วันเสาร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Revolution Cuba

     การปฏิวัติคิวบา เป็นหารปฏิวัติด้วยอาวุธโดยขบวนการ 26 กรกฎาคมของฟิเดลกัสโตรต่อรัฐบาลผู้เผด็จการคิวบา  ฟุลเคนเซียว บาติสตา ระหว่าง ปี 1953-1959 ท้ายที่สุดบาติสตาถูกขับจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 มกราคม 1959 และแทนที่ด้วยรัฐบาลปฏิวัตินำโดยกัสโตร รัฐบาลนี้ภายหลังปฏิรูปตามแนวทางคอมมิวนิสต์และได้กลายเป็นพรรคคอมมิวนิสต์คิวบาในปี 1965
     การปฏิวัติคิวบาในระยะเริ่มต้นเร่มขึ้นเมื่อกฐฎติดอาวุธโจมตีค่ายทหารมองกาดาในซันเดียดกและค่ายหารในบายาโม  เมื่อเดอืนกรกฏาคม 1953 ตัวเลขผู้เสียชีวิตยังเป็นที่ถกเถียงฟิเดล กัสโตรและน้องชาย ราอุล กัสโตร รุส ผู้รอดชีวิตถูกจับกุมหลังจากนั้นไม่นาน ในการพิจารณา ฟิเดลกัสโตรแถลงแก้ต่างนานเกือบสี่ชั่วโมง และปิดท้ายด้วยประโยคที่ว่า “พิพากษาผมเลย มนไม่สำคัญหรอก ประวัติศาสตร์จะยกโทษให้ผม” ฟิเดลกัสโตรถูกตัวสินจำคุก 15 ปี ในเรือนจำเปรซีดีโอโมเดโล ตั้งอยู่บนเกาะสน ขณะที่ราอุลถูกตัดสินจำคุก 13 ปี Revolución-Cubana
     ในปี 1955 ภายใต้แรงกดดันทางการเมืองอย่างหนัก รัฐบาลบาติสตาปล่อยนักโทการเมืองบทั้งหมดในคิวบรวมทั้งมือก่อเหตุโจมตีมองกาดา บาติสตาถูกกล่อมให้ปล่อยพี่น้องกัสโตรด้วย ซึ่งบางส่วยโดยครูเยซูอิดสมัยเด็กของฟิเดล
     สองพี่น้องกัสโตรเข้าร่วมกับผู้ลี้ภัยอื่นในเม็กซิโกเพื่อเตรียมการปฏิวัติโค่นล้มบาติสตา โดยได้รับการผึกจากอัลเอบ์โต บาโย ผู้นำกำลังสาธารณรับนิยมในสงครามกลางเมืองสเปน ระหว่างช่วงนี้ ฟิเดลพบและเข้าร่วมกำลังกับนักปฏิวัติชาวอาร์เจนตินา เอร์เนสโต “เช” เกบารา
     1956-1958
เรือยอตกรันมา มาถึงคิวบาในเดือนธันวาคม 1956 พี่น้องกัสโตรและสมาชิกขบวนการ 26 กรกฏาคมอีก 80 คนมากับเรือด้วย เรือดังกล่าวมาถึงสองวันซึ่งช้ากว่ากำหนด ซึ่งความล่าช้านี้ดับความหวังการประสานโจมตีร่วมกับขบวนการฝ่ายฮาโน  หลังมาถึงกลุ่มกบฏเร่มตีฝ่าเข้าไปในทิวเขาเซียร์รามาเอสตรา ทางตะวันออกเฉียงใต้ของคิวบา ผู้ที่โดยสารมากับกับเรือกระจัดกระจายหลังจากการเผลิญหน้าครังแรกอันนองเลือดกับกองทัพคิวบา และต่อมาได้รับความช่วยเหลือจากชาวนาผู้ฝักใฝ่และจะก่อตั้งแกนนำของกองทัพกองโจร เซเลีย ซันเชสและไฮย์อีเอ ซันตามาเรีย รวมอยู่ในนักปฏิวัติหญิงผู้สนับสนุนฟิเดล กัสโตรในทิวเขาด้วย
     13 มีนาคม 1957 กลุ่มนักปฏิวัติอีกกลุ่ม เรียกวา หน่วยปฏิวัติ ซี่งมีอุดมกาณ์ต่อต้านคอมมิวนิสต์ซึ่งสวนใหญประกอลขึ้นจากนักศึกษา โจมตีทำเนียบประธานาธิบดีในกรุงฮาวานา พยายามลอบสังหารบาติสตาและรัฐประหาร ซึ่งเป็ป็นการฆ่าตั่วตาย ผู้นำของหนวย นักศึกษาโคเซ อันโตนีโอ เอเซเบร์เรีย เสียชีวิตในการยิงต่อสู้กับกำลังของบาติสตรา มีผุ้รอดชีวิตกล่มหนึ่งซึ่งมี ดร. อุมเบร์โต กัสเตโย และโรลันโด กูเบลาและเฟาเร โซมอน
images (1)     หลังจากนั้น สหรัฐอเมริกาได้ลงโทษทางเศรษฐกิจต่อรัฐบาลคิวบาและเรียกเอกอัครทูตกลับประเทศ ยิ่งบั่นทอนอาณัติของรัฐบาลไปอีกการสนับสนุนบาติสตาในหมู่ชาวคิวบาเรื่มจางเจือไป อดีตผุ้สนับสนุนไม่เข้าร่วมกับนักปฏิวัติก็วางตัวออกห่างจากบาติสตาแต่มาเซียและนักธุรกิจสหรัฐยังสนับสนุนบาติสตาต่อไป รัฐบาลหันไปพึงการใช้วิธีรุนแรงบ่อยครั้งเพื่อรักษานครต่าง ๆ ของคิวบาให้อยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาล อย่างไรก็ดี ในทิวเขาเชียร์รามาเอสตรา กัสโตร ซึ่งได้รับความช่วยเหลือจากฟรังก์ปาอิส, ราโมส ลาดูร์, อูเบร์ มาโตส และคนอื่นๆ จัดการโจมตีที่มั่นขนาดเล็กของกองกำลังบาติสตาอย่างเป็นผล เช เกบาราและราอุล กัสโตรช่วยฟิเดลรวมการควบคุมทางการเมืองของเขาในทิวเขานั้นโดยบ่อยครั้งฝ่านการประหารชีวิตพวกที่ต้องสงสัยว่าภักดีบาติสตาหรือเป็นคู่แข่งอื่นของกัสโตรเปเตรอสยังได้รสนับสนุนทางทหารโดยตรงต่อกำลังหลักของกัสโตรโดยคุ้มครองเส้นทางเสบียงและแบ่งปันข่าวกรองท้ายที่สุด ทิวเขาตกอยู่ในการควบคุมของกัสโตร
     นอกเหนือไปจากการต่อสู้ด้วยอาวุธแล้ว ฝ่ายกบฏยังใช้การโฆษณาชวยเชื่อเพื่อให้เกิดความได้เปรียบ มีการจัดตั้งสถานีวิทยุเถื่อน 1958 กัสโตรและกำลังของเขากระจายเสียงข้อความของเขาทั่วประเทศจากในเขตแดนของศัตรู การกระจายเสียงวิทธยุเป็นไปได้โดยการ์ลอสฟรัสกี อดีตคนรู้จักของกัสโตรผู้ซึ่งภายหลังเป็นชาวคิวบาลี้ภัยในเปอร์โตริโก
     ระหวางช่วงนี้ กำลังของกัสโตรยังมีจำนวนค่อนข้างน้อย ต่ำกว่า 200 คนเล็กน้อย ขณะที่กองทัพและกำลังตำรวจคิวบาอยู่ระหว่าง สามหมื่นถึง สีหมื่นนาย อย่างไรก็ดี เมือทหารคิวบาสู้กับฝ่ายปฏวิติก็ต้องถูกบีบให้ล่าถอยแทบทุกครั้งไป การห้ามสินค้าประเภทอาวุธซึ่งสหรัฐอเมริกากำหนดต่อรัฐบาลคิวบาเมื่อวันที่ 14 มีนา 1958 มีส่วนสำคัญต่อความอ่อนแอของกองทัพบาติสตากองทัพอากาศคิวบาเสือมลงอย่างรวดเร็ว เพราะไม่อาจซ่อมแซมอากาศยานโดยไม่นำเข้าช้นส่วนจากสหรัฐอเมริกา
images (3)     ท้ายที่สุด บาติสตาสนองต่อความพยายามของกัสโตรด้วยการโจมตีทิวเขาแห่งนั้นในปฏิบัติการเบราโน ซึ่งฝ่ายกบฏเรียกว่า ลาโอเฟนซีบากองทัพส่งทหารราว 12,000 นาย ซึง่ครึ่งหนึ่งเป็นทหารเกณฑ์ที่ไม่ได้รับการฝึก เข้าไปในทิวเขา ในการปะทะกันอย่างประปรายต่อเนื่องกองโจรที่เด็ดเดียวของกัสโตรชนะกองทัพคิวบา ในยุทธการที่หมู่บ้านลาปลาตา ซึ่งกินเวลาตั้งแต่วันที่ 11 ถึง 21 กรกฏาคม ค.ศ. 1958 กำลังของกัสโตรเอาชนะทั้งกองพันได้ โดยจับกุมทหารเป็นเชลยได้ 240 คน ขณะที่เสียฝ่ายตนไปเพียง 3 คน อย่างไรก็ดี กระแสสงครมเกือบพลิกกลับ เมื่อกองทัพของบาติสตาเกือบทำลายกองทัพขนาดเล็กประมาณสามร้อยคนของกัสโตรที่ยุทธการที่ลัสเมร์เซเตส ด้วยกำลังของเขาเสียเปรียด้านจำนวน กัสโตรจึงร้องขอและได้รับการหยุดยิงชั่วคราว ขณะที่การเจรจาอันไร้ผลดำเนินไป กำลังของกัสโตรค่อย  ๆ หลบหนีออกจากับดักหลบหนีกลับเข้าไปในทิวเขา และปฏิวัติการเวราโนสิ้นสุดลงเด็ดขาด้วยความล้มเหลวของวรัฐบาลบาติสตา
     1958-1959
หลังการโจมตีของบาติสต้าล้มเหลว กำลังของกัสโตรเริ่มเปิดฉากบุกบ้าง กรันมา กวันตานาโม และออลลกินปัจจุบัน ฟิเดล กัสโตร ราอุล กัสโตร และคาน อัลไมย์ดา โบสเก มุ่งการโจมตีเป็นสี่สายกำลังของกัสโตรลงจากเขาพร้อมอาวุธใหม่ที่ยึดได้แลและได้รับชัยชนะขั้นแรกหลายครั้ง ชัยชนะครั้งสำคัญของกัสโตรที่กีซาและการยึดเมืองหลายเมือได้สำเร็จ
     ขณะเดียวกัน กบฏอีกสามกอง ภายใต้บัญชาของเช กาบารา,กามีโล เซียนฟวยโกส และไคย์เม เบกา รุกคืบไปทางตะวันตกมุ่งสู่ซันตากลาราเมืองหลวงของจังหวัดบียากลารา กองทัพของบาติสตาซุ่มโจมตีและทำลายกองของไคย์เม เบกา แต่อีกสองกองที่เหลือไปถึงจังหวัดตอนกลางที่ซึ่งพวกเขาพยายามร่วมกับกลุ่มต่อต้านอีกฟลายกลุ่มที่มิได้อยู่ภายใต้บัญชาของกัสโตร ตามข้อมูลของฟาเรีย เมือกองของเช เกบาราฝ่านจังหวัดบียากลารา กองทัพของบาติสตาซุ่มโจมตีและทำลายกองของไคย์เม เบกา แต่อีกสองกองที่เลหือไปถึงจังหวัดตอนกลางที่ซึ่งพวกเขาพยายามร่วมกับกลุ่มต่อต้านอีกลายกลุ่มที่มิได้อยู่ภายใต้บัญชาของกัสโตร ตามข้อมูลของฟาเรีย เมือกองของเช เกบาราฝ่านจังหวัดลัสบีอัส และโดยเฉฑาะอย่างยิ่งผ่านทิวเขาเอสกัมไบรย์ ที่ซึ่งกำลังหน่วยปฏิวัติต่อต้ารนคอมมิวนิสต์ ได้สู้รบกับกองทัพของบาติสตานานหลายเดือน ความไม่ลงรอยกันค่อย ๆมีขึ้นระหว่างกบฎทั้งสองกลุ่ม อย่างไรก็ดี กองทัพกบฎผสมยังรุกคืบต่อไ ปละเซียฟวยโกสได้รับชัยชนะครั้งสำคัญในยุทธการที่เมืองฮากวาไคย์และเขาได้รับฉายาว่า “วีรบุรุษแห่งฮากวาไคย์”

ดู cuba
   
 ยุทธการซันตากลาราเกิดขึ้น นครซันตากลาราเสียแก่กำลังผสมขอ ง เช เกบารา,เชียนฟวยโกส และกบฏหน่วยปฏิวัตินำโดยผู้บัญชาการโรลันโด กูเบลา, ควน”เอลเมคีกาโน” อาบราอันเตส และวิลเลียม อเล็กซานเดอร์ มอร์แกน ข่าวความพ่ามยแพ้นี้ทำให้บาติสตาตื่นตระหนกเขาหลบหนีจากคิวบาไปยังสาธารณรัฐโดมินิกัน  มกราคม 1959 ผู้บัญชาการวิลเลียม อเล็กซานเดอร์ มอร์แกน ผู้นำกบฏหน่วยปฏิวัติ ยังสู้รบต่อไปเมื่อบาติสตาหลบหนีไปแล้วและยึดนครเซียฟวยโกสได้ กัสโตรทราบข่าวการหลบหนีของบาติสตาในช่วงเช้าและเริ่มเจรจาเพื่อยึดซันเดียโกเดกูบาทันที พันเอกรูบีโด ผู้บัญชาการทหารในเมือง สั่งมิให้ทหารของเขาสู้รบ กำลังกัสโตรจึงยึดเมืองได้ กำลังของเกบาราและเซียนฟวยโกสเข้ากรุงฮาวานาเกือบพร้อมกันนั้น ทั้งสองไม่พบการต่อต้านระหว่างการเดินทางจากซันตากลารามาฮังเมืองหลวงของคิวบา ตัวกัสโตรเองมาถึงฮาวานาเมืองันที่ 8 มกราคมหลังเดินขบวนฉลองชัยยชนะอันยาวนาน มานวยล์ อูร์รูเดีย เฮโอ ตัวเลือกของกัสโตรดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีวันที่ 3 มกราคม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...