อุดมการณ์ลัทะคอมมิวนิสต์แบบผสมรวมกับระบบทุนนิยมของรัสเซียและ อุดมการณ์ลัทธิคอมมิวนิสต์แบบดั้งเดิม การแตกแยกครั้งนี้ส่งผลให้ แอลบาเนีย กัมพูชา และโซมาเลีย เลือกที่จะเป็นพันธมิตรกับจีนแทนโซเวียต
โลกคอมมิวนิสต์
ทันทีที่ครุเชฟกล่าวสุนทรพจน์ลับในที่ประชุมสภาของพรรคคอมมิวนิสต์รุสเซียครั้งที่ 20 โลกคอมมิวนิสต์ได้เกิดความระสำระสายเป็นคลื่อใต้น้ำ สุนทรพจน์ลับนั้นมีจุดมุ่งหมายต่อโลกคอมมิวนิสต์ว่า คณะผุ้นำใหม่ต้องการที่จะทำลายความเชื่อถือดั้งเดิมอันงมงายเรื่อสตาลินผุ้ยิ่งให่ญ่ที่ผุ้หนึ่งผู้ใดจะแตะต้องล่วงละเมิดมิได้ และคณะผู้ใหม่จะคัดเหลือสรรแต่สิ่งที่ยังเป็นคุณประธยชน์ของสตลินไว้เท่านั้น จริงอยู่สุนทรพจน์ลับนั้นโดยเนื้อหาแล้ว มิได้มีความตอนใดวิพากษ์วิจารณ์ความสัมพันธ์ระหว่างรุสเซียกับโลกคอมมิวนิสต์ในสมัยสตาลิน แต่สุนทรพจน์ลับได้ทำลายความเชื่อมั่นเดิมของโลกคอมมิวนิสต์ที่มีต่อสตาลินและทไห้เกิดความไม่แน่ใจในทิสทางของรุสเซียที่จะมีต่อโลกคอมมิวนิสต์ สุนทรพจน์ลับนั้นได้ยอมรับแนวความคิดของยูโกสลาเวย เรือ วิถีทางหลากหลายไปสู่ลัทะสังคมนิยและความแตกต่างของบรรดรัฐบริวารในก้านวิธีการ แบบอย่าง พฤติกรรมและนโยบาย แต่สุนทรพจน์ลับมิได้กำหนดขอบเขตแห่งเสรีภาพและความเป็นอิสระส่วนตนสำหรับรัฐบริวาร อีกทั้งก่อให้เกิดความสับสนยิ่งขึ้นด้วยการที่สุนทรพจน์ย้ำว่า แบบอย่างรุสเซียในการจัดตังสังคมย่อมจเสอดคลอ้กงกับแบบอย่างของรัฐบริวารที่มีระบอบประชาธิไตยแห่งประชารชน สุรทรพจน์ลับมิได้ให้รายละเอียดว่า สิ่งใดรุสเซียถือว่าสามารถจะอดทนอดกลั้นมีขันติธรรมได้ และสิ่งใดเป็นข้อต้องห้ามในการสร้างลัทธิสังคมนิคม
นโยบายใหม่ของครุสฟอาจเป็นที่ยอรับโดยทางการของจีน แต่จีนถือว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงนโยบายโดยมิได้ปรึกาหารือจีน รุสเซียถือตนเป็นผุ้นำบงการกำหนดวินิฉัยนโยบายโดยพลการ จีนย่อมถือว่า ดดยเหนื้อแท้แล้ว รุสเซยมิได้ถือตนเป็นมหมิตรเสมอกันทั้ง ๆ ที่รุสเซียได้ยืนยันกับจีนว่าจะดำเนินนโยบายของโลกคอมาวนิสต์โดยปรึกาหารือกับจีนก่อนทุกครั้ง จีจึงถือว่า รุสเซยได้สบประมาทจีนมาก การเปลี่ยนแปลงนโยบายดดยไม่ปรึกษากับจีนเช่นนี้ ยังเป็นการสร้างความหวามระแวงแคลงใจในเจตนารมณ์ของรุสเซียมากกว่า นโยบายนั้นอาจเป็นกลวิธีมากกว่าจะเป็นยุทธศาสตร์ในการเผลิญลัทธิจักรวรรดินิยมตะวันตก
เบื้องหลังการดำเนินนโยบายนั้น คือ การที่รุสเซยดำเนินการทูตเพื่อสมานฉันท์ กับสหรัฐอเมรกา เป็นการผ่อนคลายความตึงเครียดของภาวะสงครามเย็น จนถึงขึ้นที่อาจจะเป็นการยุติภาวะสงครามเย็นและมีการปรับความเข้าใจอันดีต่อกันจนเป็นมิตรที่ดีต่อกัน สัมพันธภาพสองเส้า เช่นั้นเคยปรากฎมาแล้วในภายหลังสงครามดลกครั้งที่ 2 จีนวิตกว่าตนอาจถูกตระบัดมิตร อีกทั้ง อุดมการณ์แห่งการอยู่ร่วมกันดดยสันติแบบรุสเซียนั้นมีลักษณะแตกต่างกับจีนมาก จีนดำเนินนโยบายอยู่ร่วมกันโดยสันติกับโลกที่สาม แต่รุสเซียมุ่งดำเนินนโยบายนั้นกับโลกที่สามและโลกเสรีด้วย ความแตกต่างกันทางอุดมากร์จึงเป็นได้ชัดและต่างก็จะดำเนินนโยบายต่างประเทศไปคนละทิสทาง ท้ายสุดย่อมนำไปสู่ความแตกต่างในด้านลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างโฃกคอมมิวนิสต์กับโลกเสรีด้วย
แม้ครุสซอฟจะดำเนินนโยบายเน้นสันติภาพ และพยายามผ่อนคลายสงครามเย็น แต่เขาก็ดำเนินนโยบายทางการเมืองผิดพลาดหลายครั้ง อาทิ วิกฤตกาณ์ขีปนาวุธคิวบา ซึ่งได้ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโซเวียตกับสหรัฐอเมริกาตึงเครียดขึ้นอีกครั้ง นอกจานี้เขายัวส่งทหารเข้าไปยังโปแลนด์และฮังการีเพื่อสนับสนุนการปกครองระบบอคอมมิวนิสต์ในที่สุดเขาก็ถูกยึดอำนาจโดยคณะกรรมาธิการเพื่อความมั่นคงแห่งรัฐ
ครุสซอฟรู้จักกับหัวหน้าพรรคคอมมิวนิสต์ในยูเครนคือ กาจาโนวิชนิสัยของครุสชอฟ สร้างความประทับใจให้กับกาจาโยวิชมาก ต่อมาเขาจึงเป็นผู้สนับสนุนให้ครุสซอฟมาเรียนหนังสือต่อในมอสโควครุสซอฟอยู่ในกองทัพแด่งนแถบเมืองรุตเชนโกโว่ จนได้รับเลือกเป็นคระกรรมการฝ่ายการเมืองของหน่วย 1974 ไรเฟิลที่ 9 ปี 1931 ครุสซอฟได้เข้าเป็นสมาชิกแลทำงานกับพรรคคอมมิวนิสต์ในมอสโคว กระทั้งปี 1938 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์อันกับที่หนึ่ง ประจำยูเครน ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขามีบทบาทอย่างมากในฐานะนายทหารระดับสูง จนเมืองสงครามโลกยุติก็มีบทบาทสำคัญในรัฐบาลยูเครน จนธันวามคม 1949 ก็ย้ายจากยูเครนกลับมายังมอสโคว
ปี 1953 อสัญกรรมของสตาลิน ลาเวรนติ เบเรีย หัวหน้าหน่วยตำรจลับของสตาลิน ได้ขึ้นเป็นรองประธานสภารัฐมนตรีลำดับที่หนึ่งและรัฐมนตรีกิจการภายในในทันที ถือเป็นบุคคลที่ทรงอิทธิพลที่สุดในโซเวียต หลังจากนั้นกนึ่งวันพันธมิตรของครุสซอฟ กอร์กี มาเลนคอฟ ได้กลายเป็นประธานสภารัฐมนตรีหุ่นเชิดและเบเรียครองอำนาจทุกอย่าง เบเรียมีนโยบายที่จะออกจากเยอมันตะวันออกและหันไปทางสหรับอเมริกาทำให้คณะกรรมการพรรคหลายคนไม่พอใจ และไม่ไจในตัวเบอรีย โดยเฉฑาะครุสซอฟเป็นคนที่ต่อต้านเบเรยอย่างเปิดเผย แต่ว่าไม่สามารถทำอะไรเบเรียได้จนกระทั่งเมือเกิดการลุกฮือของประชาชนในเยอมันตะวันออก สมาชิกพรรคหบายคนกังวลว่านั้นเป็นนธยบายที่ผิดพลาดและจะทำลายโซเวียต มาเลนคอฟหันไปช่วเหลือครุสซอฟ ครุสซอฟทำการรัฐประหารยึดอำนาจจากเบรียทำให้เบเรียถูกจับตัว หลังจากนั้นครุสเซฟจึงได้รับแต่งตั้ให้เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งโซเวียต และก็ได้ตำรังตำแหน่ง ประธานสภารัฐมนตรีควบคู่กันไป
ครุฟซอฟทำให้โลกตกตะลึงด้วยการฝ่ายคลายความเข้มงวดในระบบสตาลิน พร้อมทังประณามความดหดร้ายของสตาลิน ในที่สุดทุกที่ที่มีรูปปั้นสตาลินจะถูกทุบทิ้ง เพลงชาติที่มีชื่อสตาลินก็ถูกลบออกศพของสตาลินก็ย้ายจากวลาดิมีร์ ไปผุ้งอยู่ในกำแพงวังเครมลิน ซึ่งการประณามสตาลินในครั้งนั้นประนเหมา เจ๋อ ตุง ผุ้นำจีนเกดความไม่พอใจเป็นอย่างมาก ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับสหภาพโซเวียตตกต่ำกระทั่งทำให้เกิดการแบ่งแยกอุดมการณ์ของลัทธิคอมมิวนิสต์ออกเป็นสองแบบ คือ อุดมการณ์ลัทะคอมมิวนิสต์แบบผสมรวมกับระบบทุนนิยมของรัสเซียและ อุดมการณ์ลัทธิคอมมิวนิสต์แบบดั้งเดิม การแตกแยกครั้งนี้ส่งผลให้ แอลบาเนีย กัมพูชา และโซมาเลีย เลือกที่จะเป็นพันธมิตรกับจีนแทนโซเวียต
โลกคอมมิวนิสต์
ทันทีที่ครุเชฟกล่าวสุนทรพจน์ลับในที่ประชุมสภาของพรรคคอมมิวนิสต์รุสเซียครั้งที่ 20 โลกคอมมิวนิสต์ได้เกิดความระสำระสายเป็นคลื่อใต้น้ำ สุนทรพจน์ลับนั้นมีจุดมุ่งหมายต่อโลกคอมมิวนิสต์ว่า คณะผุ้นำใหม่ต้องการที่จะทำลายความเชื่อถือดั้งเดิมอันงมงายเรื่อสตาลินผุ้ยิ่งให่ญ่ที่ผุ้หนึ่งผู้ใดจะแตะต้องล่วงละเมิดมิได้ และคณะผู้ใหม่จะคัดเหลือสรรแต่สิ่งที่ยังเป็นคุณประธยชน์ของสตลินไว้เท่านั้น จริงอยู่สุนทรพจน์ลับนั้นโดยเนื้อหาแล้ว มิได้มีความตอนใดวิพากษ์วิจารณ์ความสัมพันธ์ระหว่างรุสเซียกับโลกคอมมิวนิสต์ในสมัยสตาลิน แต่สุนทรพจน์ลับได้ทำลายความเชื่อมั่นเดิมของโลกคอมมิวนิสต์ที่มีต่อสตาลินและทไห้เกิดความไม่แน่ใจในทิสทางของรุสเซียที่จะมีต่อโลกคอมมิวนิสต์ สุนทรพจน์ลับนั้นได้ยอมรับแนวความคิดของยูโกสลาเวย เรือ วิถีทางหลากหลายไปสู่ลัทะสังคมนิยและความแตกต่างของบรรดรัฐบริวารในก้านวิธีการ แบบอย่าง พฤติกรรมและนโยบาย แต่สุนทรพจน์ลับมิได้กำหนดขอบเขตแห่งเสรีภาพและความเป็นอิสระส่วนตนสำหรับรัฐบริวาร อีกทั้งก่อให้เกิดความสับสนยิ่งขึ้นด้วยการที่สุนทรพจน์ย้ำว่า แบบอย่างรุสเซียในการจัดตังสังคมย่อมจเสอดคลอ้กงกับแบบอย่างของรัฐบริวารที่มีระบอบประชาธิไตยแห่งประชารชน สุรทรพจน์ลับมิได้ให้รายละเอียดว่า สิ่งใดรุสเซียถือว่าสามารถจะอดทนอดกลั้นมีขันติธรรมได้ และสิ่งใดเป็นข้อต้องห้ามในการสร้างลัทธิสังคมนิคม
นโยบายใหม่ของครุสฟอาจเป็นที่ยอรับโดยทางการของจีน แต่จีนถือว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงนโยบายโดยมิได้ปรึกาหารือจีน รุสเซียถือตนเป็นผุ้นำบงการกำหนดวินิฉัยนโยบายโดยพลการ จีนย่อมถือว่า ดดยเหนื้อแท้แล้ว รุสเซยมิได้ถือตนเป็นมหมิตรเสมอกันทั้ง ๆ ที่รุสเซียได้ยืนยันกับจีนว่าจะดำเนินนโยบายของโลกคอมาวนิสต์โดยปรึกาหารือกับจีนก่อนทุกครั้ง จีจึงถือว่า รุสเซยได้สบประมาทจีนมาก การเปลี่ยนแปลงนโยบายดดยไม่ปรึกษากับจีนเช่นนี้ ยังเป็นการสร้างความหวามระแวงแคลงใจในเจตนารมณ์ของรุสเซียมากกว่า นโยบายนั้นอาจเป็นกลวิธีมากกว่าจะเป็นยุทธศาสตร์ในการเผลิญลัทธิจักรวรรดินิยมตะวันตก
เบื้องหลังการดำเนินนโยบายนั้น คือ การที่รุสเซยดำเนินการทูตเพื่อสมานฉันท์ กับสหรัฐอเมรกา เป็นการผ่อนคลายความตึงเครียดของภาวะสงครามเย็น จนถึงขึ้นที่อาจจะเป็นการยุติภาวะสงครามเย็นและมีการปรับความเข้าใจอันดีต่อกันจนเป็นมิตรที่ดีต่อกัน สัมพันธภาพสองเส้า เช่นั้นเคยปรากฎมาแล้วในภายหลังสงครามดลกครั้งที่ 2 จีนวิตกว่าตนอาจถูกตระบัดมิตร อีกทั้ง อุดมการณ์แห่งการอยู่ร่วมกันดดยสันติแบบรุสเซียนั้นมีลักษณะแตกต่างกับจีนมาก จีนดำเนินนโยบายอยู่ร่วมกันโดยสันติกับโลกที่สาม แต่รุสเซียมุ่งดำเนินนโยบายนั้นกับโลกที่สามและโลกเสรีด้วย ความแตกต่างกันทางอุดมากร์จึงเป็นได้ชัดและต่างก็จะดำเนินนโยบายต่างประเทศไปคนละทิสทาง ท้ายสุดย่อมนำไปสู่ความแตกต่างในด้านลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างโฃกคอมมิวนิสต์กับโลกเสรีด้วย
แม้ครุสซอฟจะดำเนินนโยบายเน้นสันติภาพ และพยายามผ่อนคลายสงครามเย็น แต่เขาก็ดำเนินนโยบายทางการเมืองผิดพลาดหลายครั้ง อาทิ วิกฤตกาณ์ขีปนาวุธคิวบา ซึ่งได้ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโซเวียตกับสหรัฐอเมริกาตึงเครียดขึ้นอีกครั้ง นอกจานี้เขายัวส่งทหารเข้าไปยังโปแลนด์และฮังการีเพื่อสนับสนุนการปกครองระบบอคอมมิวนิสต์ในที่สุดเขาก็ถูกยึดอำนาจโดยคณะกรรมาธิการเพื่อความมั่นคงแห่งรัฐ
วันเสาร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
Middle East
ดินแดนตะวันออกกลางคือดินแดนทางตะวันตกเฉียงใต้ของเอเซีย เป็นดินแดนกลางสามทวีปคือเอเซีย ยุโรปและแอฟริกา เป็นแหล่งอารยธรรมเริ่มแรกของโลก เป็นแหล่งน้ำมันดิบของโลก มีคลองสุเอซเชื่อมทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับทะลแดง มีช่องแคบบาสฟอรัส และดาดาแนลส์ เชื่อทะเลดำกับยทะเลเมติดเตอร์เรเนียน เป็ฯเวทีชวงชิงอำนาจกันระหว่างสหรัฐฯกับรุสเซีย และเนเวทีต่อสู้กันระหว่างอาหรับและยิว ประชากรของตะวันออกกลางมีสามกลุ่มใหญ่คือเตอร์ก ในตุรกี ยิว ในอิสราเอลและอาหรับเป็นประชากร ส่วนใหญของตะวันออกกลาง และตะวันออกกลางเป็นแหล่งกำเนิดศาสนาหลักของโลกสองศาสนา คือ ศาสนาคริสต์ในสังมฮิบรู หรือยิว ในดินแดนปาเลสไตน และศาสนาอิสลามในสังคมอาหนับ ในคาบสมุทรอารเบีย ปาเลสไตน์เป็นดินแดนส่วนหนึ่งของตะวันออกกลาง ปัจจุบันพื้นที่ส่วนใหย๋เป็นที่ตั้งของประเทศอิสราเอล
เมือ 1900 ปีก่อนคริสต์กาลกลุ่มชนฮิบรูอพยพจาเมโสโปเตเมีย ปัจจุบันคือ อิรัก เข้าตึ้งมั่นในดินแดปากเลสไตน ฮิบรูหรือยิวมีความเจริญด้านขนบธรรมเนียมประเพณี ศสนา สังคม เศรษฐกิจและการเมืองมีกรุงเยรูซาเล็ม เป็นเมืองหลวง 721 ก่อนคริสต์กาลเป็นต้นมาดินแดนปาเลสไตน์ต้องตกอยู่ภายใต้การยึดครองของกลุ่มชนชาตินักรบได้แก่ อัสซีเรียน แคลเดียน เปอร์เซียน กรีก และโรมัน ในศตวรรษที่หนึ่งในคริสต์กาลศาสนาคริสต์กำเนินขึ้นในสังคมยิวขณะยอวอยู่ภายมต้การปกครองของโรมัน คริสเตียนคือผู้ที่นับถือศาสนาคริสต์ เพราะโรมันกดขี่ข่มเหงเป็นผลให้ยิวเร่มอพยพออกจากปาเลสไตน์สู่ยุโรป ต้นคริสต์ศตวรรษที่เจ็ด ศาสนาอิสลามกำเนินขึ้นในสังคมอาหรับในคาบสมุทรอารเบีย มุสลิมคือผุ้นับถือศาสนาอิสลาม อาหนับส่วนนใหญ่เป็นมุสลิม ด้วยศรัทธาในองค์อัลลอห์เจ้า นำสู่การก่อตั้งจักรวรรดิมุสลิมและกองกำลังมุสลิมสามารถเขช้ายึดครองพื้นที่ส่วนใญ่ของตะวันออกกลางรวมถึงปาเลสไตน์ มุสลิมยอมให้ยิวที่คงเหลืออยู่ในปากเลไตน์ประกอบพิธีการในศษสนาคริสต์ ต้นคริสต์ศตวรรษที่สิบหกออกตโตมาน เตอร์ก เป็ฯมุสลิมเข้ายึดครองปาเลสไตน์ขณะประชากรส่วนใหญ่ขอวปาเลสไตน์เป็ฯอาหรับและยิวเป็นชนกลุ่มน้อย ปาเลสไตน์ช่วภายใต้การปกครองอของออตโตมานเตอร์กนี้ยิวจากยุโรปเริ่มการอพยพกลับสู่ปาเลสไตน์นิยมเข้าตั้งมั่นในกรุงยะรูซาเล็ม กล่าวได้ว่าในปี 1880 มียิวในปาเลสไตน์ประมาณ 24,000 คน
ความขัดแย้งระหว่างยิวกับอาหรับในดินแดนปาเลสไตน์เร่มขึ้นปลายศตวรรษที่ 19 โดยผู้นำยิวในออสเตรียจัดตั้งขบวนการไซออนนิสต์กำหนดให้ชาวยิวในยุโรปรวมตัวอพยพกลับสู่ปาเลสไตน์และแสวงหาแนวทางสร้างชาติยิวในดินแดนปาเลสไตน์ ในทางปฏิบัติยิวในยุโรปและอเมริกาที่ร่ำรวยและต้องการเห็นการสร้างชาติยิวในปาเลสไตน์ได้สละเงินจัดตังกองทุนและใช้เงินกองทุนนี้ของซื้อดินแดนปาเลสไตน์เริ่มจากที่ดินผืนเล็กจากออตโตมาน เตอร์ก ยิวเข้าพัฒนาทำเกษตรกรรมในที่ดินส่วนยึดครองอย่างถูกต้องอย่างรู้คุณค่า สร้างความไม่พอใจแก่อาหรับในปาเลสไตน์ ในปี 1914 เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 รวมประชากรในปาเลสไตน์เจ็ดแสนคน เป็นยิว แปดหมื่นห้าพันคนและอาหรบหกแสนกว่าคน ออกโตมาน เตอร์กภายใต้ชื่อตุรกี เข้าร่วมกับฝ่ายมหาอำนาจกลางนำโดยเยอรมันและออสเตรียฮังการี ในปี 1916 อังกฤษหนึ่งในชาติผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรต้องการให้อาหรับ เป็ฯมิตรกับสัมพันธมิตรและต่อต้านตุรกีได้เสนอจะให้การสนับสนุนอากรับเพื่อการหลุพ้นจากอำนาจของตุรกี และก่อตังชาติอากรับภายหลังส้นสงครามโลกครั้งที่ 1 อาหรับเชื้อในขอ้เสนอปี 1916 ของอังกฤษ คำประกาศบัลฟอร์ ปี 1917 กำหนดอังกฤษให้การสนับสนุนจัดตั้งรัฐยิวในดินแดนปาเลสไตน์ สร้างความขมขื่นไม่พอใจแก่อาหรับและอาหรับในปาเลสไตน์ สงครามโลกครั้งที่ 1 ยุติในปี 1918 ด้วยฝ่ายมหานาจกลางพ่านแพ้อันหมายถึงตุรกีพ่ายแพ้ด้วย สันนิบาติชาติ ในปี 1920 กำหนดให้ปาเลสไตน์เป็นดินแดนในอาณัติปกครอง ของอังกฤษ ในทางปฏิบัติอังกฤษยึดมั่นในคำประกาศบัลฟอร์ ด้วยการแสดงความตั้งใจสนับสนุนยบิวสร้างชาติในดินแดนปาเลสไตน์ดินแดนในอาณัติปกครองของอังกฤษ ขณะเดียวกันขบวนการไซออนนิสต์คิดวว่าอาณัติปกครองคือการสนับสนุนการอพยพชนชาวยิวเพิ่มในปาเลสไตน อังกฤารูดีว่าการเพิ่มจำนวนยิวในปาเลสไตน์สร้างความไม่พอใจแก่อาหรับประชากรส่วนใหญ่ในปาเลสไตน์ อาหรับปาเลสไตน์ประท้วงอังกฤษและปฏิบัติการของขบวนการไซออนนิสต์ด้วยการเดินขบวนและก่อความวุ่นวายอังกฤษจำเป็นต้องจำกัดจำนวนยิวอพยพเข้าปาเลสไตน์ช่วงทศวรรษ 1930 ก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ยิวจาเยอรมันและโปแลนด์หลีกหนีการฆ่าข่มเหงของนาซีอพยพหลั่งไหลเข้าปาเลสไตน์อาหรับในปาเลสไตน์ต่อต้านการอพยพหลังไหลของยิวสู่ปาเลสไตน์ด้วยกาฃรก่อความวุ่นวายประท้วงอังกฤษอีกอังกฟษต้องปฏิบัติการจำกัดจำนวนยิวอพยพเข้าปาเลสไตน และจำกัดการขายที่ดินแก่ยิวอย่างเคร่งครัด ยิวไม่พอใจท่าทีของอังกฤษ
สหรัฐอเมริการ่วมสนับสนุนจัดตั้งประเทศอิสราเอลในปี 1948 ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ทั้งยิวและอาหรับในปาเลสไตน์หยุดต่อต้านอังกฤษและเข้าร่วมในกองกำลังสัมพันธมิตรในเวลาเดียวกันนี้นาซีเอยรมันเข่นฆ่าชาวยิวในยุโรปกว่าหกล้านคนผลักดันให้ขบวนการไซออนนิสต์จำเป็นต้องดำนเนิการบีบังคับอังกฤษให้ยกเลิกการจำกัดจำนวนยิวอพยพและรับยิวยุโรปที่เหลือรอดการเข่นฆ่าล้างเผ่าพันธ์ เข้าอาศัยในปาเลสไตน์และจัดตั้รัฐบิวเอย่างเป็นทางการอาหรับในตะวันออกกลางต่อต้านการจัดตั้งรัฐบิวในปาเลสไตน์ด้วยสันนิบาตอาหรับ จัดตั้งในวันที่ 22 มีนาคม 1945 ประกองด้วยชาติอาหรับเริ่มแรกเจ็ดชาติ อังกฤษวางตัวลำบากและในปี 1947 อังกฤษนำปัญหาปาเลสไตน์สู่การชี้ขาดขององค์การสหประชาชาติ เพื่อการแก้ไขปัญหาปาเลสไตน์องค์การสหประชาชาติกำหนดจัดตั้งคณะกรรมการพิเศษในเรื่อปาเลสไตน์ขององค์การสหประชาชาติ ในวันที่ 29 พฤศจิกายน ปีเดียวกันนั้นเอง คณะกรรมการพิเศษในเรื่องปาเลสไตน์ให้ข้อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาปาเลสไตน์ต่อสมัชชากำหนดประการที่หนึ่งแบ่งดินแดนปาเลสไตน์เป็นสามส่วนคือ รัฐยิว รัฐอาหรับและกรุงยะรูซาเล็มอยู่ภายใต้การดูแลของคณะมนตรีภาวะทรัสตี สองให้กองกำลังอังกฤษถอนออกจาปาเลสไตน์ อาหรับไม่เห็นด้วยกับขอ้เสนอ แต่ยิว อังกฤษและสหรัฐอเมริกาเห็ฯด้วยกับข้อเสนอ สมัชชายอมรับในข้อเสนอให้มีผลในทางปฏิบัติ ทันที่ที่กองกำลังอัฏฟษถอนออกจาปาเลสไตน์ ยิวประกาศจัดตังประเทศอิสราเอง ภายใต้การนำของเดวิด เบน กูเรียน องกค์การสหประชาชาติและสหรัฐอเมริกาให้การรับรองในเอกราชของอิสราเอล พฤษภาคม 1948 กองำลังสันนิบาตอาหรับนำโดยอียิปต์ ซีเรีย จอร์แดน และเลบานอน บุกโจมตีอิสราเอลชาติเกิดใหม่ในดินแดนปาเลสไตน์ นับเป็นสงครามครั้งแรกระหว่างอาหรับ อิสราเอล สงครามยุติในปี 1949 ชัยชนะเป็นของฝ่ายอิสราเอล และสามารถเข้ายึดครอง สร้างความขุ่นเคืองไม่พอใจแก่อาหรับ อาหรับในปาเลสไตน์เรียกชาวปาเลสไตน์ ชาวปาเลสไตน์ส่วนใหญต้องออกจากปาเลสไตน์ในเขตปกครองอิสราเอลสันนิบาติอาหรับรับผู้ลี้ภัยชาวปาเลสไตน์เข้าอาศัยในประเทศของตน กลางปี 1949 อิสราเอลลงนามในข้อตกลงหยุดยิงกับสันนิบาติอาหรับแต่ไม่มีการลงนามร่วมกันอย่างเป็นทางการในสนธิสัญญาสันติภาพเพราะกลุ่มชาติอาหรับ(มุสลิม)ปฏิเสธการก่อต้งชาติอิสราเอลในดินแดนปาเลสไตน์
สหรัฐอเมริกาสนับสนุนจัดตังองค์การสกัดกั้นการขยายอิทธิพลคอมมิวนิสต์ในดินแดนตะวันออกกลางด้วยข้อตกลงแบกแดดปี 1955 และองค์การสนธิสัญญกาลงปี 1959 แม้นสหรัฐอเมริกาจะให้การสนับสนุนยิว จดตั้งประเทศอิสราเอลในวันที่ 14 พฤษภาคม 1948 สร้างความโกรธแค้นไม่พอใจแก่อาหรับ แต่สหรัฐอเมริกาคงมุ่งสร้างความสัมพันธ์อันดีกับอกหรับเพื่อให้กลุ่มชาติอาหรับรวมกำลังกันต่อต้านการชยายอิทธิพลของคอมมิวนิสต์(รุสเซีย)ในตะวันออกกลางเริ่มด้วยในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 1955 อิรักและตุรกีประเทศทางตอนใต้ของรุสเซียเกรงการถุกโจมตีของรุสเซียได้ร่วมลงนามในข้อตกลงแบกแดดปี 1955 กำหนดเป็นพันธมิตรกันทางทหารร่วมต่อต้านการก้าวร้าวคุกคามของคอมมิวนิสต์รุสเซียในดินแดนตะวันออกกลาง มีสำนักงานหญ่อยู่ทีกรุงแบกอดดในอิรัก ปลายปี 1955 อังกฤษ อิหร่าน และปากีสถาน เข้าร่วมเป็นสมาชิกด้วย สหรัฐอเมริกาให้การสนับสนุนการรวมตัวด้านการทหารของห้าชาตด้วยเงิน เทคโนโลยีและยุทธปัจจัย แต่ไม่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกด้วย ปี 1959 อิรักถอนจากการเป็นพันธมิตรร่วมทางการทหารตามข้อตกลงแบกแดดปี 1955 เป็นผลให้สำนักงานใหญ่ย้ายจากกรุงแบกแดดในอิรักมาอยู่ที่กรุงอังการาในตุรกีเหลือชาติผู้ร่วมลงนามเพียงสี่ชาติคือ ตุรกี อังกฤษ อิหร่าน และปากีสถานและยุลเลิกในที่สุด
ความขัดแย้งระหว่างยิวกับอาหรับในดินแดนปาเลสไตน์เร่มขึ้นปลายศตวรรษที่ 19 โดยผู้นำยิวในออสเตรียจัดตั้งขบวนการไซออนนิสต์กำหนดให้ชาวยิวในยุโรปรวมตัวอพยพกลับสู่ปาเลสไตน์และแสวงหาแนวทางสร้างชาติยิวในดินแดนปาเลสไตน์ ในทางปฏิบัติยิวในยุโรปและอเมริกาที่ร่ำรวยและต้องการเห็นการสร้างชาติยิวในปาเลสไตน์ได้สละเงินจัดตังกองทุนและใช้เงินกองทุนนี้ของซื้อดินแดนปาเลสไตน์เริ่มจากที่ดินผืนเล็กจากออตโตมาน เตอร์ก ยิวเข้าพัฒนาทำเกษตรกรรมในที่ดินส่วนยึดครองอย่างถูกต้องอย่างรู้คุณค่า สร้างความไม่พอใจแก่อาหรับในปาเลสไตน์ ในปี 1914 เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 รวมประชากรในปาเลสไตน์เจ็ดแสนคน เป็นยิว แปดหมื่นห้าพันคนและอาหรบหกแสนกว่าคน ออกโตมาน เตอร์กภายใต้ชื่อตุรกี เข้าร่วมกับฝ่ายมหาอำนาจกลางนำโดยเยอรมันและออสเตรียฮังการี ในปี 1916 อังกฤษหนึ่งในชาติผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรต้องการให้อาหรับ เป็ฯมิตรกับสัมพันธมิตรและต่อต้านตุรกีได้เสนอจะให้การสนับสนุนอากรับเพื่อการหลุพ้นจากอำนาจของตุรกี และก่อตังชาติอากรับภายหลังส้นสงครามโลกครั้งที่ 1 อาหรับเชื้อในขอ้เสนอปี 1916 ของอังกฤษ คำประกาศบัลฟอร์ ปี 1917 กำหนดอังกฤษให้การสนับสนุนจัดตั้งรัฐยิวในดินแดนปาเลสไตน์ สร้างความขมขื่นไม่พอใจแก่อาหรับและอาหรับในปาเลสไตน์ สงครามโลกครั้งที่ 1 ยุติในปี 1918 ด้วยฝ่ายมหานาจกลางพ่านแพ้อันหมายถึงตุรกีพ่ายแพ้ด้วย สันนิบาติชาติ ในปี 1920 กำหนดให้ปาเลสไตน์เป็นดินแดนในอาณัติปกครอง ของอังกฤษ ในทางปฏิบัติอังกฤษยึดมั่นในคำประกาศบัลฟอร์ ด้วยการแสดงความตั้งใจสนับสนุนยบิวสร้างชาติในดินแดนปาเลสไตน์ดินแดนในอาณัติปกครองของอังกฤษ ขณะเดียวกันขบวนการไซออนนิสต์คิดวว่าอาณัติปกครองคือการสนับสนุนการอพยพชนชาวยิวเพิ่มในปาเลสไตน อังกฤารูดีว่าการเพิ่มจำนวนยิวในปาเลสไตน์สร้างความไม่พอใจแก่อาหรับประชากรส่วนใหญ่ในปาเลสไตน์ อาหรับปาเลสไตน์ประท้วงอังกฤษและปฏิบัติการของขบวนการไซออนนิสต์ด้วยการเดินขบวนและก่อความวุ่นวายอังกฤษจำเป็นต้องจำกัดจำนวนยิวอพยพเข้าปาเลสไตน์ช่วงทศวรรษ 1930 ก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ยิวจาเยอรมันและโปแลนด์หลีกหนีการฆ่าข่มเหงของนาซีอพยพหลั่งไหลเข้าปาเลสไตน์อาหรับในปาเลสไตน์ต่อต้านการอพยพหลังไหลของยิวสู่ปาเลสไตน์ด้วยกาฃรก่อความวุ่นวายประท้วงอังกฤษอีกอังกฟษต้องปฏิบัติการจำกัดจำนวนยิวอพยพเข้าปาเลสไตน และจำกัดการขายที่ดินแก่ยิวอย่างเคร่งครัด ยิวไม่พอใจท่าทีของอังกฤษ
สหรัฐอเมริการ่วมสนับสนุนจัดตั้งประเทศอิสราเอลในปี 1948 ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ทั้งยิวและอาหรับในปาเลสไตน์หยุดต่อต้านอังกฤษและเข้าร่วมในกองกำลังสัมพันธมิตรในเวลาเดียวกันนี้นาซีเอยรมันเข่นฆ่าชาวยิวในยุโรปกว่าหกล้านคนผลักดันให้ขบวนการไซออนนิสต์จำเป็นต้องดำนเนิการบีบังคับอังกฤษให้ยกเลิกการจำกัดจำนวนยิวอพยพและรับยิวยุโรปที่เหลือรอดการเข่นฆ่าล้างเผ่าพันธ์ เข้าอาศัยในปาเลสไตน์และจัดตั้รัฐบิวเอย่างเป็นทางการอาหรับในตะวันออกกลางต่อต้านการจัดตั้งรัฐบิวในปาเลสไตน์ด้วยสันนิบาตอาหรับ จัดตั้งในวันที่ 22 มีนาคม 1945 ประกองด้วยชาติอาหรับเริ่มแรกเจ็ดชาติ อังกฤษวางตัวลำบากและในปี 1947 อังกฤษนำปัญหาปาเลสไตน์สู่การชี้ขาดขององค์การสหประชาชาติ เพื่อการแก้ไขปัญหาปาเลสไตน์องค์การสหประชาชาติกำหนดจัดตั้งคณะกรรมการพิเศษในเรื่อปาเลสไตน์ขององค์การสหประชาชาติ ในวันที่ 29 พฤศจิกายน ปีเดียวกันนั้นเอง คณะกรรมการพิเศษในเรื่องปาเลสไตน์ให้ข้อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาปาเลสไตน์ต่อสมัชชากำหนดประการที่หนึ่งแบ่งดินแดนปาเลสไตน์เป็นสามส่วนคือ รัฐยิว รัฐอาหรับและกรุงยะรูซาเล็มอยู่ภายใต้การดูแลของคณะมนตรีภาวะทรัสตี สองให้กองกำลังอังกฤษถอนออกจาปาเลสไตน์ อาหรับไม่เห็นด้วยกับขอ้เสนอ แต่ยิว อังกฤษและสหรัฐอเมริกาเห็ฯด้วยกับข้อเสนอ สมัชชายอมรับในข้อเสนอให้มีผลในทางปฏิบัติ ทันที่ที่กองกำลังอัฏฟษถอนออกจาปาเลสไตน์ ยิวประกาศจัดตังประเทศอิสราเอง ภายใต้การนำของเดวิด เบน กูเรียน องกค์การสหประชาชาติและสหรัฐอเมริกาให้การรับรองในเอกราชของอิสราเอล พฤษภาคม 1948 กองำลังสันนิบาตอาหรับนำโดยอียิปต์ ซีเรีย จอร์แดน และเลบานอน บุกโจมตีอิสราเอลชาติเกิดใหม่ในดินแดนปาเลสไตน์ นับเป็นสงครามครั้งแรกระหว่างอาหรับ อิสราเอล สงครามยุติในปี 1949 ชัยชนะเป็นของฝ่ายอิสราเอล และสามารถเข้ายึดครอง สร้างความขุ่นเคืองไม่พอใจแก่อาหรับ อาหรับในปาเลสไตน์เรียกชาวปาเลสไตน์ ชาวปาเลสไตน์ส่วนใหญต้องออกจากปาเลสไตน์ในเขตปกครองอิสราเอลสันนิบาติอาหรับรับผู้ลี้ภัยชาวปาเลสไตน์เข้าอาศัยในประเทศของตน กลางปี 1949 อิสราเอลลงนามในข้อตกลงหยุดยิงกับสันนิบาติอาหรับแต่ไม่มีการลงนามร่วมกันอย่างเป็นทางการในสนธิสัญญาสันติภาพเพราะกลุ่มชาติอาหรับ(มุสลิม)ปฏิเสธการก่อต้งชาติอิสราเอลในดินแดนปาเลสไตน์
สหรัฐอเมริกาสนับสนุนจัดตังองค์การสกัดกั้นการขยายอิทธิพลคอมมิวนิสต์ในดินแดนตะวันออกกลางด้วยข้อตกลงแบกแดดปี 1955 และองค์การสนธิสัญญกาลงปี 1959 แม้นสหรัฐอเมริกาจะให้การสนับสนุนยิว จดตั้งประเทศอิสราเอลในวันที่ 14 พฤษภาคม 1948 สร้างความโกรธแค้นไม่พอใจแก่อาหรับ แต่สหรัฐอเมริกาคงมุ่งสร้างความสัมพันธ์อันดีกับอกหรับเพื่อให้กลุ่มชาติอาหรับรวมกำลังกันต่อต้านการชยายอิทธิพลของคอมมิวนิสต์(รุสเซีย)ในตะวันออกกลางเริ่มด้วยในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 1955 อิรักและตุรกีประเทศทางตอนใต้ของรุสเซียเกรงการถุกโจมตีของรุสเซียได้ร่วมลงนามในข้อตกลงแบกแดดปี 1955 กำหนดเป็นพันธมิตรกันทางทหารร่วมต่อต้านการก้าวร้าวคุกคามของคอมมิวนิสต์รุสเซียในดินแดนตะวันออกกลาง มีสำนักงานหญ่อยู่ทีกรุงแบกอดดในอิรัก ปลายปี 1955 อังกฤษ อิหร่าน และปากีสถาน เข้าร่วมเป็นสมาชิกด้วย สหรัฐอเมริกาให้การสนับสนุนการรวมตัวด้านการทหารของห้าชาตด้วยเงิน เทคโนโลยีและยุทธปัจจัย แต่ไม่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกด้วย ปี 1959 อิรักถอนจากการเป็นพันธมิตรร่วมทางการทหารตามข้อตกลงแบกแดดปี 1955 เป็นผลให้สำนักงานใหญ่ย้ายจากกรุงแบกแดดในอิรักมาอยู่ที่กรุงอังการาในตุรกีเหลือชาติผู้ร่วมลงนามเพียงสี่ชาติคือ ตุรกี อังกฤษ อิหร่าน และปากีสถานและยุลเลิกในที่สุด
Revolution Cuba
การปฏิวัติคิวบา เป็นหารปฏิวัติด้วยอาวุธโดยขบวนการ 26 กรกฎาคมของฟิเดลกัสโตรต่อรัฐบาลผู้เผด็จการคิวบา ฟุลเคนเซียว บาติสตา ระหว่าง ปี 1953-1959 ท้ายที่สุดบาติสตาถูกขับจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 มกราคม 1959 และแทนที่ด้วยรัฐบาลปฏิวัตินำโดยกัสโตร รัฐบาลนี้ภายหลังปฏิรูปตามแนวทางคอมมิวนิสต์และได้กลายเป็นพรรคคอมมิวนิสต์คิวบาในปี 1965
การปฏิวัติคิวบาในระยะเริ่มต้นเร่มขึ้นเมื่อกฐฎติดอาวุธโจมตีค่ายทหารมองกาดาในซันเดียดกและค่ายหารในบายาโม เมื่อเดอืนกรกฏาคม 1953 ตัวเลขผู้เสียชีวิตยังเป็นที่ถกเถียงฟิเดล กัสโตรและน้องชาย ราอุล กัสโตร รุส ผู้รอดชีวิตถูกจับกุมหลังจากนั้นไม่นาน ในการพิจารณา ฟิเดลกัสโตรแถลงแก้ต่างนานเกือบสี่ชั่วโมง และปิดท้ายด้วยประโยคที่ว่า “พิพากษาผมเลย มนไม่สำคัญหรอก ประวัติศาสตร์จะยกโทษให้ผม” ฟิเดลกัสโตรถูกตัวสินจำคุก 15 ปี ในเรือนจำเปรซีดีโอโมเดโล ตั้งอยู่บนเกาะสน ขณะที่ราอุลถูกตัดสินจำคุก 13 ปี
ในปี 1955 ภายใต้แรงกดดันทางการเมืองอย่างหนัก รัฐบาลบาติสตาปล่อยนักโทการเมืองบทั้งหมดในคิวบรวมทั้งมือก่อเหตุโจมตีมองกาดา บาติสตาถูกกล่อมให้ปล่อยพี่น้องกัสโตรด้วย ซึ่งบางส่วยโดยครูเยซูอิดสมัยเด็กของฟิเดล
สองพี่น้องกัสโตรเข้าร่วมกับผู้ลี้ภัยอื่นในเม็กซิโกเพื่อเตรียมการปฏิวัติโค่นล้มบาติสตา โดยได้รับการผึกจากอัลเอบ์โต บาโย ผู้นำกำลังสาธารณรับนิยมในสงครามกลางเมืองสเปน ระหว่างช่วงนี้ ฟิเดลพบและเข้าร่วมกำลังกับนักปฏิวัติชาวอาร์เจนตินา เอร์เนสโต “เช” เกบารา
1956-1958
เรือยอตกรันมา มาถึงคิวบาในเดือนธันวาคม 1956 พี่น้องกัสโตรและสมาชิกขบวนการ 26 กรกฏาคมอีก 80 คนมากับเรือด้วย เรือดังกล่าวมาถึงสองวันซึ่งช้ากว่ากำหนด ซึ่งความล่าช้านี้ดับความหวังการประสานโจมตีร่วมกับขบวนการฝ่ายฮาโน หลังมาถึงกลุ่มกบฏเร่มตีฝ่าเข้าไปในทิวเขาเซียร์รามาเอสตรา ทางตะวันออกเฉียงใต้ของคิวบา ผู้ที่โดยสารมากับกับเรือกระจัดกระจายหลังจากการเผลิญหน้าครังแรกอันนองเลือดกับกองทัพคิวบา และต่อมาได้รับความช่วยเหลือจากชาวนาผู้ฝักใฝ่และจะก่อตั้งแกนนำของกองทัพกองโจร เซเลีย ซันเชสและไฮย์อีเอ ซันตามาเรีย รวมอยู่ในนักปฏิวัติหญิงผู้สนับสนุนฟิเดล กัสโตรในทิวเขาด้วย
13 มีนาคม 1957 กลุ่มนักปฏิวัติอีกกลุ่ม เรียกวา หน่วยปฏิวัติ ซี่งมีอุดมกาณ์ต่อต้านคอมมิวนิสต์ซึ่งสวนใหญประกอลขึ้นจากนักศึกษา โจมตีทำเนียบประธานาธิบดีในกรุงฮาวานา พยายามลอบสังหารบาติสตาและรัฐประหาร ซึ่งเป็ป็นการฆ่าตั่วตาย ผู้นำของหนวย นักศึกษาโคเซ อันโตนีโอ เอเซเบร์เรีย เสียชีวิตในการยิงต่อสู้กับกำลังของบาติสตรา มีผุ้รอดชีวิตกล่มหนึ่งซึ่งมี ดร. อุมเบร์โต กัสเตโย และโรลันโด กูเบลาและเฟาเร โซมอน
หลังจากนั้น สหรัฐอเมริกาได้ลงโทษทางเศรษฐกิจต่อรัฐบาลคิวบาและเรียกเอกอัครทูตกลับประเทศ ยิ่งบั่นทอนอาณัติของรัฐบาลไปอีกการสนับสนุนบาติสตาในหมู่ชาวคิวบาเรื่มจางเจือไป อดีตผุ้สนับสนุนไม่เข้าร่วมกับนักปฏิวัติก็วางตัวออกห่างจากบาติสตาแต่มาเซียและนักธุรกิจสหรัฐยังสนับสนุนบาติสตาต่อไป รัฐบาลหันไปพึงการใช้วิธีรุนแรงบ่อยครั้งเพื่อรักษานครต่าง ๆ ของคิวบาให้อยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาล อย่างไรก็ดี ในทิวเขาเชียร์รามาเอสตรา กัสโตร ซึ่งได้รับความช่วยเหลือจากฟรังก์ปาอิส, ราโมส ลาดูร์, อูเบร์ มาโตส และคนอื่นๆ จัดการโจมตีที่มั่นขนาดเล็กของกองกำลังบาติสตาอย่างเป็นผล เช เกบาราและราอุล กัสโตรช่วยฟิเดลรวมการควบคุมทางการเมืองของเขาในทิวเขานั้นโดยบ่อยครั้งฝ่านการประหารชีวิตพวกที่ต้องสงสัยว่าภักดีบาติสตาหรือเป็นคู่แข่งอื่นของกัสโตรเปเตรอสยังได้รสนับสนุนทางทหารโดยตรงต่อกำลังหลักของกัสโตรโดยคุ้มครองเส้นทางเสบียงและแบ่งปันข่าวกรองท้ายที่สุด ทิวเขาตกอยู่ในการควบคุมของกัสโตร
นอกเหนือไปจากการต่อสู้ด้วยอาวุธแล้ว ฝ่ายกบฏยังใช้การโฆษณาชวยเชื่อเพื่อให้เกิดความได้เปรียบ มีการจัดตั้งสถานีวิทยุเถื่อน 1958 กัสโตรและกำลังของเขากระจายเสียงข้อความของเขาทั่วประเทศจากในเขตแดนของศัตรู การกระจายเสียงวิทธยุเป็นไปได้โดยการ์ลอสฟรัสกี อดีตคนรู้จักของกัสโตรผู้ซึ่งภายหลังเป็นชาวคิวบาลี้ภัยในเปอร์โตริโก
ระหวางช่วงนี้ กำลังของกัสโตรยังมีจำนวนค่อนข้างน้อย ต่ำกว่า 200 คนเล็กน้อย ขณะที่กองทัพและกำลังตำรวจคิวบาอยู่ระหว่าง สามหมื่นถึง สีหมื่นนาย อย่างไรก็ดี เมือทหารคิวบาสู้กับฝ่ายปฏวิติก็ต้องถูกบีบให้ล่าถอยแทบทุกครั้งไป การห้ามสินค้าประเภทอาวุธซึ่งสหรัฐอเมริกากำหนดต่อรัฐบาลคิวบาเมื่อวันที่ 14 มีนา 1958 มีส่วนสำคัญต่อความอ่อนแอของกองทัพบาติสตากองทัพอากาศคิวบาเสือมลงอย่างรวดเร็ว เพราะไม่อาจซ่อมแซมอากาศยานโดยไม่นำเข้าช้นส่วนจากสหรัฐอเมริกา
ท้ายที่สุด บาติสตาสนองต่อความพยายามของกัสโตรด้วยการโจมตีทิวเขาแห่งนั้นในปฏิบัติการเบราโน ซึ่งฝ่ายกบฏเรียกว่า ลาโอเฟนซีบากองทัพส่งทหารราว 12,000 นาย ซึง่ครึ่งหนึ่งเป็นทหารเกณฑ์ที่ไม่ได้รับการฝึก เข้าไปในทิวเขา ในการปะทะกันอย่างประปรายต่อเนื่องกองโจรที่เด็ดเดียวของกัสโตรชนะกองทัพคิวบา ในยุทธการที่หมู่บ้านลาปลาตา ซึ่งกินเวลาตั้งแต่วันที่ 11 ถึง 21 กรกฏาคม ค.ศ. 1958 กำลังของกัสโตรเอาชนะทั้งกองพันได้ โดยจับกุมทหารเป็นเชลยได้ 240 คน ขณะที่เสียฝ่ายตนไปเพียง 3 คน อย่างไรก็ดี กระแสสงครมเกือบพลิกกลับ เมื่อกองทัพของบาติสตาเกือบทำลายกองทัพขนาดเล็กประมาณสามร้อยคนของกัสโตรที่ยุทธการที่ลัสเมร์เซเตส ด้วยกำลังของเขาเสียเปรียด้านจำนวน กัสโตรจึงร้องขอและได้รับการหยุดยิงชั่วคราว ขณะที่การเจรจาอันไร้ผลดำเนินไป กำลังของกัสโตรค่อย ๆ หลบหนีออกจากับดักหลบหนีกลับเข้าไปในทิวเขา และปฏิวัติการเวราโนสิ้นสุดลงเด็ดขาด้วยความล้มเหลวของวรัฐบาลบาติสตา
1958-1959
หลังการโจมตีของบาติสต้าล้มเหลว กำลังของกัสโตรเริ่มเปิดฉากบุกบ้าง กรันมา กวันตานาโม และออลลกินปัจจุบัน ฟิเดล กัสโตร ราอุล กัสโตร และคาน อัลไมย์ดา โบสเก มุ่งการโจมตีเป็นสี่สายกำลังของกัสโตรลงจากเขาพร้อมอาวุธใหม่ที่ยึดได้แลและได้รับชัยชนะขั้นแรกหลายครั้ง ชัยชนะครั้งสำคัญของกัสโตรที่กีซาและการยึดเมืองหลายเมือได้สำเร็จ
ขณะเดียวกัน กบฏอีกสามกอง ภายใต้บัญชาของเช กาบารา,กามีโล เซียนฟวยโกส และไคย์เม เบกา รุกคืบไปทางตะวันตกมุ่งสู่ซันตากลาราเมืองหลวงของจังหวัดบียากลารา กองทัพของบาติสตาซุ่มโจมตีและทำลายกองของไคย์เม เบกา แต่อีกสองกองที่เหลือไปถึงจังหวัดตอนกลางที่ซึ่งพวกเขาพยายามร่วมกับกลุ่มต่อต้านอีกฟลายกลุ่มที่มิได้อยู่ภายใต้บัญชาของกัสโตร ตามข้อมูลของฟาเรีย เมือกองของเช เกบาราฝ่านจังหวัดบียากลารา กองทัพของบาติสตาซุ่มโจมตีและทำลายกองของไคย์เม เบกา แต่อีกสองกองที่เลหือไปถึงจังหวัดตอนกลางที่ซึ่งพวกเขาพยายามร่วมกับกลุ่มต่อต้านอีกลายกลุ่มที่มิได้อยู่ภายใต้บัญชาของกัสโตร ตามข้อมูลของฟาเรีย เมือกองของเช เกบาราฝ่านจังหวัดลัสบีอัส และโดยเฉฑาะอย่างยิ่งผ่านทิวเขาเอสกัมไบรย์ ที่ซึ่งกำลังหน่วยปฏิวัติต่อต้ารนคอมมิวนิสต์ ได้สู้รบกับกองทัพของบาติสตานานหลายเดือน ความไม่ลงรอยกันค่อย ๆมีขึ้นระหว่างกบฎทั้งสองกลุ่ม อย่างไรก็ดี กองทัพกบฎผสมยังรุกคืบต่อไ ปละเซียฟวยโกสได้รับชัยชนะครั้งสำคัญในยุทธการที่เมืองฮากวาไคย์และเขาได้รับฉายาว่า “วีรบุรุษแห่งฮากวาไคย์”
ยุทธการซันตากลาราเกิดขึ้น นครซันตากลาราเสียแก่กำลังผสมขอ ง เช เกบารา,เชียนฟวยโกส และกบฏหน่วยปฏิวัตินำโดยผู้บัญชาการโรลันโด กูเบลา, ควน”เอลเมคีกาโน” อาบราอันเตส และวิลเลียม อเล็กซานเดอร์ มอร์แกน ข่าวความพ่ามยแพ้นี้ทำให้บาติสตาตื่นตระหนกเขาหลบหนีจากคิวบาไปยังสาธารณรัฐโดมินิกัน มกราคม 1959 ผู้บัญชาการวิลเลียม อเล็กซานเดอร์ มอร์แกน ผู้นำกบฏหน่วยปฏิวัติ ยังสู้รบต่อไปเมื่อบาติสตาหลบหนีไปแล้วและยึดนครเซียฟวยโกสได้ กัสโตรทราบข่าวการหลบหนีของบาติสตาในช่วงเช้าและเริ่มเจรจาเพื่อยึดซันเดียโกเดกูบาทันที พันเอกรูบีโด ผู้บัญชาการทหารในเมือง สั่งมิให้ทหารของเขาสู้รบ กำลังกัสโตรจึงยึดเมืองได้ กำลังของเกบาราและเซียนฟวยโกสเข้ากรุงฮาวานาเกือบพร้อมกันนั้น ทั้งสองไม่พบการต่อต้านระหว่างการเดินทางจากซันตากลารามาฮังเมืองหลวงของคิวบา ตัวกัสโตรเองมาถึงฮาวานาเมืองันที่ 8 มกราคมหลังเดินขบวนฉลองชัยยชนะอันยาวนาน มานวยล์ อูร์รูเดีย เฮโอ ตัวเลือกของกัสโตรดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีวันที่ 3 มกราคม
การปฏิวัติคิวบาในระยะเริ่มต้นเร่มขึ้นเมื่อกฐฎติดอาวุธโจมตีค่ายทหารมองกาดาในซันเดียดกและค่ายหารในบายาโม เมื่อเดอืนกรกฏาคม 1953 ตัวเลขผู้เสียชีวิตยังเป็นที่ถกเถียงฟิเดล กัสโตรและน้องชาย ราอุล กัสโตร รุส ผู้รอดชีวิตถูกจับกุมหลังจากนั้นไม่นาน ในการพิจารณา ฟิเดลกัสโตรแถลงแก้ต่างนานเกือบสี่ชั่วโมง และปิดท้ายด้วยประโยคที่ว่า “พิพากษาผมเลย มนไม่สำคัญหรอก ประวัติศาสตร์จะยกโทษให้ผม” ฟิเดลกัสโตรถูกตัวสินจำคุก 15 ปี ในเรือนจำเปรซีดีโอโมเดโล ตั้งอยู่บนเกาะสน ขณะที่ราอุลถูกตัดสินจำคุก 13 ปี
ในปี 1955 ภายใต้แรงกดดันทางการเมืองอย่างหนัก รัฐบาลบาติสตาปล่อยนักโทการเมืองบทั้งหมดในคิวบรวมทั้งมือก่อเหตุโจมตีมองกาดา บาติสตาถูกกล่อมให้ปล่อยพี่น้องกัสโตรด้วย ซึ่งบางส่วยโดยครูเยซูอิดสมัยเด็กของฟิเดล
สองพี่น้องกัสโตรเข้าร่วมกับผู้ลี้ภัยอื่นในเม็กซิโกเพื่อเตรียมการปฏิวัติโค่นล้มบาติสตา โดยได้รับการผึกจากอัลเอบ์โต บาโย ผู้นำกำลังสาธารณรับนิยมในสงครามกลางเมืองสเปน ระหว่างช่วงนี้ ฟิเดลพบและเข้าร่วมกำลังกับนักปฏิวัติชาวอาร์เจนตินา เอร์เนสโต “เช” เกบารา
1956-1958
เรือยอตกรันมา มาถึงคิวบาในเดือนธันวาคม 1956 พี่น้องกัสโตรและสมาชิกขบวนการ 26 กรกฏาคมอีก 80 คนมากับเรือด้วย เรือดังกล่าวมาถึงสองวันซึ่งช้ากว่ากำหนด ซึ่งความล่าช้านี้ดับความหวังการประสานโจมตีร่วมกับขบวนการฝ่ายฮาโน หลังมาถึงกลุ่มกบฏเร่มตีฝ่าเข้าไปในทิวเขาเซียร์รามาเอสตรา ทางตะวันออกเฉียงใต้ของคิวบา ผู้ที่โดยสารมากับกับเรือกระจัดกระจายหลังจากการเผลิญหน้าครังแรกอันนองเลือดกับกองทัพคิวบา และต่อมาได้รับความช่วยเหลือจากชาวนาผู้ฝักใฝ่และจะก่อตั้งแกนนำของกองทัพกองโจร เซเลีย ซันเชสและไฮย์อีเอ ซันตามาเรีย รวมอยู่ในนักปฏิวัติหญิงผู้สนับสนุนฟิเดล กัสโตรในทิวเขาด้วย
13 มีนาคม 1957 กลุ่มนักปฏิวัติอีกกลุ่ม เรียกวา หน่วยปฏิวัติ ซี่งมีอุดมกาณ์ต่อต้านคอมมิวนิสต์ซึ่งสวนใหญประกอลขึ้นจากนักศึกษา โจมตีทำเนียบประธานาธิบดีในกรุงฮาวานา พยายามลอบสังหารบาติสตาและรัฐประหาร ซึ่งเป็ป็นการฆ่าตั่วตาย ผู้นำของหนวย นักศึกษาโคเซ อันโตนีโอ เอเซเบร์เรีย เสียชีวิตในการยิงต่อสู้กับกำลังของบาติสตรา มีผุ้รอดชีวิตกล่มหนึ่งซึ่งมี ดร. อุมเบร์โต กัสเตโย และโรลันโด กูเบลาและเฟาเร โซมอน
หลังจากนั้น สหรัฐอเมริกาได้ลงโทษทางเศรษฐกิจต่อรัฐบาลคิวบาและเรียกเอกอัครทูตกลับประเทศ ยิ่งบั่นทอนอาณัติของรัฐบาลไปอีกการสนับสนุนบาติสตาในหมู่ชาวคิวบาเรื่มจางเจือไป อดีตผุ้สนับสนุนไม่เข้าร่วมกับนักปฏิวัติก็วางตัวออกห่างจากบาติสตาแต่มาเซียและนักธุรกิจสหรัฐยังสนับสนุนบาติสตาต่อไป รัฐบาลหันไปพึงการใช้วิธีรุนแรงบ่อยครั้งเพื่อรักษานครต่าง ๆ ของคิวบาให้อยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาล อย่างไรก็ดี ในทิวเขาเชียร์รามาเอสตรา กัสโตร ซึ่งได้รับความช่วยเหลือจากฟรังก์ปาอิส, ราโมส ลาดูร์, อูเบร์ มาโตส และคนอื่นๆ จัดการโจมตีที่มั่นขนาดเล็กของกองกำลังบาติสตาอย่างเป็นผล เช เกบาราและราอุล กัสโตรช่วยฟิเดลรวมการควบคุมทางการเมืองของเขาในทิวเขานั้นโดยบ่อยครั้งฝ่านการประหารชีวิตพวกที่ต้องสงสัยว่าภักดีบาติสตาหรือเป็นคู่แข่งอื่นของกัสโตรเปเตรอสยังได้รสนับสนุนทางทหารโดยตรงต่อกำลังหลักของกัสโตรโดยคุ้มครองเส้นทางเสบียงและแบ่งปันข่าวกรองท้ายที่สุด ทิวเขาตกอยู่ในการควบคุมของกัสโตร
นอกเหนือไปจากการต่อสู้ด้วยอาวุธแล้ว ฝ่ายกบฏยังใช้การโฆษณาชวยเชื่อเพื่อให้เกิดความได้เปรียบ มีการจัดตั้งสถานีวิทยุเถื่อน 1958 กัสโตรและกำลังของเขากระจายเสียงข้อความของเขาทั่วประเทศจากในเขตแดนของศัตรู การกระจายเสียงวิทธยุเป็นไปได้โดยการ์ลอสฟรัสกี อดีตคนรู้จักของกัสโตรผู้ซึ่งภายหลังเป็นชาวคิวบาลี้ภัยในเปอร์โตริโก
ระหวางช่วงนี้ กำลังของกัสโตรยังมีจำนวนค่อนข้างน้อย ต่ำกว่า 200 คนเล็กน้อย ขณะที่กองทัพและกำลังตำรวจคิวบาอยู่ระหว่าง สามหมื่นถึง สีหมื่นนาย อย่างไรก็ดี เมือทหารคิวบาสู้กับฝ่ายปฏวิติก็ต้องถูกบีบให้ล่าถอยแทบทุกครั้งไป การห้ามสินค้าประเภทอาวุธซึ่งสหรัฐอเมริกากำหนดต่อรัฐบาลคิวบาเมื่อวันที่ 14 มีนา 1958 มีส่วนสำคัญต่อความอ่อนแอของกองทัพบาติสตากองทัพอากาศคิวบาเสือมลงอย่างรวดเร็ว เพราะไม่อาจซ่อมแซมอากาศยานโดยไม่นำเข้าช้นส่วนจากสหรัฐอเมริกา
ท้ายที่สุด บาติสตาสนองต่อความพยายามของกัสโตรด้วยการโจมตีทิวเขาแห่งนั้นในปฏิบัติการเบราโน ซึ่งฝ่ายกบฏเรียกว่า ลาโอเฟนซีบากองทัพส่งทหารราว 12,000 นาย ซึง่ครึ่งหนึ่งเป็นทหารเกณฑ์ที่ไม่ได้รับการฝึก เข้าไปในทิวเขา ในการปะทะกันอย่างประปรายต่อเนื่องกองโจรที่เด็ดเดียวของกัสโตรชนะกองทัพคิวบา ในยุทธการที่หมู่บ้านลาปลาตา ซึ่งกินเวลาตั้งแต่วันที่ 11 ถึง 21 กรกฏาคม ค.ศ. 1958 กำลังของกัสโตรเอาชนะทั้งกองพันได้ โดยจับกุมทหารเป็นเชลยได้ 240 คน ขณะที่เสียฝ่ายตนไปเพียง 3 คน อย่างไรก็ดี กระแสสงครมเกือบพลิกกลับ เมื่อกองทัพของบาติสตาเกือบทำลายกองทัพขนาดเล็กประมาณสามร้อยคนของกัสโตรที่ยุทธการที่ลัสเมร์เซเตส ด้วยกำลังของเขาเสียเปรียด้านจำนวน กัสโตรจึงร้องขอและได้รับการหยุดยิงชั่วคราว ขณะที่การเจรจาอันไร้ผลดำเนินไป กำลังของกัสโตรค่อย ๆ หลบหนีออกจากับดักหลบหนีกลับเข้าไปในทิวเขา และปฏิวัติการเวราโนสิ้นสุดลงเด็ดขาด้วยความล้มเหลวของวรัฐบาลบาติสตา
1958-1959
หลังการโจมตีของบาติสต้าล้มเหลว กำลังของกัสโตรเริ่มเปิดฉากบุกบ้าง กรันมา กวันตานาโม และออลลกินปัจจุบัน ฟิเดล กัสโตร ราอุล กัสโตร และคาน อัลไมย์ดา โบสเก มุ่งการโจมตีเป็นสี่สายกำลังของกัสโตรลงจากเขาพร้อมอาวุธใหม่ที่ยึดได้แลและได้รับชัยชนะขั้นแรกหลายครั้ง ชัยชนะครั้งสำคัญของกัสโตรที่กีซาและการยึดเมืองหลายเมือได้สำเร็จ
ขณะเดียวกัน กบฏอีกสามกอง ภายใต้บัญชาของเช กาบารา,กามีโล เซียนฟวยโกส และไคย์เม เบกา รุกคืบไปทางตะวันตกมุ่งสู่ซันตากลาราเมืองหลวงของจังหวัดบียากลารา กองทัพของบาติสตาซุ่มโจมตีและทำลายกองของไคย์เม เบกา แต่อีกสองกองที่เหลือไปถึงจังหวัดตอนกลางที่ซึ่งพวกเขาพยายามร่วมกับกลุ่มต่อต้านอีกฟลายกลุ่มที่มิได้อยู่ภายใต้บัญชาของกัสโตร ตามข้อมูลของฟาเรีย เมือกองของเช เกบาราฝ่านจังหวัดบียากลารา กองทัพของบาติสตาซุ่มโจมตีและทำลายกองของไคย์เม เบกา แต่อีกสองกองที่เลหือไปถึงจังหวัดตอนกลางที่ซึ่งพวกเขาพยายามร่วมกับกลุ่มต่อต้านอีกลายกลุ่มที่มิได้อยู่ภายใต้บัญชาของกัสโตร ตามข้อมูลของฟาเรีย เมือกองของเช เกบาราฝ่านจังหวัดลัสบีอัส และโดยเฉฑาะอย่างยิ่งผ่านทิวเขาเอสกัมไบรย์ ที่ซึ่งกำลังหน่วยปฏิวัติต่อต้ารนคอมมิวนิสต์ ได้สู้รบกับกองทัพของบาติสตานานหลายเดือน ความไม่ลงรอยกันค่อย ๆมีขึ้นระหว่างกบฎทั้งสองกลุ่ม อย่างไรก็ดี กองทัพกบฎผสมยังรุกคืบต่อไ ปละเซียฟวยโกสได้รับชัยชนะครั้งสำคัญในยุทธการที่เมืองฮากวาไคย์และเขาได้รับฉายาว่า “วีรบุรุษแห่งฮากวาไคย์”
ยุทธการซันตากลาราเกิดขึ้น นครซันตากลาราเสียแก่กำลังผสมขอ ง เช เกบารา,เชียนฟวยโกส และกบฏหน่วยปฏิวัตินำโดยผู้บัญชาการโรลันโด กูเบลา, ควน”เอลเมคีกาโน” อาบราอันเตส และวิลเลียม อเล็กซานเดอร์ มอร์แกน ข่าวความพ่ามยแพ้นี้ทำให้บาติสตาตื่นตระหนกเขาหลบหนีจากคิวบาไปยังสาธารณรัฐโดมินิกัน มกราคม 1959 ผู้บัญชาการวิลเลียม อเล็กซานเดอร์ มอร์แกน ผู้นำกบฏหน่วยปฏิวัติ ยังสู้รบต่อไปเมื่อบาติสตาหลบหนีไปแล้วและยึดนครเซียฟวยโกสได้ กัสโตรทราบข่าวการหลบหนีของบาติสตาในช่วงเช้าและเริ่มเจรจาเพื่อยึดซันเดียโกเดกูบาทันที พันเอกรูบีโด ผู้บัญชาการทหารในเมือง สั่งมิให้ทหารของเขาสู้รบ กำลังกัสโตรจึงยึดเมืองได้ กำลังของเกบาราและเซียนฟวยโกสเข้ากรุงฮาวานาเกือบพร้อมกันนั้น ทั้งสองไม่พบการต่อต้านระหว่างการเดินทางจากซันตากลารามาฮังเมืองหลวงของคิวบา ตัวกัสโตรเองมาถึงฮาวานาเมืองันที่ 8 มกราคมหลังเดินขบวนฉลองชัยยชนะอันยาวนาน มานวยล์ อูร์รูเดีย เฮโอ ตัวเลือกของกัสโตรดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีวันที่ 3 มกราคม
วันศุกร์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
Dwight David Esenhower
สหรัฐฯสนับสนุนเกาหลีใต้ในสงครามเกาหลี่ ดินแดนเกาหลีเป็นจุดยุทธศศาสตร์สำคัญจุดหนึ่งของโลก ในอดีตเกาหลี่เป็นของจีมากก่อน จีนใช้เกาหลีเป็นดินแดนสกัดกั้นการรุกรานขยายอำนาจของญี่ปุ่น ญี่ปุ่นได้ยึดครองเกาหลีต่อจากจีนมุ่งใช้เกาหลีเป็นฐานเพื่อการเข้ามีอำนาจในเอเชียตะวันออก เป็นปกล่งวัตถุดิบราคาถูก และเป็นตลาดแรงงานถูกรวมถึงเป็นตลาดรับซื้อสิค้าสำเร็จรูปญี่ปุ่น รุสเซียต้องการยึดครองเกาหลีเพื่อใช้เกาหลีเป็นแนวสกัดกั้นยับยั้งการขยายอิทธิพลของลัทธิคอมมิวนิสต์ ตามมติการประชุมพอทสดัม ปี 1945 ในเรื่องดินแดนเกาหลีกำหนดแบ่งดินแดนเกาหลีเป็นการชั่วคราวด้วยเส้นขนาน 38 องศาเหนือ เรียกเกาหลีเหนือ ในสหรัฐอเมริกาเข้าปลดอาวุโละกองกำลังญี่ปุ่นและดูแลรักษาความสงบในดินแดนเกาหลีใต้เส้น 38 เรียกเกาหลี่ใต้ สหรัฐอเมริกาสนับสนุนการก่อตั้งประเทศสาธารณรัฐเกาหลีมีกรุงโซลเป็นเมืองหลวง รุสเซียสนับสนุนการก่อตั้งประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีมีกรุงเปียยางเป็นเมืองหลวง ทั้งเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ต่างคิดเหมือนกันว่า มีชาติมหาอำนาจคอยหนุนหลัง คือรุเซียหนุนหลงเกาหลีเหนือ และสหรัฐอเมริกาหนุนหลังเกาหลีใต้เป็นผลให้ต่างท้าทายกันด้วยกองกำลังบริเวฯพรมแดน 38 เหนือ นำสู่สงครามเกาหลีในปี 1950…
ในปี 1951 คือสหรัฐอเมริการ่วมือกับออสเตรเลียและนิวซีแลนด์สกัดกั้นการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์ในภาคพื้นแปซิฟิกด้วยสนธิสัญญาแอนซัสปี 1951 The Treaty of ANZUS of 1951 สืบเนื่องจากจีนคอมมิวนิสต์ยึดแผ่นดินใกญ่จีนได้ในวันที่ 1949 กองกำลังเกาหลีเนหือเคลื่อรุกรานเกาหลีใต้ในวันที่ 25 มิถุนายน 1950 กองกำลังจีนเคลื่อนเข้าช่วยเหลือเกาหลีเหนือ สหรัฐอเมริกาเกรงการแผ่ขยายลัทธิคอมมิวนิสต์จากเอเชียตะวันออกสู่แปซิฟิก รวมถึงเกรงการก้าวร้าวขงอญี่ปุ่นในแปซิฟิกในอนาคตเป็นผลให้ในวันที่ 1 กันยายน 1951 ออสเกตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหรัฐอเมริกาเรียกตนเองว่ากลุ่มแอนซัส T%he ANZUS Power ร่วมลงนามในสนธิสัญญาแอนซัสปี 1951 กำหนดร่วมมือกันด้านการทหารเพื่อต่อต้านการก้าวร้าวของกองกำลังชาติผู้ก้าวร้าว(คอมมิวนิสต์) ในแปซิฟิก ชาติสมาชิกใดถูกก้าวร้าวถือว่าการก้าวร้าวนี้เกิดแก่สมาชิกทุกชาติด้วย
1 พฤศจิกายน 1950 ผู้ก่อการร้ายชาวเปอร์โรติโกสองคนปฏิบัติการลอบสังหารประธานาธิบดีทรูแมนขณะพักผ่อนที่คฤหสาสน์ ปฏิบัติการลอบสังหารประธานาธิบดีล้มเหลว เกรเซลิโอ ทอร์เรซูลา ถูกเจ้าหน้าที่ทำเนียบขาวยิงเสียชีวิต ออสการ์ คอลลาโซ ถูกยิงบดเจ็บ ประธานาธิบดีทรูแมนปลอดภัย เจ้าหน้าที่ทำเนียบขาวบาดเจ็บสองคน เสียชีวิตหนึ่งคน
นับจากปี 1950 อเมริกันชนเสื่อมศรัทธาในพรรคเดโมแครตภายใต้การนำของประธานธิบดีทรูแมน เพราะหวาดกลัวในลัทธิคอมมิวนิสต์รุสเซียทีแผ่ขยายในยุโรปตะวันออก เกิดชาติบริวารแปดชาติ สหรัฐอเมริกาไม่สามารถสกัดกั้นอำนาจจีนคอมมิวนิสต์ในแผ่นดินใหญ่ ในปี 1949 จีนคอมมิวนิสต์แสดงแสนยานุภาพกองกำลังเข้าช่วยเกาหลีเหนือในสงครามเกาหลี ประธานาธิบดีทรูแมนมีความขัดแย้งรุนแรงกับนายพลแมคอาเธอร์ในเรื่องสงครามเกาหลี ภายในประเทศมีความหวาดระแวงให้ร้ายก่าวหากันว่าเป็นคอมมิวนิสต์เพี่มความแตกแยก เจ้าหน้าที่กระทำการทุจริตใช้ตำแหน่งหน้าที่แสวงหาผลประโยชน์ ค้าของเถื่อและค้ายาเสพติด ในการเลือกตั้งปี 1952 พรรคเดโมเครตส่ง แอดไล อี.สติเฟนสัน ในตำแน่งประธานาธิบี จอห์น เจย์.สปาร์คแมน ในตำแหน่งรองประทธานาธิบดี พรรครีพับิกันส่งดีไวท์ ดี. ไอเซนฮาวร์ ในตำแหน่งประธานาธิบดี และริชาร์ด เอ็ม.นิกสัน ในตำแหน่งรองประธานาธิบดี ไอเซนฮาวร์สัญญาจะสร้างสันติภาพ ความมั่งคั่งเฟืองฟูทางเศรษฐกิจและความก้าวหน้าสู่อเมริกา ผลการนับคะแนน ไอเซนฮาวร์ชนะการเลือกตั้ง ดีไวท์ ดี. ไอเซนฮาวร์ ได้เป็นประธานาธิบดีลำดับที่ 34 จากพรรครีพับลิกัน นำการบริหารประทเศสองสมัย..
ในปี 1951 คือสหรัฐอเมริการ่วมือกับออสเตรเลียและนิวซีแลนด์สกัดกั้นการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์ในภาคพื้นแปซิฟิกด้วยสนธิสัญญาแอนซัสปี 1951 The Treaty of ANZUS of 1951 สืบเนื่องจากจีนคอมมิวนิสต์ยึดแผ่นดินใกญ่จีนได้ในวันที่ 1949 กองกำลังเกาหลีเนหือเคลื่อรุกรานเกาหลีใต้ในวันที่ 25 มิถุนายน 1950 กองกำลังจีนเคลื่อนเข้าช่วยเหลือเกาหลีเหนือ สหรัฐอเมริกาเกรงการแผ่ขยายลัทธิคอมมิวนิสต์จากเอเชียตะวันออกสู่แปซิฟิก รวมถึงเกรงการก้าวร้าวขงอญี่ปุ่นในแปซิฟิกในอนาคตเป็นผลให้ในวันที่ 1 กันยายน 1951 ออสเกตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหรัฐอเมริกาเรียกตนเองว่ากลุ่มแอนซัส T%he ANZUS Power ร่วมลงนามในสนธิสัญญาแอนซัสปี 1951 กำหนดร่วมมือกันด้านการทหารเพื่อต่อต้านการก้าวร้าวของกองกำลังชาติผู้ก้าวร้าว(คอมมิวนิสต์) ในแปซิฟิก ชาติสมาชิกใดถูกก้าวร้าวถือว่าการก้าวร้าวนี้เกิดแก่สมาชิกทุกชาติด้วย
1 พฤศจิกายน 1950 ผู้ก่อการร้ายชาวเปอร์โรติโกสองคนปฏิบัติการลอบสังหารประธานาธิบดีทรูแมนขณะพักผ่อนที่คฤหสาสน์ ปฏิบัติการลอบสังหารประธานาธิบดีล้มเหลว เกรเซลิโอ ทอร์เรซูลา ถูกเจ้าหน้าที่ทำเนียบขาวยิงเสียชีวิต ออสการ์ คอลลาโซ ถูกยิงบดเจ็บ ประธานาธิบดีทรูแมนปลอดภัย เจ้าหน้าที่ทำเนียบขาวบาดเจ็บสองคน เสียชีวิตหนึ่งคน
นับจากปี 1950 อเมริกันชนเสื่อมศรัทธาในพรรคเดโมแครตภายใต้การนำของประธานธิบดีทรูแมน เพราะหวาดกลัวในลัทธิคอมมิวนิสต์รุสเซียทีแผ่ขยายในยุโรปตะวันออก เกิดชาติบริวารแปดชาติ สหรัฐอเมริกาไม่สามารถสกัดกั้นอำนาจจีนคอมมิวนิสต์ในแผ่นดินใหญ่ ในปี 1949 จีนคอมมิวนิสต์แสดงแสนยานุภาพกองกำลังเข้าช่วยเกาหลีเหนือในสงครามเกาหลี ประธานาธิบดีทรูแมนมีความขัดแย้งรุนแรงกับนายพลแมคอาเธอร์ในเรื่องสงครามเกาหลี ภายในประเทศมีความหวาดระแวงให้ร้ายก่าวหากันว่าเป็นคอมมิวนิสต์เพี่มความแตกแยก เจ้าหน้าที่กระทำการทุจริตใช้ตำแหน่งหน้าที่แสวงหาผลประโยชน์ ค้าของเถื่อและค้ายาเสพติด ในการเลือกตั้งปี 1952 พรรคเดโมเครตส่ง แอดไล อี.สติเฟนสัน ในตำแน่งประธานาธิบี จอห์น เจย์.สปาร์คแมน ในตำแหน่งรองประทธานาธิบดี พรรครีพับิกันส่งดีไวท์ ดี. ไอเซนฮาวร์ ในตำแหน่งประธานาธิบดี และริชาร์ด เอ็ม.นิกสัน ในตำแหน่งรองประธานาธิบดี ไอเซนฮาวร์สัญญาจะสร้างสันติภาพ ความมั่งคั่งเฟืองฟูทางเศรษฐกิจและความก้าวหน้าสู่อเมริกา ผลการนับคะแนน ไอเซนฮาวร์ชนะการเลือกตั้ง ดีไวท์ ดี. ไอเซนฮาวร์ ได้เป็นประธานาธิบดีลำดับที่ 34 จากพรรครีพับลิกัน นำการบริหารประทเศสองสมัย..
วันพฤหัสบดีที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
Proxy War..(Korea War)
บทบาทและท่าทีของสหรัฐอเมริกา
สหรัฐฯให้การสนับสนุนเกาหลีใต้ในสงครามเกาหลี สงครามเกาหลีเป็นการปะทะเสียเลือดเนื้อดินแดนเกาหลีเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญของโลก
สงครามเกาหลีเริ่มด้วยกองกำลังเกาหลีเหนือบุกข้ามเส้นขนานที่ 38 เหนือเข้ามาในเกาหลีเกาหลีเหนือเป็นฝ่ายรุก เลขาธิการสหประชาชาติ ทวิกเว ลี ในเวลานั้น เรียกประชุมคณะมนตรีความมั่นคงเป็นการณีพิเศษเพื่อขอมติปฏิบัติการเคลื่อนกองกำลังทหารผสมสหประชาชาตช่วยเกาหลีใต้ เพราะรุสเซียเรียกตัวแทนรุสเซียกลับรุสเซียเนืองจากไม่พอใจหรัฐอเมริกาที่นำประเทศสาธารณรัฐจีนเข้าเป็นสมาชิกหนึ่งในห้าของคณะมนตรีความมั่นคงประเภทถาวร ทำให้มติไม่เป้ฯไปตามข้อตกลงกองกำลังทหารผสมไม่สามารถออกปฏิบัติการได้ กองกำลังเกาหลีเหนือยึดกรุงโซลได้ ประธานาธิบดีทรูแมนสั่งเคลื่อกองกำลังอเมริกันสามเหล่าทัพภายใต้การบังคับบัญชาของนายพลดักลาส แมคอาเธอร์ และให้กองเรือรบอเมริกันที่เจ็ดเข้าคุ้มกันเกาะไต้หวันด้วยเกรงกองกำลังจีนคอมมิวนิสต์เข้าโจมตี ตัวแทนังกฤษร้องของความช่วยเหลือด้านกองกำลังจาชาติสมาชิกองค์การสหประชาชาติผลคือ 16 ชาติสมาชิกองค์การสหประชาชาติให้ความร่วมมือส่งกองกำลังเข้าช่วยเกาหลีใต้ภายใต้ชื่อกองกำลังสหประชาชาติ ประกอบดวยสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย เบลเยี่ยม แคนาดา โคลัมเบีย เอธิโอเปีย ฝรั่งเศส กรีก ลักเซมเบิร์ก เนอเทอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ ฟิลิปินิส์ แอฟริใต้ ตุรกี และไทย อีก 41 ชาติร่วมส่งเพียงยุทธปัจจัยอาหารและของใช้ การรบช่วงกลางปี 1950 กองกำลังสหประชาชิติเป็นฝ่ายรุกเริ่มด้วยในวันที 8 กันยายน โดยชนะการรบในพื้นที่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเกาหลีใต้ 15 กันยายน ยกพลขึ้นบกบริเวณชายฝั่งทะเลตะวันตกของกรุงโซล ยึดกรุงเปียยางเมืองหลวงเกาหลีเหนือได้ รุกขึ้นเหนือเรื่อยไปถึงลุ่มแม่น้ำยาลูเป็นเส้นทางน้ำกั้นระหว่างกาหลีหนือกัยสาธารณรัฐประชาชนจีน จีนมองว่ากองกำลังสหประชาชาตที่บลุ่มน้ำยาลูเป็นการท้าทายจีนคอมมิวนิสต์และต้องการช่วยเกาหลีเหนือซึ่งเป็นประเทศร่วมอุดมการณ์การเมืองเดียวกันกับจีนคอมมิวนิสต์ ทั้งต้องการรับกษาพันธมิตรเกาหลีหนือในเอเชียตะวันออกให้คงอยู่ต่อไป ในทางปฏิบัติจีนเคลื่อนกองกำลังทหารเข้าช่วยเกาหลีเนหือ รุสเซียหนุนดานอาวุธยุทธปัจจัย เป็นผลให้กองกำลังสหประชาชาติถูกโจมตีต้องถอยร่นลงใต้ การรบช่วงเดือนพฤศจิกายน กองกำลังจันเป็นฝ่ายรุก นับจากช่วงปลายปี 1950 กองกำบังสหประชาชิถอยกลับสู่เกาหลีใต้ กองกำลังสหประชาชาติพยายามตรึงอยู่ที่เส้นที่ 38 เหนือ และในเดืนอมกราปี 1951 กองกำลังสหประชาชาติยึดกรุงโซลกลับคืนมาได้ ช่วงกลางปี 1951 พักรบชั่วคราวครั้งแรกเพื่อการเจรจา การเจรจาไมเป็นผลการรบจึงดำเนินต่อไป มีการเจรจากันอีกในเวลาต่อมาและยุติสงครามในวันที่ 27 กรกฎาคม 1953 ในสมัยประธานาธิบดี ไอเซนฮาวร์
จีนแดง
มีความหวังเปี่ยมล้นที่จะรวมประเทศทางทหารที่มุ่งหมายคือ ธิเบต และไต้หวัน แต่การอุบัติขึ้นของสงครามเกาหลีทำให้แผนการรวมประเทศต้องดำเนินไปครึ่ง ๆ กลาง ๆ สงครามเกาหลีปิดโอกาสจีนมิให้รวมไต้หวัน สหรัฐอเมริกาประกาศพิทักษ์ไต้หวัน ดดยพฤตินัยด้วยการส่งกองทัพเรือภาคที่ 7 เข้าประจำข่องแคบไต้หวัน เพื่อป้องกันจีนฉวยโอกาส
ภาวะตึงเครียดทางการเมืองระหว่างประเทศด้วยการสงครามเกาหลี บทบาทของจนในสงครามเกาหลี การรวมไต้หวันไม่สำเร็จ ปฏิกิริยาของอเมริกาที่แสดงออกถึงความเป็นปฏิปักษ์และการที่กองทัพสหประชาชาติ การปกิวัติแต่ะละครั้ง หรือการัฐประหารก็ดี เปลี่ยนผู้นำการปกครองในรูปแบบวิธีการใดก้ดีย่อมจะทำให้ผู้ปกคอรงหรือผู้มีอำนาจกลุ่มใหญ่ตระหนักถึงความจำเป็นในการรักษาอำนาจที่ได้มาการปกครองในขั้นต้นจึงมกจะเป็นแบบรวมอำนาจ ดดยเฉพาะสำหรับพวกคอมมิวนิสต์ได้มีการเร่งรีบเผยแพร่ปลูกฝังลัทะดอุดมการณ์และสร้างองค์กรต่าง ๆ ขึ้นทั่วรับ จีนแดงได้นำรูปแบบองค์กรมาใช้แทนที่การสร้างระบบและนำอุดมการ์มาปลูกฝังใจประชาชนแทนธรรมเนียมทัศนคติ
ในระยะนั้น ฝ่ายปฏิปักษ์หรือผุ้ใดเพิกเฉยต่อระบบการปกครองมักะถูกขจัดกวาล้างดดยวิธีรุนแรง ประชาชนได้เริ่มตระหนักถึงคำพูดขงเมาเซตุง ซึ่งได้เตื่อนไว้ตั้งแต่ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ใคประกาศ “แนวประชาธิปไตย” เมือเป็นปฏิปักษ์เช่นนั้น เมาได้ย้ำว่า “ใครก็ตามที่เป็ฯปฏิปักษ์ต่อลัทธิคอมมิวนิสต์ จงเตรียมตัวรอคอยการถูกทำลายล้างอยางสิ้นเชิง” ภัยสงครามเกาหลีปรากฎใกช้พรมแดนจีน เหล่านี้ล้วนเป็นภัยคุกคามเสถียรภาพความมั่นคงของจีนสั่นสะเทือนอำนาจของรัฐบาลจีนแดงเป็อย่างยิ่ง ภายในประเทศเอง จีนแดงก็มีความวิกตมิใช่น้อยในพลังอำนาจของ่ายปฏิปักษ์ซึ่งยังปรากฎทั่วไป ถัยทั้งภายในและภายนอกประเทศทำให้จีนแอดงต้องการขวัญกำลังใจอันเด็ดเดียวจากประชาชนในการสนัสนนุนอำนจของพรรคจีนคอมมิวนิสต์ให้สามารถปกครองจีนได้โดยตลอดรอดฝั่งจีนแดงจึงดำเนินการรณรงค์ ด้วยมาตรการต่างๆ อาทิ
- การกวาดล้าบรรดาผุ้เป็นปฏิปักษ์ต่อการปฏิวัติของตน โดยยืมมือประชาชนให้ประหัตประหารกันเอง..
- การต่อต้านลัทธิจักรวรรดินิยมของสหรัฐอเมริกาโจมตีสหรัฐอเมริกาว่าเป็นจ้าวจักรวรรดินิยมนายทุน แทรกแซงในกิจการเมืองภายในของชาติอื่น
- การรณรงค์ ต่อต้านสิ่งชั่วร้าย สามประการ,การรณรงค์ต่อต้านสิ่งชั่วร้ายห้าประการโดยมีเป้าหมายเพื่อปรับปรุงการบริหารใมความตื่นตัวและเร่งรัดพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาภ
- ปัญญาชนเป็นกลุ่มคนที่นับหน้าถือตาในสังคมจีนมานานแล้วในฐานะที่เคเป็นผู้นำสังคมและเช่อมรัฐกับสังคมเข้าด้วยกัน ซคงเมาเซตุงเห็นความสำคัญข้อนี้จึงย้ำเรื่องนี้ต่อคณะกรรมการกลางว่า “ถ้าปราศจากความร่วมมือจาปัญญาชน การปฏิวัติจะไม่สามารถบรรลุชัยนะได้”ถ้าปัญญาชนเป็นคอมมิวนิสต์ประชาชนส่วนใหญ่ย่อมถือเป็นแบบอย่างปฏิบัติตาม การกล่มเกลาบรรดาปัญญาชนให้เป็นคอมมิวนิสต์จึงเป็นหน้าที่ความจำเป็นของพรรคคอมมิวนิสต์จีน
สงครามที่พยายามจะเปลี่ยนสถานะเดิมแห่งการแบ่งแยกเกาหลีนั้นได้ยุติลงโดยเกาหลียังคงแบ่งแยกต่อไปเมือนเดิม ปัญหาภายในของสองเกาหลีหนักหน่วงยิ่งขึ้นด้วยเหตุสงครามที่ได้มีการสับประยุทธ์กันบนผืนแผ่นดินเกาหลี ระบอบคอมมิวนิสต์ตึ้งมั่นในเกาหลีเหนือ ระบอบประธิปไตยแต่เพียงผิวเปลือกนอกตั้งมั่นในเกาหลีใร้ ชาวเกาหลีจึงมีการปกครองแบบเผด็จการฝ่ายขวาและเผด็จการฝ่ายซ้ายให้เลือก การพัฒนาประเทศของเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ถือเป็นกรณีตัวอย่างทดลองประสิทธิภาภาพของลัทธิอุดมการณ์ขันแข่งกันอยู่ในเวลทีการเมืองโลก
รุสเซีย
ในช่วงสงครามเกาหลี รุสเซียได้ให้ความช่วยเหลือทางการทหารแก่ จีนและเกาหลีในสมัยที่สตาลินยังคงมีชีวิตอยู่สหภาพโซเวียตไม่มีข้องตกลงให้ความช่วยเหลือกับประเทศที่อยู่นอกเขตอิทธิพลของตน แตหลังการตายของสตาลินสภาพการณ์ก็เปลี่ยนแปลงไป
5 มีนาคม 1953 สตาลินได้ถึงแก่อนิจกรรมโดยมิได้มีทยาทสืบต่ออำนาจทางการเมืองอย่างเป็ฯทากงการ กลไกและองค์ประกอบลแห่งการปกครองรวนเร คณะผู้นำใหม่เต็มไปด้วความไม่มั่นใจและหวาระแวงในอำนาจการปกครอง ผุ้นำใหม่ที่สำคัญมีสามคนคือ นายจอร์จิ เอ็ม มาเลนคอฟ นายลาเวรนตี บีเรีย นายวยาเชสลาฟ โมโตลอฟ และผุ้ที่มีอำนาจอิทธิพลอยูเบื่องหลังคือ นาย นิกิตา เอส ครุสเชฟ การปกครองโดยบุคคลทั้งสามข้าต้นแสดงว่าไม่มีผู้ใดมีอำนาจเด็ดขาดแต่ผู้เดียว รุสเซ๊ยตกอยู่ภายใต้การปกครองโดยหมู่คณะ
แม้คณะผู้นำจะแย่งกันเป็นใหญ่แต่ผู้เดียวแต่ก็เห็นพ้องต้องกันที่จะสลายลักษณะเผด็จการแบบสตาลินและต้องพยายามธำรงไว้ซึ่งเอกภาพและพลกำลังให้เป้ฯที่ประจักษ์แก่สายตาโลก อสัญกรรมของสตาลินมีผลกระทบต่อนโยบายต่างประเทศของรุสเซยมาก นโยบายต่างประเทศเป็นปัจจัยสำคัญชี้ขาดอำนาจของผุ้นำรุสเซียได้ดีเท่าๆดับชี้ขาดสงครามหรือสันติภาพสำหรับประชาคมโลกด้วย กลุ่มผู้นำใหม่ยังไม่มีอำนาจสิทธิขาดในชั้นต้น ระยะเวลาดังกล่าว คือ 1953-1955 รุสเซียไม่มีนโยบายอันแน่วแน่ ความตึงเครียดภายในประเทศและการเมืองที่ไม่แน่นอนเป็นเครื่องกำหนดให้รุสซียต้องดำเนินนโยบายต่างประเทศในลักษณะที่อำพรางจุดอ่อนดังกล่วมิหใปนที่ปรากฎ และการดำเนินนโยบายต้องมีความระมัดระวังพอควรเพื่อมิให้พลังพลาดได้ในสามวิถีทางแห่งการมืองสัมพันธภาพกับสามฝ่าย คือ ในฐานะอภิมหาอำนาจ,ในฐานะผู้นำโลกคอมมิวนิสต์,และในฐานะที่เป็นผู้นำโลกคอมมิวนิสต์
การเมืองโลกได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวง โดยเฉพาะการชะงักงันของสงครามเย็น และพุลยภาพแห่งอำนาจชัวขณะในเอเชียและยุโรป สถานการณ์เช่นนั้นเป็นปัจจัยเสริมให้รุสเซียต้องตระหนักถึงความจริงที่ว่า สตาลินได้สร้างความตึงเครียดขึ้นดดยไม่จำเป็นหลายครั้ง อันเป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อรุสเซีย
การดำเนินนโยบาบเสียงปฏิวัติยุโรปตะวันออกให้เป็นคอมมิวนิสต์ และสนับสนุนเกาหลีเหนือให้รวมประเทศ การสร้างวิกฤติการณ์ปิดล้อมเบอร์ลิน และการสร้างศัตรูต่อตุรกี โดยเหตุแห่งปรารถนาดินแดนบางส่วนจนตุรกีตั้งตนเป็นปฏิปักษ์ต่อรุสเซีย เหล่านี้ล้วนเป็ฯการดำเนินนโยบายเสี่ยงทำสงครามที่นับว่าเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของรุสเซีย โดยไม่จำเป็น รุสเซยมีความมั่นคงในพรมแดนของตนทั้งในยุโรปและเอเซียอยู่แล้ว รุสเซียมีอาวุธนิวเคลียร์ คณะผู้นำรุสเซียจึงรู้สักว่า รุสเซียมีความมั่นคงในอำนาจแม้จะต้องถลำลงไปในภาวะความสับสนอันใดที่จะเดิกขึ้น อีกประการ การกำหนดนโยบายผ่อนคลายความตึงเครียดนั้นมีเหตุผลเพียงพอตามที่สตาลนได้วเคราะห์ไว้ว่า “ความขัดแย้งเข้มข้นจะรุนแรงยิ่งขึ้นในโลกเสรี เป็นโอกาสเหมาะที่รุสเซียจะสามารถรอคอยความพินาสซ่งจะบังเกิดขึ้น โดยรุศียมิต้องเผชิญหน้ากับโลกเสรีโดยตรงนโยบายผ่อนคลายความตึงเครียดจนถึงระดับที่สามารถจะทำให้โลกคอมมิวนิสต์และโลกเสรีอยู่ร่วมกันได้โดยสันติ
สงครามเกาหลีได้พิสูจน์ให้รุสเซียเห็นว่า การปฏิวัติโลกให้เป็นคอมมิวนิสต์โดยวิธีการต่อสู้ดวยการใชกำลังอาวุธนั้นเป็นไปมิได้ เพราะโลกเสรีกำลังอำนาจทางทหารและความเป็นปึกแผ่นมั่นคงในการต่อต้าน ตลอดจนมีการแสดงนโยบายปิดล้อมรุสเซียอยางเปิดเผย อันเป็นผลมาจากสงครามเกาหลีนั้นด้วย
ความก้าวร้าวรุกรานของฝ่ายโลกคอมมิวนิสต์ผลักดันให้โลกเสรีภายใต้การนำของสหรัฐอเมริกาตัดสินจเสริมสร้างกำลังรบให้แก่ญี่ปุ่น เกาหลีใต้และไต้หวัน ในเดือนพฤษภาคม 1951 สหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำในการลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพกับญี่ปุ่น แม้จะเป็นการการละเมิดข้อตกลง ของที่ประชมมหาพันธมิตรทีกรุงมอสโก ข้อตกลงแห่งยังตาและพอตสดัมก็ตาม เพราะรุสเซียและจีนซึ่งเป็นคู่ศึกกับญี่ปุ่นได้ร่วมลงนามด้วย การลงนามในสันธิสัญาสันติภาพนั้นเป็นการสิ้นสุดการยึดครองญี่ปุ่น และเริ่มต้นการสร้างญี่ปุ่นให้เป็นมหาอำนาจใหม่อีกครั้ง..
สหรัฐฯให้การสนับสนุนเกาหลีใต้ในสงครามเกาหลี สงครามเกาหลีเป็นการปะทะเสียเลือดเนื้อดินแดนเกาหลีเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญของโลก
สงครามเกาหลีเริ่มด้วยกองกำลังเกาหลีเหนือบุกข้ามเส้นขนานที่ 38 เหนือเข้ามาในเกาหลีเกาหลีเหนือเป็นฝ่ายรุก เลขาธิการสหประชาชาติ ทวิกเว ลี ในเวลานั้น เรียกประชุมคณะมนตรีความมั่นคงเป็นการณีพิเศษเพื่อขอมติปฏิบัติการเคลื่อนกองกำลังทหารผสมสหประชาชาตช่วยเกาหลีใต้ เพราะรุสเซียเรียกตัวแทนรุสเซียกลับรุสเซียเนืองจากไม่พอใจหรัฐอเมริกาที่นำประเทศสาธารณรัฐจีนเข้าเป็นสมาชิกหนึ่งในห้าของคณะมนตรีความมั่นคงประเภทถาวร ทำให้มติไม่เป้ฯไปตามข้อตกลงกองกำลังทหารผสมไม่สามารถออกปฏิบัติการได้ กองกำลังเกาหลีเหนือยึดกรุงโซลได้ ประธานาธิบดีทรูแมนสั่งเคลื่อกองกำลังอเมริกันสามเหล่าทัพภายใต้การบังคับบัญชาของนายพลดักลาส แมคอาเธอร์ และให้กองเรือรบอเมริกันที่เจ็ดเข้าคุ้มกันเกาะไต้หวันด้วยเกรงกองกำลังจีนคอมมิวนิสต์เข้าโจมตี ตัวแทนังกฤษร้องของความช่วยเหลือด้านกองกำลังจาชาติสมาชิกองค์การสหประชาชาติผลคือ 16 ชาติสมาชิกองค์การสหประชาชาติให้ความร่วมมือส่งกองกำลังเข้าช่วยเกาหลีใต้ภายใต้ชื่อกองกำลังสหประชาชาติ ประกอบดวยสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย เบลเยี่ยม แคนาดา โคลัมเบีย เอธิโอเปีย ฝรั่งเศส กรีก ลักเซมเบิร์ก เนอเทอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ ฟิลิปินิส์ แอฟริใต้ ตุรกี และไทย อีก 41 ชาติร่วมส่งเพียงยุทธปัจจัยอาหารและของใช้ การรบช่วงกลางปี 1950 กองกำลังสหประชาชิติเป็นฝ่ายรุกเริ่มด้วยในวันที 8 กันยายน โดยชนะการรบในพื้นที่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเกาหลีใต้ 15 กันยายน ยกพลขึ้นบกบริเวณชายฝั่งทะเลตะวันตกของกรุงโซล ยึดกรุงเปียยางเมืองหลวงเกาหลีเหนือได้ รุกขึ้นเหนือเรื่อยไปถึงลุ่มแม่น้ำยาลูเป็นเส้นทางน้ำกั้นระหว่างกาหลีหนือกัยสาธารณรัฐประชาชนจีน จีนมองว่ากองกำลังสหประชาชาตที่บลุ่มน้ำยาลูเป็นการท้าทายจีนคอมมิวนิสต์และต้องการช่วยเกาหลีเหนือซึ่งเป็นประเทศร่วมอุดมการณ์การเมืองเดียวกันกับจีนคอมมิวนิสต์ ทั้งต้องการรับกษาพันธมิตรเกาหลีหนือในเอเชียตะวันออกให้คงอยู่ต่อไป ในทางปฏิบัติจีนเคลื่อนกองกำลังทหารเข้าช่วยเกาหลีเนหือ รุสเซียหนุนดานอาวุธยุทธปัจจัย เป็นผลให้กองกำลังสหประชาชาติถูกโจมตีต้องถอยร่นลงใต้ การรบช่วงเดือนพฤศจิกายน กองกำลังจันเป็นฝ่ายรุก นับจากช่วงปลายปี 1950 กองกำบังสหประชาชิถอยกลับสู่เกาหลีใต้ กองกำลังสหประชาชาติพยายามตรึงอยู่ที่เส้นที่ 38 เหนือ และในเดืนอมกราปี 1951 กองกำลังสหประชาชาติยึดกรุงโซลกลับคืนมาได้ ช่วงกลางปี 1951 พักรบชั่วคราวครั้งแรกเพื่อการเจรจา การเจรจาไมเป็นผลการรบจึงดำเนินต่อไป มีการเจรจากันอีกในเวลาต่อมาและยุติสงครามในวันที่ 27 กรกฎาคม 1953 ในสมัยประธานาธิบดี ไอเซนฮาวร์
จีนแดง
มีความหวังเปี่ยมล้นที่จะรวมประเทศทางทหารที่มุ่งหมายคือ ธิเบต และไต้หวัน แต่การอุบัติขึ้นของสงครามเกาหลีทำให้แผนการรวมประเทศต้องดำเนินไปครึ่ง ๆ กลาง ๆ สงครามเกาหลีปิดโอกาสจีนมิให้รวมไต้หวัน สหรัฐอเมริกาประกาศพิทักษ์ไต้หวัน ดดยพฤตินัยด้วยการส่งกองทัพเรือภาคที่ 7 เข้าประจำข่องแคบไต้หวัน เพื่อป้องกันจีนฉวยโอกาส
ภาวะตึงเครียดทางการเมืองระหว่างประเทศด้วยการสงครามเกาหลี บทบาทของจนในสงครามเกาหลี การรวมไต้หวันไม่สำเร็จ ปฏิกิริยาของอเมริกาที่แสดงออกถึงความเป็นปฏิปักษ์และการที่กองทัพสหประชาชาติ การปกิวัติแต่ะละครั้ง หรือการัฐประหารก็ดี เปลี่ยนผู้นำการปกครองในรูปแบบวิธีการใดก้ดีย่อมจะทำให้ผู้ปกคอรงหรือผู้มีอำนาจกลุ่มใหญ่ตระหนักถึงความจำเป็นในการรักษาอำนาจที่ได้มาการปกครองในขั้นต้นจึงมกจะเป็นแบบรวมอำนาจ ดดยเฉพาะสำหรับพวกคอมมิวนิสต์ได้มีการเร่งรีบเผยแพร่ปลูกฝังลัทะดอุดมการณ์และสร้างองค์กรต่าง ๆ ขึ้นทั่วรับ จีนแดงได้นำรูปแบบองค์กรมาใช้แทนที่การสร้างระบบและนำอุดมการ์มาปลูกฝังใจประชาชนแทนธรรมเนียมทัศนคติ
ในระยะนั้น ฝ่ายปฏิปักษ์หรือผุ้ใดเพิกเฉยต่อระบบการปกครองมักะถูกขจัดกวาล้างดดยวิธีรุนแรง ประชาชนได้เริ่มตระหนักถึงคำพูดขงเมาเซตุง ซึ่งได้เตื่อนไว้ตั้งแต่ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ใคประกาศ “แนวประชาธิปไตย” เมือเป็นปฏิปักษ์เช่นนั้น เมาได้ย้ำว่า “ใครก็ตามที่เป็ฯปฏิปักษ์ต่อลัทธิคอมมิวนิสต์ จงเตรียมตัวรอคอยการถูกทำลายล้างอยางสิ้นเชิง” ภัยสงครามเกาหลีปรากฎใกช้พรมแดนจีน เหล่านี้ล้วนเป็นภัยคุกคามเสถียรภาพความมั่นคงของจีนสั่นสะเทือนอำนาจของรัฐบาลจีนแดงเป็อย่างยิ่ง ภายในประเทศเอง จีนแดงก็มีความวิกตมิใช่น้อยในพลังอำนาจของ่ายปฏิปักษ์ซึ่งยังปรากฎทั่วไป ถัยทั้งภายในและภายนอกประเทศทำให้จีนแอดงต้องการขวัญกำลังใจอันเด็ดเดียวจากประชาชนในการสนัสนนุนอำนจของพรรคจีนคอมมิวนิสต์ให้สามารถปกครองจีนได้โดยตลอดรอดฝั่งจีนแดงจึงดำเนินการรณรงค์ ด้วยมาตรการต่างๆ อาทิ
- การกวาดล้าบรรดาผุ้เป็นปฏิปักษ์ต่อการปฏิวัติของตน โดยยืมมือประชาชนให้ประหัตประหารกันเอง..
- การต่อต้านลัทธิจักรวรรดินิยมของสหรัฐอเมริกาโจมตีสหรัฐอเมริกาว่าเป็นจ้าวจักรวรรดินิยมนายทุน แทรกแซงในกิจการเมืองภายในของชาติอื่น
- การรณรงค์ ต่อต้านสิ่งชั่วร้าย สามประการ,การรณรงค์ต่อต้านสิ่งชั่วร้ายห้าประการโดยมีเป้าหมายเพื่อปรับปรุงการบริหารใมความตื่นตัวและเร่งรัดพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาภ
- ปัญญาชนเป็นกลุ่มคนที่นับหน้าถือตาในสังคมจีนมานานแล้วในฐานะที่เคเป็นผู้นำสังคมและเช่อมรัฐกับสังคมเข้าด้วยกัน ซคงเมาเซตุงเห็นความสำคัญข้อนี้จึงย้ำเรื่องนี้ต่อคณะกรรมการกลางว่า “ถ้าปราศจากความร่วมมือจาปัญญาชน การปฏิวัติจะไม่สามารถบรรลุชัยนะได้”ถ้าปัญญาชนเป็นคอมมิวนิสต์ประชาชนส่วนใหญ่ย่อมถือเป็นแบบอย่างปฏิบัติตาม การกล่มเกลาบรรดาปัญญาชนให้เป็นคอมมิวนิสต์จึงเป็นหน้าที่ความจำเป็นของพรรคคอมมิวนิสต์จีน
สงครามที่พยายามจะเปลี่ยนสถานะเดิมแห่งการแบ่งแยกเกาหลีนั้นได้ยุติลงโดยเกาหลียังคงแบ่งแยกต่อไปเมือนเดิม ปัญหาภายในของสองเกาหลีหนักหน่วงยิ่งขึ้นด้วยเหตุสงครามที่ได้มีการสับประยุทธ์กันบนผืนแผ่นดินเกาหลี ระบอบคอมมิวนิสต์ตึ้งมั่นในเกาหลีเหนือ ระบอบประธิปไตยแต่เพียงผิวเปลือกนอกตั้งมั่นในเกาหลีใร้ ชาวเกาหลีจึงมีการปกครองแบบเผด็จการฝ่ายขวาและเผด็จการฝ่ายซ้ายให้เลือก การพัฒนาประเทศของเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ถือเป็นกรณีตัวอย่างทดลองประสิทธิภาภาพของลัทธิอุดมการณ์ขันแข่งกันอยู่ในเวลทีการเมืองโลก
รุสเซีย
ในช่วงสงครามเกาหลี รุสเซียได้ให้ความช่วยเหลือทางการทหารแก่ จีนและเกาหลีในสมัยที่สตาลินยังคงมีชีวิตอยู่สหภาพโซเวียตไม่มีข้องตกลงให้ความช่วยเหลือกับประเทศที่อยู่นอกเขตอิทธิพลของตน แตหลังการตายของสตาลินสภาพการณ์ก็เปลี่ยนแปลงไป
5 มีนาคม 1953 สตาลินได้ถึงแก่อนิจกรรมโดยมิได้มีทยาทสืบต่ออำนาจทางการเมืองอย่างเป็ฯทากงการ กลไกและองค์ประกอบลแห่งการปกครองรวนเร คณะผู้นำใหม่เต็มไปด้วความไม่มั่นใจและหวาระแวงในอำนาจการปกครอง ผุ้นำใหม่ที่สำคัญมีสามคนคือ นายจอร์จิ เอ็ม มาเลนคอฟ นายลาเวรนตี บีเรีย นายวยาเชสลาฟ โมโตลอฟ และผุ้ที่มีอำนาจอิทธิพลอยูเบื่องหลังคือ นาย นิกิตา เอส ครุสเชฟ การปกครองโดยบุคคลทั้งสามข้าต้นแสดงว่าไม่มีผู้ใดมีอำนาจเด็ดขาดแต่ผู้เดียว รุสเซ๊ยตกอยู่ภายใต้การปกครองโดยหมู่คณะ
แม้คณะผู้นำจะแย่งกันเป็นใหญ่แต่ผู้เดียวแต่ก็เห็นพ้องต้องกันที่จะสลายลักษณะเผด็จการแบบสตาลินและต้องพยายามธำรงไว้ซึ่งเอกภาพและพลกำลังให้เป้ฯที่ประจักษ์แก่สายตาโลก อสัญกรรมของสตาลินมีผลกระทบต่อนโยบายต่างประเทศของรุสเซยมาก นโยบายต่างประเทศเป็นปัจจัยสำคัญชี้ขาดอำนาจของผุ้นำรุสเซียได้ดีเท่าๆดับชี้ขาดสงครามหรือสันติภาพสำหรับประชาคมโลกด้วย กลุ่มผู้นำใหม่ยังไม่มีอำนาจสิทธิขาดในชั้นต้น ระยะเวลาดังกล่าว คือ 1953-1955 รุสเซียไม่มีนโยบายอันแน่วแน่ ความตึงเครียดภายในประเทศและการเมืองที่ไม่แน่นอนเป็นเครื่องกำหนดให้รุสซียต้องดำเนินนโยบายต่างประเทศในลักษณะที่อำพรางจุดอ่อนดังกล่วมิหใปนที่ปรากฎ และการดำเนินนโยบายต้องมีความระมัดระวังพอควรเพื่อมิให้พลังพลาดได้ในสามวิถีทางแห่งการมืองสัมพันธภาพกับสามฝ่าย คือ ในฐานะอภิมหาอำนาจ,ในฐานะผู้นำโลกคอมมิวนิสต์,และในฐานะที่เป็นผู้นำโลกคอมมิวนิสต์
การเมืองโลกได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวง โดยเฉพาะการชะงักงันของสงครามเย็น และพุลยภาพแห่งอำนาจชัวขณะในเอเชียและยุโรป สถานการณ์เช่นนั้นเป็นปัจจัยเสริมให้รุสเซียต้องตระหนักถึงความจริงที่ว่า สตาลินได้สร้างความตึงเครียดขึ้นดดยไม่จำเป็นหลายครั้ง อันเป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อรุสเซีย
การดำเนินนโยบาบเสียงปฏิวัติยุโรปตะวันออกให้เป็นคอมมิวนิสต์ และสนับสนุนเกาหลีเหนือให้รวมประเทศ การสร้างวิกฤติการณ์ปิดล้อมเบอร์ลิน และการสร้างศัตรูต่อตุรกี โดยเหตุแห่งปรารถนาดินแดนบางส่วนจนตุรกีตั้งตนเป็นปฏิปักษ์ต่อรุสเซีย เหล่านี้ล้วนเป็ฯการดำเนินนโยบายเสี่ยงทำสงครามที่นับว่าเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของรุสเซีย โดยไม่จำเป็น รุสเซยมีความมั่นคงในพรมแดนของตนทั้งในยุโรปและเอเซียอยู่แล้ว รุสเซียมีอาวุธนิวเคลียร์ คณะผู้นำรุสเซียจึงรู้สักว่า รุสเซียมีความมั่นคงในอำนาจแม้จะต้องถลำลงไปในภาวะความสับสนอันใดที่จะเดิกขึ้น อีกประการ การกำหนดนโยบายผ่อนคลายความตึงเครียดนั้นมีเหตุผลเพียงพอตามที่สตาลนได้วเคราะห์ไว้ว่า “ความขัดแย้งเข้มข้นจะรุนแรงยิ่งขึ้นในโลกเสรี เป็นโอกาสเหมาะที่รุสเซียจะสามารถรอคอยความพินาสซ่งจะบังเกิดขึ้น โดยรุศียมิต้องเผชิญหน้ากับโลกเสรีโดยตรงนโยบายผ่อนคลายความตึงเครียดจนถึงระดับที่สามารถจะทำให้โลกคอมมิวนิสต์และโลกเสรีอยู่ร่วมกันได้โดยสันติ
สงครามเกาหลีได้พิสูจน์ให้รุสเซียเห็นว่า การปฏิวัติโลกให้เป็นคอมมิวนิสต์โดยวิธีการต่อสู้ดวยการใชกำลังอาวุธนั้นเป็นไปมิได้ เพราะโลกเสรีกำลังอำนาจทางทหารและความเป็นปึกแผ่นมั่นคงในการต่อต้าน ตลอดจนมีการแสดงนโยบายปิดล้อมรุสเซียอยางเปิดเผย อันเป็นผลมาจากสงครามเกาหลีนั้นด้วย
ความก้าวร้าวรุกรานของฝ่ายโลกคอมมิวนิสต์ผลักดันให้โลกเสรีภายใต้การนำของสหรัฐอเมริกาตัดสินจเสริมสร้างกำลังรบให้แก่ญี่ปุ่น เกาหลีใต้และไต้หวัน ในเดือนพฤษภาคม 1951 สหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำในการลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพกับญี่ปุ่น แม้จะเป็นการการละเมิดข้อตกลง ของที่ประชมมหาพันธมิตรทีกรุงมอสโก ข้อตกลงแห่งยังตาและพอตสดัมก็ตาม เพราะรุสเซียและจีนซึ่งเป็นคู่ศึกกับญี่ปุ่นได้ร่วมลงนามด้วย การลงนามในสันธิสัญาสันติภาพนั้นเป็นการสิ้นสุดการยึดครองญี่ปุ่น และเริ่มต้นการสร้างญี่ปุ่นให้เป็นมหาอำนาจใหม่อีกครั้ง..
วันพุธที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
Enland After WW2
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 อังกฤษได้กลายเป็นมหางเช่นอำนาจลำดับรองลงมาจาก สหรัฐฯและรุสเซีย อังกฤษสูยเสียชีวิตผู้คนและกำลงเงิน ตลอดจนทรัพย์สินไปมาก เพราะต้องทำการรบโดดเดี่ยวเป็นเวลานาน เศรษฐกิจของอังกฤษตกต่ำเนื่องจากการใช้จ่ายจำนวนมากในการทำสงคราม ส่งผลให้นโยบายต่างประเทศของอังกฤษจึงไม่เข็มแข็งเด็ดเดี่ยวนักส่วนใหญ่จะคล้อยตามสหรัฐอเมริกา
การประชุมที่ยาลต้า ได้พิจารณาเกี่ยวปัญหาต่าง ๆ และตกลงให้รุสเซียมีอิทธิพลในรูเมเนีย บุลการเรีย และอังการี กรีกอยู่ภายใต้อิทธิพลยุโรปตะวันตก ในข้อตกลงต่าง ๆ รุสเซียเข้าไปมีอิทธิพลเหนือประทเศต่างๆ ในยุโรปตะวันออก ซึ่งไม่ตรงกับความประสงค์ของอังกฤาและอเมริกา เพราะไมต้องการให้ประเทศเหล่านั้นปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์
หลังจากการแบ่งเยอรมันแล้วย อังกฤษก็ยอมให้เอกราชแก่อาณานิคมของตน เนื่องจากการเรียกร้องเอกราชดังเช่นในอินเดีย อังกฤษจัดการแบ่งอินเดียออกเป็น 2 ส่วน คือพวกที่นับถือศาสนาอิสลามปกครองปากีสภาน และพวกฮินดูปกครองอินเดีย อาณานิคมอื่น ๆก็เรียกร้องเอกราชเช่นกันในขณะที่เศรษฐกิจของออังกฤษตกต่ำ อังกฤษจึงยอมปล่อยประเทศเหล่านั้น
อังกฤษได้ส่งกองทหารเข้าร่วมรบในสงครามเกาหลี โดยช่วยเกาหลีได้ทำสงครามกับเกาหลีตามคำเรียกร้องของสหประชาชาติ
บทบาทของอังกฤษในตะวันออกกลาง คือการเข้ามามีบทบาทในการสงครามระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับกับอิสราเอล เนื่องจากชาวยิวต้องการกลับไปอยู่ในปากเลสไตน์โดยได้รบการสนับสนุนจากอังกฤษซึ่งมีอิทธิพลมากในตะวันออกกลาง มีอิทธิพลเหนืออียิปต์และคลองสุเอซอังกฤษให้การสนบสนุนทั้งอาหรับและยิวเพื่อเหตุผลทางการเมืองและเศรษฐกิจ อังกฤาสนับสนุนเตอรกีให้ทำการต่อต้านซึงการปกครองอาหรับในเวลานั้น
ในปี 1922 สันนิบาติโลกตกลงให้อังกฤษอารกขาปาเลสไตน์ กระทั่งปี 1947 สหประชาชาติได้ตัดสินปัญหากรณีพิพาทระหว่างอาหรับและยิว โดยการแบ่งปาเลสไตน์เป็น 2 ส่วน คือส่วนที่เป็นของชาวอาหรับและส่วนที่เป็นของชาวยิวได้แก่ประเทศอิสราเอลซึ่งอาหรับไม่พอใจจึงเกิดเป็นสงครามระหว่างยิวและอาหรับ ในปาเลสไตน์เมื่อปี1947-1949 ซึ่งอังกฤษถอนกองทัพออกจากเขตนั้น ผลคืออาหรับแพ้และสูญเสียดินแดนให้แอสราเอล
อิสราเอลเข้าโจมตีอียิปต์ อังกฤษและฝรั่งเศส ยื่อนคำขาดให้อียิปต์และอิสราเอลถอนทหารออกจากคลองสุเอวเป็นระยะทาง 10 ไมล์ ภายใน 12 ชั่วโมง แต่อียอปต์ไม่ยอมปฏิบัติตาม อังกฤษ และฝรั่งเศสจึงทำลายกองทัพอากาศของอียิปต์ผลของสงครามอียิปต์เป็นฝ่ายปราชัยแต่อังกฤษและฝรั่งเศสถูกประณาม โดยเฉพาะภายในประเทศ ประชาชนบางพวกไม่เห็นด้วยกับการกระทำดังกล่าว ในที่สุด เซอร์ แอนโทนี่ อีเดน ก็ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
ตั้งแต่ปี 1956 เป็นต้นมา อังกฤษหมดความเป็นมหาอำนาจในตะวันออกกลางอย่างไรก็ดีสหรีฐอเมริกาเป้นผู้ที่คอยส่งกำลังอาวุธให้แก่อิสราเอลและสหภาพโซเวียตก็คอยให้วามสนับสนุนอีผิปตือยู่ตลอดเวลา ทังอาหรับและอิสราเอล ก็พยายามเจรจาสันติภาพกันอยู่และคาดว่าคงประสบความสำเร็จ
การประชุมที่ยาลต้า ได้พิจารณาเกี่ยวปัญหาต่าง ๆ และตกลงให้รุสเซียมีอิทธิพลในรูเมเนีย บุลการเรีย และอังการี กรีกอยู่ภายใต้อิทธิพลยุโรปตะวันตก ในข้อตกลงต่าง ๆ รุสเซียเข้าไปมีอิทธิพลเหนือประทเศต่างๆ ในยุโรปตะวันออก ซึ่งไม่ตรงกับความประสงค์ของอังกฤาและอเมริกา เพราะไมต้องการให้ประเทศเหล่านั้นปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์
หลังจากการแบ่งเยอรมันแล้วย อังกฤษก็ยอมให้เอกราชแก่อาณานิคมของตน เนื่องจากการเรียกร้องเอกราชดังเช่นในอินเดีย อังกฤษจัดการแบ่งอินเดียออกเป็น 2 ส่วน คือพวกที่นับถือศาสนาอิสลามปกครองปากีสภาน และพวกฮินดูปกครองอินเดีย อาณานิคมอื่น ๆก็เรียกร้องเอกราชเช่นกันในขณะที่เศรษฐกิจของออังกฤษตกต่ำ อังกฤษจึงยอมปล่อยประเทศเหล่านั้น
อังกฤษได้ส่งกองทหารเข้าร่วมรบในสงครามเกาหลี โดยช่วยเกาหลีได้ทำสงครามกับเกาหลีตามคำเรียกร้องของสหประชาชาติ
บทบาทของอังกฤษในตะวันออกกลาง คือการเข้ามามีบทบาทในการสงครามระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับกับอิสราเอล เนื่องจากชาวยิวต้องการกลับไปอยู่ในปากเลสไตน์โดยได้รบการสนับสนุนจากอังกฤษซึ่งมีอิทธิพลมากในตะวันออกกลาง มีอิทธิพลเหนืออียิปต์และคลองสุเอซอังกฤษให้การสนบสนุนทั้งอาหรับและยิวเพื่อเหตุผลทางการเมืองและเศรษฐกิจ อังกฤาสนับสนุนเตอรกีให้ทำการต่อต้านซึงการปกครองอาหรับในเวลานั้น
ในปี 1922 สันนิบาติโลกตกลงให้อังกฤษอารกขาปาเลสไตน์ กระทั่งปี 1947 สหประชาชาติได้ตัดสินปัญหากรณีพิพาทระหว่างอาหรับและยิว โดยการแบ่งปาเลสไตน์เป็น 2 ส่วน คือส่วนที่เป็นของชาวอาหรับและส่วนที่เป็นของชาวยิวได้แก่ประเทศอิสราเอลซึ่งอาหรับไม่พอใจจึงเกิดเป็นสงครามระหว่างยิวและอาหรับ ในปาเลสไตน์เมื่อปี1947-1949 ซึ่งอังกฤษถอนกองทัพออกจากเขตนั้น ผลคืออาหรับแพ้และสูญเสียดินแดนให้แอสราเอล
อิสราเอลเข้าโจมตีอียิปต์ อังกฤษและฝรั่งเศส ยื่อนคำขาดให้อียิปต์และอิสราเอลถอนทหารออกจากคลองสุเอวเป็นระยะทาง 10 ไมล์ ภายใน 12 ชั่วโมง แต่อียอปต์ไม่ยอมปฏิบัติตาม อังกฤษ และฝรั่งเศสจึงทำลายกองทัพอากาศของอียิปต์ผลของสงครามอียิปต์เป็นฝ่ายปราชัยแต่อังกฤษและฝรั่งเศสถูกประณาม โดยเฉพาะภายในประเทศ ประชาชนบางพวกไม่เห็นด้วยกับการกระทำดังกล่าว ในที่สุด เซอร์ แอนโทนี่ อีเดน ก็ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
ตั้งแต่ปี 1956 เป็นต้นมา อังกฤษหมดความเป็นมหาอำนาจในตะวันออกกลางอย่างไรก็ดีสหรีฐอเมริกาเป้นผู้ที่คอยส่งกำลังอาวุธให้แก่อิสราเอลและสหภาพโซเวียตก็คอยให้วามสนับสนุนอีผิปตือยู่ตลอดเวลา ทังอาหรับและอิสราเอล ก็พยายามเจรจาสันติภาพกันอยู่และคาดว่าคงประสบความสำเร็จ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...