สัมพันธ์ภาพสามเส้าระหว่างจีน รุสเซียและสหรัฐอเมริกาเป็นปัจจัยมที่สำคัญของการเมืองโลกาในช่วงสงครามเย็น ซึ่งเป็นช่วงเวลาหลังจาก สงครามเวียดนาม วิกฤติการณ์เชโกสโลวะเกีย และกรณีพิพาทระหว่างจีนและรัสเซียทวีความซับซ้อนมากขึ้นตามลำดับ
รุสเซียมีเหตุต้องกังวลสองประการ คือ สัมพันธภาพระหว่างตนกับยุโรป และระหว่างตนกับตะวันออกกลาง นับวันสัมพันธภาพกับสองภูมิภาคนั้นได้ทำให้รุสเซียบังเกิดความยากลำบากมากขึ้นในการดำเนินนธยบายที่จะแทรกแซงโดยไม่ต้องการเผชิญหน้ากับสหรัฐอเมริกา การรณรงค์พิทะษ์ลัทธิคอมมิวนิสต์และการแสวงหาอำนาจอิทธิพลในตะวันออกกลางสิ้นเปลืองมากสำหรับรุสเซีย และเสี่ยงต่อการก่อสงครามมากรุสเซียตั้งแต่ ค.ศ.1968 มีจุดประสงค์แน่วแน่ที่จะตึงพลังวกำลังของตนในโลกคอมมิวนิสต์มิให้แตกแยกมากขึ้นและแสวงหาอำนาจอิทธพลใรตะวันออกกลางและโลกที่สาม แต่ปัญหาดูจะมีอยู่ว่า รุสเซียจะดำเนินนโยบายอยู่ร่วมกับสหรัฐแมริกาและจีนโดยสันติด้วยมาตรการใดสัมพันธภาพระหว่างจีนกับรุสเซีย และระว่างรุสเซียกับสหรัฐอเมริกาจะแยกความสำคัญออกจากกันมิได้อย่งเด่นชัด รุสเซียเพร้อมที่จะเจรจากับทั้งสองประเทศ แต่จักยืนหยัดในควารมเป็นหนึ่งไม่อ่อนแดด้วยเหตุที่มีปัญหาเดือดร้อนนโลฃกคอมิวนิสต์
รุสเซียจำเป็นต้องผ่อนคลายความตรึงเครียดกับสหรัฐอเมริกาด้วยเหตุหลายประการโดยประวัติศาสตร์และว ต่างไม่เคยเป็นปฏิปักษ์กระทำศึกสงครามต่อกันโดยตรง ไม่มีพรมแดนประชิดกันอันจะก่อเกิดกรณีพิพาทชายแดน ต่างก็มี “หัวอกเดียวกัน” คือ ประสบปัญหาการปกครองค่ายของตนที่แตกแยกและมหามิตรของตน “แปรพักตร์” ต่างก็เผชิญกับความจริงที่ว่า อาวุธนิวเคลียร์มีประสทิธิภาพสูงสุดในการทำลายล้างมวลมนุษยชาติ ทั้งสองฝ่ายมีจุดประสงค์ป้องปรามสงครามนิวเคลียร์มิหใกดขึ้น ต่างก็มีเสถียรภาพความมั่นคงในด้านอาวุธยิทูศาสตร์ และต่างก็ตระหนักดีถึงคุณประโยชน์อันจำกัดของอาวุธนิวเคลียร์ ทั้งสองอภิมหาอำนาจจึงเป็นประโยชน์จากการที่จะร่วมมือกันมากกว่าเผชิญหน้ากันซึ่งจะไม่ก่อเกิดผลประโยชน์อันใดแก่ฝ่ายใด อีกประการหนึ่ง สถานการร์โลกโดยเฉพาะในโลกที่สามได้ก่อเกิดการเสี่ยงที่จะต้องเผชิญหน้ากันสามฝ่าย คือ จีน รุสเซีย
และสหรัฐอเมริกา กลุ่มประเทศที่เกิดใหม่ล้วนมุ่งพัฒนาประเทศในลักษณะหวังผลประโยชน์จากทั้งโลกคอมมิวนิสต์และโลกเสรี อภิมหาอำนาจต้องระมัดระวังมากในการปฏิบัติต่อโลกที่สามให้สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของแต่ละประเทศ แม้แต่ในโลกเสรีและโลกคอมมิวนิสต์เองก็มิได้มีนโยบายเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เพราะแต่ละฝ่ายมีความแตกแยกภายในและแข่งขันกันสร้างอิทธพลภายในโลกที่สามด้วย ยิ่งกว่านั้นฐานะอำนาจของรุสเซยในการเผชิญหน้าจีนไม่เข้มแข็งมั่นคงเท่าที่ควร เพราะต้องระมัดระวังสัมพันธภาพกับสหรัฐอเมริกาและยุโรปตะวันตกด้วย ภัยจีนเร่มคุกคามรุสเซียมาก จนรุสเซียจำเป็นต้องดำเนินนโยบายสมานฉันท์กับสหรัฐอเมริกาและยุโรปตะวันตกเพื่อจะใช้มาตรการเด็ดขาดกับจีนได้สะดวกขึ้น
วันพุธที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันอังคารที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
Leonid Brezhnev
รุสเซียภายใต้คณะผู้นำใหม่ประกอบอ้วยบุคคลสำคัญคือ เลโอนิค เบรสเนฟ เลขาธิการพรรค,อเล็กซีโคลซีกิน นายกรัฐมนตรี, นิโคลัย พอดโกนี ประมุขแห่งรัฐ และมิคาอิล ซุสลอฟ ผู้ประสานงานสัมพันธภาพระหว่างรุสเซียกับพรรคคอมมิวนิสต์ทั่วโลก
รุสเซียภายใต้การนำโดยหมู่คณะต่างเห็นพ้องต้องกันว่า ครุสเชฟได้ใช้วิธีค่อนข้างเสียงท้าทายโลกเสรีเกิดความจำเป็น เช่นในกรณีอเบอร์ลินและวิกฤติการณ์คิวบา คณะผู้นใหม่ตระหนักว่า การข่มขู่ใช้กำลังอาวุธก็ดี แสดงตนเผชิญหน้าก็ดี หรือการแสดงทีทาเสี่ยงก้าวร้าวรุกรานก็ดี ล้วนเป็นวิธีการที่ไม่ความเสียงในภาวะที่รุเซียเองไม่อยู่ในฐานะพร้อมที่จะรบหรือเผชิญหน้าอี เพราะสถานกาณ์โลกเปลี่ยนแปลงไปมากแล้ว และสำคัญที่สุดคือ ดุลยภาพแห่งอำนาจโลกได้เปลี่ยนแปลง โดยเหตุที่จีนและฝรั่งเศสกลายเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์แล้ว โลกที่สามกำลังเพิ่มจำนวนสมาชิกมากขึ้น เป็นพลังที่รุสเซียควรสนใจหาเสียทาบทามเป็นมิตรมากกว่าก่อศัตรู โลกก้าวสู่วันเวลาที่รุสเซียและสหรัฐสิ้นสุดอำนาจเผด็จการบงการโลกดังที่เคยกระทำ และ อาวุธนิวเคลียร์สร้างอันดับฐานะทางการเมืองได้ผล แต่ไม่อาจจะทำให้รุสเซียแผ่ขยายอำนาจอิทธิพลไปทั่วโลก เพราะอีกฝ่ายก็มีอาวุธเช่นกัน ประการสุดท้าย ปัญหาในโลกคอมมิวนิสต์เอง ความซับซ้อนที่ทวีขึ้นในวิกฤติการณ์อินโดจีน ความสัมพันธ์ระหว่างรุสเซียและจีนที่มีลักษณะซับซ้อน สิ่งเหล่านี้เป็นเหตุรุสเซยต้องปรับเปลี่ยนวิธีการเจริญสัมพันธไมตรีกับโลกเสรี โลกคอมมิวนิสต์และโลกที่สาม
คณะผู้นำใหม่แสดงเจตจำนงที่จะดำเนินนโยบายอยู่ร่วมกันโดยสันติดังเดิม เพียงแต่จำเป็นจ้องเปลี่ยนวิธีที่จะดำเนินนโยบายเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงไป ผุ้นำคณะใหม่ปรับปรุงวิธีการโดยลดระดับการเสี่ยงท้าทายฝ่ายตรงข้าม แสดงพร้อมที่จะอยู่ร่วมกันโดยสันติ อำพรางเจตนารมณ์ที่แท้จริง และแสวงหาโอกาสจังหวะเหมาะที่จะขยายอำนาจอิทธิพล ระเซียเลิกใช้วิธีการข่มขู่โดยอาวุธนิวเครียทางการทูต
นโยบายต่อโลกคอมมิวนิสต์เปลี่ยแปลงไปภายใต้คณะผุ้นำใหม่ นโยบายต่อโลกคอมมิวนิสต์มิได้เปลี่ยนแปลงเท่าใดดังที่คาดหวัง ความสัมพันธ์กับรฐคอมมิวนิสต์ยังคงเหมือนเดิม โดยเฉพาะความสัมพันธ์กับจีน
ทันที่ฝ่ายนรุสเซียมีการเปลี่ยนผู้นำ พรรคจีนคอมมิวนิสต์ได้จับตามองอย่างใกล้ชิดเป็นที่รู้กันอยู่ว่า กาเปลี่ยนผู้นำในรุสเซียอาจจมีผลทำให้ทั้งสองฝ่ายหันหน้ามาคืนดีกันได้อีก รุสเซียแสดงทีท่าเป็ฯมิตรต่อจีนอย่างออนนอกหน้า อนาคตของจีนจึงควรจะสดในเป็นอย่างยิ่งเพราะคู่ปฏิปักษ์คือครุสเชฟก็หมดอำนาจไปแล้ว จีนแสดงคามกระตือรือร้นที่จะฟื้นผู่สัมพันธภาพอันดีงานกับรุสเซีย จู เอนไล ได้นำคณะผุ้แทนจีนเข้าร่วมฉลองวันครบรอบปีแป่งการปฏิวัติ ณ มอสโก เป็นการเชื่อมสัมพันธไมตรี แสดงท่าที่ว่าจีนมีความเป็นมิตรต่อผุ้นำใหม่รุสเซีย ในขณะเดียวกัน ย่อมเป็นที่แน่นอนใจได้ว่า จีนต้องการจะหยั่งท่าทีของรุสเซียจากสุนทรพจน์ของนายเบรสเนฟเองด้วย จีนคาดว่าคงมีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงนโยบายต่างประเทศไปในแนวที่จีน้องประสงค์บ้าง
จีนรู้สึกผิดหวังกัยถ้อยแถลงการณ์ของ เบรสเนฟ ซึ่งมิได้ให้ความหว้งมากมายแก่จีนเพีงแสดงทีท่าว่าต้องการเจรจาฟื้นฟูความสัมพันธ์อันดีกับจีน และยินดีให้ความช่วยเหลือทางด้านเศรษฐกิจและทหาร ที่สำคัญ รุสเซียเสนอให้จัดการประชุมพรรคคอมมิวนิสต์ทั่วโลก รุสเซียหวังอย่างเดียวที่จะให้จีนเป็นพ้องกับนโยบายทั่วไปของตน ต้องการให้จีนเป็ฯมิตรกับผู้นำใหม่บ้างและต้องการขอร้องจีนมิให้ยุแยงบรรดาพรรคคอมมิวนิสต์ให้แตกความสามัคคี
ข้อเสนอและท่าทีของรุสเซียก่อให้เกิดความขัดแย้งในชนชั้นผุ้นำของจีนมีบางคนเห็นควรรับไม่ตรีรุสเซียและรับข้องเสนอบางส่วน แต่ เมา เช ตุง ปฎิเสธข้อเสนอโดยถือว่าเป็นนโยบายของครุสเชฟ ซึ่งมีแนวโน้มไปสู่การปรองดองกับโลกเสรีและพัฒนาประเทศไปสู่หนทางลัทธิทุนนิยม เป็นการทรยศต่องอุดมการ์และเป็นการพยายามแก้ไขปรับปรุงลัทธิ ปรากฎว่า ผู้นำใหม่ยังยึดปฏิบัติตามเป็ฯส่วนใหญ่ เป็นเพียงวิธีการเท่านั้นที่เปลี่ยนแปลงในทรรศนะของ เมา เช ตุง ผู้นำใหม่ไม่แตกต่างจาครุสชอฟ แสดงว่า รุสเซียมีแนวโน้เอียงไปในการแก้ไขปรับปรุงลัทธิ ทั้นี้มิได้เป็นการเปลี่ยนแปลงนโยบายโดยเอกเทศส่วนบุคคลว่าครุสเชฟคิดเอง เปลี่ยนแปลงเอง หากแต่กลายเป็นว่าบุคคลชั้นนำของรุสเซียคิดเปลี่ยนแปลงเองในวิถีทางเช่นนั้น การเปลี่ยนผู้นำมิได้หมายถึงการเปลี่ยนแปลงนโยบาย เพียงแต่เปลี่ยนผู้นำใหม่ที่มีวิธีการใหม่ในการดำเนินนโยบายเดิมหลักาการเดิมเท่านั้นเอง ซึงเมา เช ตุง ถือว่าเป็นนโยบายเดิมของครุเชฟ ผู้นำใหม่ล้วนปฏิบัติตามนโยบายเดิมของครุสซอฟ ผู้นำใหม่เป็นพวกนิยมหรือเจริญรอยตามครุซอฟ เป็นความนิยมแก้ไขปรับปรุงลัทธิที่ปรากฎเด่นชัดแม้ปราศจากครุสซอฟแล้วก็ตา ในที่สุด จีนได้ตอบ
โต้ของเสนอของรุสเซยโดยพิมพ์บทความของเมา เช ตุง ชือ “เหตุใดครุซอฟหมอำนาจ” ลงในหนังสือพิมพ์ “ธงแดง”บทความสาธยายความผิดพลาดต่าง ๆ ของครุซอฟตั้งแต่การภายในถึงการภายนอกประเทศ เตือนผู้นำรุสเซียใหม่ให้สังวรณ์ว่าไม่ควรดำเนินนโยบายในแนวนั้น และเป็นการยื่นเงื่อนไขโดยพฤตินัยว่า ถ้ารุสเซียไม่ปฏิบัติตาม โอกาสคืนดีกันก็คงเป็นไปมิได้ รุสเซียเร่มลังเลแต่ยังหวังฝ่ายที่เห็นชอบข้อเสนอของตนในจีนจะมีอิทธิพลอยู่บ้างในขณะเดียวกัน รุสเซยก็เร่มตระเตรียมระเบียบวาระสำหรับการประชุมพรรคคอมมิวนิสต์ทั่วโลก รุปการณ์ส่อให้เห็นว่าจำเป็นต้องพึ่งพรรคเหล่านั้นให้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย จีนแสดงท่าทีชาเย็นอย่างเต็มที่ ทำให้โอกาสคืนดียิ่งยากขึ้น
ลักษณะสัมพันธภาพของทังสองฝ่ายเต็มไปด้วยการชิงไหวชิงพริบกัน โดยเนื้อแท้รุสเซียไม่อาจหลักกนีพันธกรณีตามความผูกพันทางอุดมการณ์ต่อเวียดนามเหนือได้ในฐานะผู้นำโลกคอมมิวนิสต์ รุสเซียควรยื่นมือเข้าไปเกี่ยวข้องช่วยเหลือโดยตรง แต่วิกฤติกาณ์เวียดนามนั้นเป็นเรื่องอันตราย เพราะถ้าข้องเกี่ยโดยตรง รุสเซียได้ต้องเผชิญหน้าสหรัฐอมเมริกา เป็นการเสี่ยงอันตรายเกินไปและผิดจุประสงค์นโยบายหลักของรุสเซียแต่ถ้ารุสเซียวางเฉย โลกคอมมิวนิสต์โดยเฉพาะจีนคอมมิวนิสต์ก็อาจประณามรุสเซียไม่อาจผลักภาระหน้าที่ ตราบใดที่รุสเซียยังต้องการเป็นผุ้นำโลกคอมมิวนิสต์แต่ในขณะเดียวกัน รุสเซียก็ไม่ต้องการเผชิญหน้าสหรัฐอเมริกา รุสเซียจึงต้องแสวงหาทางออกที่ดีพอมี่จะรักษาฐานะอำนาจและศักดิ์ศรีของรุสเซียทั้งในโลกคอมมิวนิสต์และโลกเสรีวิกฤติการณ์เวียนามท้าทายรุสเซียยิ่งนัก
นโยบายของรุสเซยที่เรียกร้องพลังโลกคอมมิวนิสต์ให้ต่อต้านจักรวรรดินิยมอเมริกาในเวียดนามใต้นั้น ว่าไปแล้ว มีความมิวนิสต์จีนระดับผุ้นำหลายคนเห็นด้วยว่าควรช่วยเหลือเวียดนามเหนือ รุสเซียจึงหวังว่าคนกลุ่มนี้จะทวีพลังมากพอที่จะเป็นเสียงข้ามมากในการกำหนดวินิจฉัยนโยบายของจีน แต่แล้วบุคคลชั้นนำของกลุ่มนัน คือ โล ยุย ชิง ประธานคณะกรรมการกิจการทหารและเสนาธิการฝ่ายวางแผนได้ถูกคลื่นขบวนการปฏิวัติวัฒนธรรมถาโถมเข้าโจมตีอย่างรุนแรงจน โล ยุย ชิง ต้องจำนนต่อข้อกล่าวหาทุกประการและค่อย ๆ หายหน้าหายตาไปจากวงการเมืองและวงการทหาร ต่อมา เผงเจิน ซึ่งแอนตั้รุสเซียได้เป็นผู้นำในการปฏิวัติวัฒนธรรมในแวงวงวรรณกรรม ช่วงระยะที่จีนเริ่มเผชิญคลื่อนปฉวัตินี้ รุสเซียได้เผ้าสงเกตการณ์อย่างใกล้ชิด และมีทีท่าพร้อมที่จะแทรกแซง ถ้าฝ่ายปฏิปักษ์ของเมาจะแสดงพลังความสามาถรพโดยมีนโยบายนิยมรุสเซียให้เป็ฯที่ประจักษ์ ในขณะเดียวกันจีนกับรุสเซยก็เปิดฉากก่อกรณีพิพาทชายแดนและรุสเซียเองก็มีที่ท่าพร้อมที่จะลิดรอนเอกราชอำนาจอธิปไตยของมองโกเลียนอก โดยลังเลที่จะต่ออายุสนธิสัญญาพันธมิตร ในระยะนั้นรุสเซียมีความเคลื่อนไหวภายในมาก เกี่ยวด้วยเรื่องส่งทหารไปมองโกเลียนอกเพื่อข่มขวัญจีนโดยเฉพาะปักกิ่ง ซึ่งมีชัยภูมิที่ตั้งใกล้กับมองโกเลียนอกทางตะวันออก
ระหว่างที่เหตุการณ์ภายในจีนปั่นป่วนจับต้นชนปลายไม่ได้แน่ชัดนั้น ทั้งจีนและรุสเซียต่งอถอนทูตกลับประเทศเป็ฯการภายใน ความวุ่นวายเป็นจลาจลในประเทศจีนย่อมทำให้รุสเซียสนใจเป็นอย่างยิ่ง รุสเซียได้เฝ้ารอดูหลิวเชาชี และเติ้งเสี่ยวผิงว่าจะสามารถต้านคลื่นปฏิวัติได้ตลอดรอดฝั่ง และสามารถนำจีนมาสู่ฝ่ายรุสเซียได้ในภายหน้าหรือไม่ แต่ปรากฎว่าสองคนมิอาจทานคลื่นปฏิวัติได้ในปลายปี 1966 ทั้งสองคนค่อย ๆ หมดอำนาจทางการเมืองโดยพฤตินัย
นโยบายจีนทวีความสลับซับซ้อนไม่มีผุ้ใดคาดได้ว่า โดยเหนื้อแท้แล้วระหว่างปกิวัติวัฒนธรรมนั้นจีนมีนโยบายต่างประเทศที่แน่นอนลักษณะใด ถ้าพิเคราะห์โดยถ่องแท้จะเห็นได้ว่า การปฏิวัติวัฒนธรรมมิได้เป็นแต่เพียงจุดหัวเลี่ยวหัวต่อทางการเมืองและอุดมการณ์ว่า จีนควรยืนหยัดต่อต้านแนวโน้มเอียงในการก้าวไปสู่วิถีทางนายทุนหรือไม่เท่านั้น หากแต่การปฏิวัติวันธรรมยังเป็นจุดหัวเลี้ยวหัวต่อทางนโยบายต่างประเทศด้วยว่ามีนโยบายใดที่เหมาะสม ส่วนนโยบายต่างประเทศทั่วไปอื่น ๆ ของจีนคงยังไม่มีข้อยุติและเห็นได้ชัดว่าคงจะมีการพิจารณาเปลี่ยนแปลงบ้างนโยบายที่เด่นชัดคือ นโยบายเป็นปฏิปักษ์กับรุสเซียและการทูตโดยใช้เรดการ์ดเป็นสื่อแสดงแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงนโยบาย ดังปรากฎว่าจีนเรียกบรรดาทูตกลับประเทศและปล่อยให้เรดการ์ดโจมตีกระทรวงการต่างประเทศแล้วประณามนายเชินยิ ผุ้เป็นรัฐมนตรีอย่างสาดเสียเทเสีย พร้อมกันนั้นก็ก่อกวยสถานทูตของฝ่ายรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ที่จีนเห็นว่าไม่เป็นมิตรเท่าใดนักกับจีนที่สำคัญคือ สถานทูตรุสเซยถูกพวกเรดการ์ดล้อ เรอดการ์ดประณามรุสเซียว่าเป็นพวกนิยมแก้ไขปรับปรุงลัทธิและส่อจักรวรรดินิยมเพราะแอบอ้างดินแดนไปจากจีน
ทั่วโลกให้ความสนใจมากกับกรณีพิพาทชายแดนระหว่างจนกบรุสเซย อินแดนที่เป็ฯปัญหาคือ พรมแดนระหว่างรุสเซียกับมณฑลซินเกียงและระว่างรุสเซียกับแมนจูเรียจีนเรียกร้องให้รุสเซียสารภาพว่า ดินแดนที่ไปในสมัยจักรวรรดิจีนนั้นเป็นไปตามสนธิสัญญากับซาร์อย่างไม่เป็นธรรมและไม่เสมอภาค ข้อเรียกร้องนั้นเป็นเงื่อนไขเบื้งต้นของการเจรจารุสเซียไมยอมรับผิดเช่นนั้น ในระหว่างการประคารม การปฏิวัติวัฒนธรรมผลักดันให้ชนกลุ่มน้อย ยูกูร์ อพยพข้ามพรมแดนจากซินเกียงเข้าไปในดินแดนรุสเซียประมาณเกือบแสน ต่างฝ่ายต่างปิดพรมแดนและลาดตระเวนชาแดนอย่างเข้มวงดกวดขันบางครั้งบางคราวก็มีพวกเรดการ์ดก่อกวนตามพรมแดนทางซินเกียงและแมนจูเรีย การต่อต้านเป็นปฏิปักษ์ต่อรุสเซียนี้ดำเนินไปอย่างรุนแรงถึงขั้นทำลายทรัพย์สินและทำร้ายชาวรุสเซียตามเมืองท่าเดเรน จนรุสเซียต้องขู่คุกคามว่าจะตัดการค้าขายด้วย รัฐบาลจีนจึงพยายามจำกัดขอบเขตของการประท้วงรุสเซียไว้ แต่ก็ทำได้ยากมิใช้น้อยเพราะเรดการ์ดมีพลังยากแก่การควบคุม
เอกภาพของโลกคอมมิวนิสต์นั้นไร้ความมหายและเป็นไปมิได้แล้วสำหรับรุสเซียโดยเฉพาะความแตกแยกระหว่างจีนกับรุสเซยได้เปิดโอกาสให้บรรดารัฐบริวารฉวยโอกาสปกครองตนเองที่ละน้อย ที่สำคัญคือ แอลบาเนีย ยูโกสลาเวีย รูเมเนีย ภายในโลกคอมมิวนิสต์เต็มไปด้วยเสียงวิพากษ์วิจารณ์วิธีการที่รุเซียปกครองรัฐบริวาร โลกคอมมิวนิสต์แตกแยกแต่ยังมิได้มีขบวนการแยกออกจากโลกคอมมิวนิสต์ เพราะรัฐบริวารยังเกรงกลัวกำลังแสนยานุภาพและอำนาจของรุสเซีย อีกทั้งรัฐบริวารยังต้องพึ่งพาอาศัยความคุ้มครองปกป้องจากรุสเซียเพราะรัฐบริวารเองส่วนใหญ่มิได้มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันนัก รุสเซียสามารถให้หลักค้ำประกันเสถียรภาพความมั่นคงแก่โลกคอมมิสวนิสต์มาก ประการสุดท้าย สงครามเวียดนามมีส่วนทำให้ความผิดพ้องหมองใจในโลกคอมมิวนิสต์ในด้านต่าง ๆ ลดลงมากและอำพรางข้อเท็จจริงว่า โลกคอมมิวนิสต์ขาดเสียงเอกฉันท์ในการกำหนดจุดประสงค์ร่วมกันเพื่อโลกคอมมิวนิสต์ รุสเซียเน้นเสมอว่า ความช่วยเหลือที่รุสเซียจะให้ขบวนการมีลักษณะฮักเหิมก่อศึกสงครามซึ่งจะทำให้เกิดภาวะการเผชิญหน้ากันเองของอภิมหาอำนาจและอาจทำให้เกิดสงครามนิวเคลียร์ได้
รุสเซียภายใต้การนำโดยหมู่คณะต่างเห็นพ้องต้องกันว่า ครุสเชฟได้ใช้วิธีค่อนข้างเสียงท้าทายโลกเสรีเกิดความจำเป็น เช่นในกรณีอเบอร์ลินและวิกฤติการณ์คิวบา คณะผู้นใหม่ตระหนักว่า การข่มขู่ใช้กำลังอาวุธก็ดี แสดงตนเผชิญหน้าก็ดี หรือการแสดงทีทาเสี่ยงก้าวร้าวรุกรานก็ดี ล้วนเป็นวิธีการที่ไม่ความเสียงในภาวะที่รุเซียเองไม่อยู่ในฐานะพร้อมที่จะรบหรือเผชิญหน้าอี เพราะสถานกาณ์โลกเปลี่ยนแปลงไปมากแล้ว และสำคัญที่สุดคือ ดุลยภาพแห่งอำนาจโลกได้เปลี่ยนแปลง โดยเหตุที่จีนและฝรั่งเศสกลายเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์แล้ว โลกที่สามกำลังเพิ่มจำนวนสมาชิกมากขึ้น เป็นพลังที่รุสเซียควรสนใจหาเสียทาบทามเป็นมิตรมากกว่าก่อศัตรู โลกก้าวสู่วันเวลาที่รุสเซียและสหรัฐสิ้นสุดอำนาจเผด็จการบงการโลกดังที่เคยกระทำ และ อาวุธนิวเคลียร์สร้างอันดับฐานะทางการเมืองได้ผล แต่ไม่อาจจะทำให้รุสเซียแผ่ขยายอำนาจอิทธิพลไปทั่วโลก เพราะอีกฝ่ายก็มีอาวุธเช่นกัน ประการสุดท้าย ปัญหาในโลกคอมมิวนิสต์เอง ความซับซ้อนที่ทวีขึ้นในวิกฤติการณ์อินโดจีน ความสัมพันธ์ระหว่างรุสเซียและจีนที่มีลักษณะซับซ้อน สิ่งเหล่านี้เป็นเหตุรุสเซยต้องปรับเปลี่ยนวิธีการเจริญสัมพันธไมตรีกับโลกเสรี โลกคอมมิวนิสต์และโลกที่สาม
คณะผู้นำใหม่แสดงเจตจำนงที่จะดำเนินนโยบายอยู่ร่วมกันโดยสันติดังเดิม เพียงแต่จำเป็นจ้องเปลี่ยนวิธีที่จะดำเนินนโยบายเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงไป ผุ้นำคณะใหม่ปรับปรุงวิธีการโดยลดระดับการเสี่ยงท้าทายฝ่ายตรงข้าม แสดงพร้อมที่จะอยู่ร่วมกันโดยสันติ อำพรางเจตนารมณ์ที่แท้จริง และแสวงหาโอกาสจังหวะเหมาะที่จะขยายอำนาจอิทธิพล ระเซียเลิกใช้วิธีการข่มขู่โดยอาวุธนิวเครียทางการทูต
นโยบายต่อโลกคอมมิวนิสต์เปลี่ยแปลงไปภายใต้คณะผุ้นำใหม่ นโยบายต่อโลกคอมมิวนิสต์มิได้เปลี่ยนแปลงเท่าใดดังที่คาดหวัง ความสัมพันธ์กับรฐคอมมิวนิสต์ยังคงเหมือนเดิม โดยเฉพาะความสัมพันธ์กับจีน
ทันที่ฝ่ายนรุสเซียมีการเปลี่ยนผู้นำ พรรคจีนคอมมิวนิสต์ได้จับตามองอย่างใกล้ชิดเป็นที่รู้กันอยู่ว่า กาเปลี่ยนผู้นำในรุสเซียอาจจมีผลทำให้ทั้งสองฝ่ายหันหน้ามาคืนดีกันได้อีก รุสเซียแสดงทีท่าเป็ฯมิตรต่อจีนอย่างออนนอกหน้า อนาคตของจีนจึงควรจะสดในเป็นอย่างยิ่งเพราะคู่ปฏิปักษ์คือครุสเชฟก็หมดอำนาจไปแล้ว จีนแสดงคามกระตือรือร้นที่จะฟื้นผู่สัมพันธภาพอันดีงานกับรุสเซีย จู เอนไล ได้นำคณะผุ้แทนจีนเข้าร่วมฉลองวันครบรอบปีแป่งการปฏิวัติ ณ มอสโก เป็นการเชื่อมสัมพันธไมตรี แสดงท่าที่ว่าจีนมีความเป็นมิตรต่อผุ้นำใหม่รุสเซีย ในขณะเดียวกัน ย่อมเป็นที่แน่นอนใจได้ว่า จีนต้องการจะหยั่งท่าทีของรุสเซียจากสุนทรพจน์ของนายเบรสเนฟเองด้วย จีนคาดว่าคงมีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงนโยบายต่างประเทศไปในแนวที่จีน้องประสงค์บ้าง
จีนรู้สึกผิดหวังกัยถ้อยแถลงการณ์ของ เบรสเนฟ ซึ่งมิได้ให้ความหว้งมากมายแก่จีนเพีงแสดงทีท่าว่าต้องการเจรจาฟื้นฟูความสัมพันธ์อันดีกับจีน และยินดีให้ความช่วยเหลือทางด้านเศรษฐกิจและทหาร ที่สำคัญ รุสเซียเสนอให้จัดการประชุมพรรคคอมมิวนิสต์ทั่วโลก รุสเซียหวังอย่างเดียวที่จะให้จีนเป็นพ้องกับนโยบายทั่วไปของตน ต้องการให้จีนเป็ฯมิตรกับผู้นำใหม่บ้างและต้องการขอร้องจีนมิให้ยุแยงบรรดาพรรคคอมมิวนิสต์ให้แตกความสามัคคี
ข้อเสนอและท่าทีของรุสเซียก่อให้เกิดความขัดแย้งในชนชั้นผุ้นำของจีนมีบางคนเห็นควรรับไม่ตรีรุสเซียและรับข้องเสนอบางส่วน แต่ เมา เช ตุง ปฎิเสธข้อเสนอโดยถือว่าเป็นนโยบายของครุสเชฟ ซึ่งมีแนวโน้มไปสู่การปรองดองกับโลกเสรีและพัฒนาประเทศไปสู่หนทางลัทธิทุนนิยม เป็นการทรยศต่องอุดมการ์และเป็นการพยายามแก้ไขปรับปรุงลัทธิ ปรากฎว่า ผู้นำใหม่ยังยึดปฏิบัติตามเป็ฯส่วนใหญ่ เป็นเพียงวิธีการเท่านั้นที่เปลี่ยนแปลงในทรรศนะของ เมา เช ตุง ผู้นำใหม่ไม่แตกต่างจาครุสชอฟ แสดงว่า รุสเซียมีแนวโน้เอียงไปในการแก้ไขปรับปรุงลัทธิ ทั้นี้มิได้เป็นการเปลี่ยนแปลงนโยบายโดยเอกเทศส่วนบุคคลว่าครุสเชฟคิดเอง เปลี่ยนแปลงเอง หากแต่กลายเป็นว่าบุคคลชั้นนำของรุสเซียคิดเปลี่ยนแปลงเองในวิถีทางเช่นนั้น การเปลี่ยนผู้นำมิได้หมายถึงการเปลี่ยนแปลงนโยบาย เพียงแต่เปลี่ยนผู้นำใหม่ที่มีวิธีการใหม่ในการดำเนินนโยบายเดิมหลักาการเดิมเท่านั้นเอง ซึงเมา เช ตุง ถือว่าเป็นนโยบายเดิมของครุเชฟ ผู้นำใหม่ล้วนปฏิบัติตามนโยบายเดิมของครุสซอฟ ผู้นำใหม่เป็นพวกนิยมหรือเจริญรอยตามครุซอฟ เป็นความนิยมแก้ไขปรับปรุงลัทธิที่ปรากฎเด่นชัดแม้ปราศจากครุสซอฟแล้วก็ตา ในที่สุด จีนได้ตอบ
โต้ของเสนอของรุสเซยโดยพิมพ์บทความของเมา เช ตุง ชือ “เหตุใดครุซอฟหมอำนาจ” ลงในหนังสือพิมพ์ “ธงแดง”บทความสาธยายความผิดพลาดต่าง ๆ ของครุซอฟตั้งแต่การภายในถึงการภายนอกประเทศ เตือนผู้นำรุสเซียใหม่ให้สังวรณ์ว่าไม่ควรดำเนินนโยบายในแนวนั้น และเป็นการยื่นเงื่อนไขโดยพฤตินัยว่า ถ้ารุสเซียไม่ปฏิบัติตาม โอกาสคืนดีกันก็คงเป็นไปมิได้ รุสเซียเร่มลังเลแต่ยังหวังฝ่ายที่เห็นชอบข้อเสนอของตนในจีนจะมีอิทธิพลอยู่บ้างในขณะเดียวกัน รุสเซยก็เร่มตระเตรียมระเบียบวาระสำหรับการประชุมพรรคคอมมิวนิสต์ทั่วโลก รุปการณ์ส่อให้เห็นว่าจำเป็นต้องพึ่งพรรคเหล่านั้นให้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย จีนแสดงท่าทีชาเย็นอย่างเต็มที่ ทำให้โอกาสคืนดียิ่งยากขึ้น
ลักษณะสัมพันธภาพของทังสองฝ่ายเต็มไปด้วยการชิงไหวชิงพริบกัน โดยเนื้อแท้รุสเซียไม่อาจหลักกนีพันธกรณีตามความผูกพันทางอุดมการณ์ต่อเวียดนามเหนือได้ในฐานะผู้นำโลกคอมมิวนิสต์ รุสเซียควรยื่นมือเข้าไปเกี่ยวข้องช่วยเหลือโดยตรง แต่วิกฤติกาณ์เวียดนามนั้นเป็นเรื่องอันตราย เพราะถ้าข้องเกี่ยโดยตรง รุสเซียได้ต้องเผชิญหน้าสหรัฐอมเมริกา เป็นการเสี่ยงอันตรายเกินไปและผิดจุประสงค์นโยบายหลักของรุสเซียแต่ถ้ารุสเซียวางเฉย โลกคอมมิวนิสต์โดยเฉพาะจีนคอมมิวนิสต์ก็อาจประณามรุสเซียไม่อาจผลักภาระหน้าที่ ตราบใดที่รุสเซียยังต้องการเป็นผุ้นำโลกคอมมิวนิสต์แต่ในขณะเดียวกัน รุสเซียก็ไม่ต้องการเผชิญหน้าสหรัฐอเมริกา รุสเซียจึงต้องแสวงหาทางออกที่ดีพอมี่จะรักษาฐานะอำนาจและศักดิ์ศรีของรุสเซียทั้งในโลกคอมมิวนิสต์และโลกเสรีวิกฤติการณ์เวียนามท้าทายรุสเซียยิ่งนัก
นโยบายของรุสเซยที่เรียกร้องพลังโลกคอมมิวนิสต์ให้ต่อต้านจักรวรรดินิยมอเมริกาในเวียดนามใต้นั้น ว่าไปแล้ว มีความมิวนิสต์จีนระดับผุ้นำหลายคนเห็นด้วยว่าควรช่วยเหลือเวียดนามเหนือ รุสเซียจึงหวังว่าคนกลุ่มนี้จะทวีพลังมากพอที่จะเป็นเสียงข้ามมากในการกำหนดวินิจฉัยนโยบายของจีน แต่แล้วบุคคลชั้นนำของกลุ่มนัน คือ โล ยุย ชิง ประธานคณะกรรมการกิจการทหารและเสนาธิการฝ่ายวางแผนได้ถูกคลื่นขบวนการปฏิวัติวัฒนธรรมถาโถมเข้าโจมตีอย่างรุนแรงจน โล ยุย ชิง ต้องจำนนต่อข้อกล่าวหาทุกประการและค่อย ๆ หายหน้าหายตาไปจากวงการเมืองและวงการทหาร ต่อมา เผงเจิน ซึ่งแอนตั้รุสเซียได้เป็นผู้นำในการปฏิวัติวัฒนธรรมในแวงวงวรรณกรรม ช่วงระยะที่จีนเริ่มเผชิญคลื่อนปฉวัตินี้ รุสเซียได้เผ้าสงเกตการณ์อย่างใกล้ชิด และมีทีท่าพร้อมที่จะแทรกแซง ถ้าฝ่ายปฏิปักษ์ของเมาจะแสดงพลังความสามาถรพโดยมีนโยบายนิยมรุสเซียให้เป็ฯที่ประจักษ์ ในขณะเดียวกันจีนกับรุสเซยก็เปิดฉากก่อกรณีพิพาทชายแดนและรุสเซียเองก็มีที่ท่าพร้อมที่จะลิดรอนเอกราชอำนาจอธิปไตยของมองโกเลียนอก โดยลังเลที่จะต่ออายุสนธิสัญญาพันธมิตร ในระยะนั้นรุสเซียมีความเคลื่อนไหวภายในมาก เกี่ยวด้วยเรื่องส่งทหารไปมองโกเลียนอกเพื่อข่มขวัญจีนโดยเฉพาะปักกิ่ง ซึ่งมีชัยภูมิที่ตั้งใกล้กับมองโกเลียนอกทางตะวันออก
ระหว่างที่เหตุการณ์ภายในจีนปั่นป่วนจับต้นชนปลายไม่ได้แน่ชัดนั้น ทั้งจีนและรุสเซียต่งอถอนทูตกลับประเทศเป็ฯการภายใน ความวุ่นวายเป็นจลาจลในประเทศจีนย่อมทำให้รุสเซียสนใจเป็นอย่างยิ่ง รุสเซียได้เฝ้ารอดูหลิวเชาชี และเติ้งเสี่ยวผิงว่าจะสามารถต้านคลื่นปฏิวัติได้ตลอดรอดฝั่ง และสามารถนำจีนมาสู่ฝ่ายรุสเซียได้ในภายหน้าหรือไม่ แต่ปรากฎว่าสองคนมิอาจทานคลื่นปฏิวัติได้ในปลายปี 1966 ทั้งสองคนค่อย ๆ หมดอำนาจทางการเมืองโดยพฤตินัย
นโยบายจีนทวีความสลับซับซ้อนไม่มีผุ้ใดคาดได้ว่า โดยเหนื้อแท้แล้วระหว่างปกิวัติวัฒนธรรมนั้นจีนมีนโยบายต่างประเทศที่แน่นอนลักษณะใด ถ้าพิเคราะห์โดยถ่องแท้จะเห็นได้ว่า การปฏิวัติวัฒนธรรมมิได้เป็นแต่เพียงจุดหัวเลี่ยวหัวต่อทางการเมืองและอุดมการณ์ว่า จีนควรยืนหยัดต่อต้านแนวโน้มเอียงในการก้าวไปสู่วิถีทางนายทุนหรือไม่เท่านั้น หากแต่การปฏิวัติวันธรรมยังเป็นจุดหัวเลี้ยวหัวต่อทางนโยบายต่างประเทศด้วยว่ามีนโยบายใดที่เหมาะสม ส่วนนโยบายต่างประเทศทั่วไปอื่น ๆ ของจีนคงยังไม่มีข้อยุติและเห็นได้ชัดว่าคงจะมีการพิจารณาเปลี่ยนแปลงบ้างนโยบายที่เด่นชัดคือ นโยบายเป็นปฏิปักษ์กับรุสเซียและการทูตโดยใช้เรดการ์ดเป็นสื่อแสดงแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงนโยบาย ดังปรากฎว่าจีนเรียกบรรดาทูตกลับประเทศและปล่อยให้เรดการ์ดโจมตีกระทรวงการต่างประเทศแล้วประณามนายเชินยิ ผุ้เป็นรัฐมนตรีอย่างสาดเสียเทเสีย พร้อมกันนั้นก็ก่อกวยสถานทูตของฝ่ายรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ที่จีนเห็นว่าไม่เป็นมิตรเท่าใดนักกับจีนที่สำคัญคือ สถานทูตรุสเซยถูกพวกเรดการ์ดล้อ เรอดการ์ดประณามรุสเซียว่าเป็นพวกนิยมแก้ไขปรับปรุงลัทธิและส่อจักรวรรดินิยมเพราะแอบอ้างดินแดนไปจากจีน
ทั่วโลกให้ความสนใจมากกับกรณีพิพาทชายแดนระหว่างจนกบรุสเซย อินแดนที่เป็ฯปัญหาคือ พรมแดนระหว่างรุสเซียกับมณฑลซินเกียงและระว่างรุสเซียกับแมนจูเรียจีนเรียกร้องให้รุสเซียสารภาพว่า ดินแดนที่ไปในสมัยจักรวรรดิจีนนั้นเป็นไปตามสนธิสัญญากับซาร์อย่างไม่เป็นธรรมและไม่เสมอภาค ข้อเรียกร้องนั้นเป็นเงื่อนไขเบื้งต้นของการเจรจารุสเซียไมยอมรับผิดเช่นนั้น ในระหว่างการประคารม การปฏิวัติวัฒนธรรมผลักดันให้ชนกลุ่มน้อย ยูกูร์ อพยพข้ามพรมแดนจากซินเกียงเข้าไปในดินแดนรุสเซียประมาณเกือบแสน ต่างฝ่ายต่างปิดพรมแดนและลาดตระเวนชาแดนอย่างเข้มวงดกวดขันบางครั้งบางคราวก็มีพวกเรดการ์ดก่อกวนตามพรมแดนทางซินเกียงและแมนจูเรีย การต่อต้านเป็นปฏิปักษ์ต่อรุสเซียนี้ดำเนินไปอย่างรุนแรงถึงขั้นทำลายทรัพย์สินและทำร้ายชาวรุสเซียตามเมืองท่าเดเรน จนรุสเซียต้องขู่คุกคามว่าจะตัดการค้าขายด้วย รัฐบาลจีนจึงพยายามจำกัดขอบเขตของการประท้วงรุสเซียไว้ แต่ก็ทำได้ยากมิใช้น้อยเพราะเรดการ์ดมีพลังยากแก่การควบคุม
เอกภาพของโลกคอมมิวนิสต์นั้นไร้ความมหายและเป็นไปมิได้แล้วสำหรับรุสเซียโดยเฉพาะความแตกแยกระหว่างจีนกับรุสเซยได้เปิดโอกาสให้บรรดารัฐบริวารฉวยโอกาสปกครองตนเองที่ละน้อย ที่สำคัญคือ แอลบาเนีย ยูโกสลาเวีย รูเมเนีย ภายในโลกคอมมิวนิสต์เต็มไปด้วยเสียงวิพากษ์วิจารณ์วิธีการที่รุเซียปกครองรัฐบริวาร โลกคอมมิวนิสต์แตกแยกแต่ยังมิได้มีขบวนการแยกออกจากโลกคอมมิวนิสต์ เพราะรัฐบริวารยังเกรงกลัวกำลังแสนยานุภาพและอำนาจของรุสเซีย อีกทั้งรัฐบริวารยังต้องพึ่งพาอาศัยความคุ้มครองปกป้องจากรุสเซียเพราะรัฐบริวารเองส่วนใหญ่มิได้มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันนัก รุสเซียสามารถให้หลักค้ำประกันเสถียรภาพความมั่นคงแก่โลกคอมมิสวนิสต์มาก ประการสุดท้าย สงครามเวียดนามมีส่วนทำให้ความผิดพ้องหมองใจในโลกคอมมิวนิสต์ในด้านต่าง ๆ ลดลงมากและอำพรางข้อเท็จจริงว่า โลกคอมมิวนิสต์ขาดเสียงเอกฉันท์ในการกำหนดจุดประสงค์ร่วมกันเพื่อโลกคอมมิวนิสต์ รุสเซียเน้นเสมอว่า ความช่วยเหลือที่รุสเซียจะให้ขบวนการมีลักษณะฮักเหิมก่อศึกสงครามซึ่งจะทำให้เกิดภาวะการเผชิญหน้ากันเองของอภิมหาอำนาจและอาจทำให้เกิดสงครามนิวเคลียร์ได้
วันจันทร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
Richard M. Nixon (part 1)
สหรัฐอเมริการภายใต้การนำของประธานนาธิบดีริชาร์ด เอ็ม. นิกสัน Richard M. Nixon 1969-1977 ประธานารธิบดี จิมมี่ คาเตอร์ Jimmy Carter 1977-1981ความคลุมเครือน่าสงสัย มัวหมองอับจนและไม่แนนอนในทศวรรษที่ 1970 ปรากฏเด่นชันทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม สืบเนื่องมาจากคดีอื้อฉาววอเตอร์เกทปี 1972 ซึ่งเกิดจากพรรคพวกของประธานาธิบดีนิกสันส่งคนไปทำจารกรรมในอาคารวอเตอร์เกทซึ่งเป็นศูนย์บัญชาการเลือกตั้งของพรรคเดโมเเครต ซึ่งประธานนาธิบดีรับรู้เรื่องราวและรู้ตัวผู้สังการแต่ปิดังเรื่องราวและปกป้องพรรคพวกผู้รทำผิด ทั้งใช้อำนาจประธานาธิบดีเกินขอบเขตคือปลดและโยกย้ายคณะผู้สอบสวน ตลอดจนไม่ให้ความร่วมมือขัดขวางขบวนการยุติธรรมไม่ยอมมอบเทปตาคำสั่งศาล ประธานาธิบดีรู้ตัวว่าผิดจริงจึงตัดสินใจลาออกจากการเป็นประธานนาธิบดี ก่อนจะถูกฟ้องร้อง Impeachment ถอดถอนจากวุฒิสภาออกจากความเป็นประธานาธิบดี
เมื่อเจอรัล อาร์.ฟอร์ด ขึ้นเป็นประธานาธิบดีได้ประกาศให้อภัยแก่อดีตประธานาธิบดีนิกสันที่มีส่วนพัวพันในคดีอื้อฉาววอเตอร์เกท อันมีผลให้คนอเมริกันขาดศรัทธาไม่ไว้วางใจในประธานาธิบดี นักการเมืองและพรรคการเมือง ความมัวหมองทางเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นๆ ลงๆ ตลอดช่วงทศวรรษที่ 70 โดยรัฐบาลไม่สามารถแก้ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำซบเซา ปัญหาเงินเฟ้อ คนว่างงานเพื่มขึ้น และภาวะการขาดแลนน้ำมันอย่างรุนแรง ความมัวหมองทางสังคมเกิดจากชนกลุ่มน้อยก่อความวุ่นวายเพ่อเรียกร้องขอความช่วยเหลือดูแลจากรัฐบาลและเรียกร้องสิทธิที่ควรได้รับการยอมรับจากสังคม ชนกลุ่มน้อยมีหลายกลุ่มเร่มจากอเมริกันผิวดำเรียกร้องเลิการแบ่งแยกเหยีอดผิดและร้องของการมีสิทธิเท่าเทียมกันเช่นอเมริกันผิวขาว อเมริกันอินเดียนมีการเคลื่อนไหวภายใต้ชื่อกรบวนการอเมริกันอินเดียนเรียกร้องให้รัฐบาลอเมริกันยอมรับในสทิธิของอเมริกันอินเดีย และยอมรับความเป็นเจ้าของในทรัพย์สินคือที่ดินของอเมริกันอินเดียนเช่นอเมริกันผิวขาวได้รับจากรัฐบาลอเมริกัน เม็กซิกันอเมริกัน จากเม็กซิโกเข้ามาในสหรัฐอเมริกาอย่างถูกต้องตามกฎหมายช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อเป็นแรงงาน..นอกจากนี้แม็กวิกันอเมริกายังรวมตัวจัดตั้งองค์กรทางการเมือง ร่วมมีบทบาททางการเมืองในระดับท้องถ่นและระดับมลรัฐ ชาวเปอร์โตริโก ซึ่งได้รัการยอมรับเป็นประชากรชาวอเมริกันส่วนใหญ่อพยพเข้าตั้งถ่นฐานในนิวยอร์กมีปัญหาเรื่องภาษา ความยากจน มีการศึกษาน้อยและว่างงาน มีสภาพความเป็นอยู่ไม่ต่างจากอเมริกันผิวดำ ชาวเปอร์โตริโกต้องการให้รัฐบาลอเมริกันช่วยจัดหางานให้ เพื่อการมีสภาพเป็นอยู่ที่ดีข้น ชาวคิวบา อพยพจาคิวบาเข้ามาตั้งมั่นที่เมืองไมอามี่ ในฟลอริดา ชาวคิวลาในฟลอลิดา ประสบความสำเร็จในการประกอบอาชีพ มีชีวิตความเป็นอยู่ดี มักตกงานหรือได้งานบริการระดับต่ำ กลุ่มสตรีอเมริกัน ภายใต้การนำของเบ็ทที ไฟรเดน ทำการจัดตั้งองค์การสตรีแห่งชาติ เรียกร้องความเสมอภาคแก่สตรีในการเข้าทำงานโดยไม่ยึดเพศเป็นตัวกำหนด เรื่องมลภาวะเกิดจากการเติบโตอย่งรวดเร็วของอุตสาหกรรมและการเพ่มมากขึ้นของประชากรทำให้สภาวะแวดล้อมสกปรก กล่าวคืออากาศปกปรกเพราะควันจากโรงงานและรถยนต์ปลายทศวรรษที่ 60 ชาวอเมริกันเรียกร้องให้มีการควบคุมมลพิษ รัฐบาลผ่านกฎหมายกำจัดมลภาวะหลายฉบับแต่แก้ไขไม่สำเร็จ
ประธานาธิบดี ริชาร์ด เอ็ม. นิกสัน
เคยเป็นรองประธานาธิบดีในสมัย ดไวท์ ดี. ไอเซนฮาวร์ ประธานนาธิบดีนิกสันเน้นงานด้านการต่างผระเทศมากกว่างานบริหารภายในประเทศ ซึ่งมีส่วนอย่างมากในอันคลี่คลายความตึงเครียดของโลก ความสำเร็จในการดำเนินนโยบายต่างประเทศเกิดจากปัจจัยหลักสองประการคือหนึ่งปรธานาธิบดีนิกสันมีประสบการณ์และเชี่ยวชาญในเรื่องการเมืองและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และมีผู้ช่วยที่ความรู้วามสามารถคือ ดร.เฮนรี่ เอ. คิสซิงเจอร์ กล่าวคือการแสวงหาแนวทางยุติสงครามเวียดนาม สร้างคามสัมพันะอันดีกับจีนโดยเดินทางไปเยือนจีนในปี 1972 สาม สหรัฐฯลดความตรึงเครียดกับรัสเซียโดยการเยื่อนรุสเซียมีการร่วมลงนามในสนธิสัญญาจำกัดอาวุธยุทธศาสตร์ปี 1972
เข้าร่วมในสงครามเวียดนามโดยการสู้รบในสงครามตัวแทนในขณะที่ฝ่ายเวียดนามเหนือมีรุสเซียและจีนเป็นผู้การสนับสนุนกำลังด้านอาวุธยุทธปัจจัย สงครามดำเนินอยู่เป็นเวลา 8 ปี ด้วยข้อตกลงหยุดยิงปี 1973 เป็นการยุติบทบาทการร่วมสู้รบของกองกำลังอเมริกัน สงครามเวียดนามยุติลงในวันที่ 21 เมษายน 1975 โดยเวียดนามใต้พ่ายแพ้คอมมิวนิสต์เวียดกงและเวียดนามเหนือ ทหารอเมริกันเสียชีวิตเกือบหกหมืนคน บาทเจ็บกว่าสามแสนนาย สูญเสียงินในสงครามกว่าร้อยห้าสิบล้านเหรียญยูเอส. ทหารเวียดนามใต้เสียชีวิตในสงครามราวสองแสนห้าหมือนคน ทหารเวียดนามเหนือและเวียดกงประมาณล้านกว่าคน เวียดนามใต้ถูกนำรวมกับเวียดนามเหนือภายใต้ชื่อประเทศเวียนามและยอมรับลัทธิคอมมิวนิสต์เป็นแนวทางในการปกครองประเทศ ไซ่ง่อนถูกเปลี่ยนชื่อเป็นนครโฮจิมิน ลาวและกัมพูชากลายเป็นชาติคอมมิวนิสต์
ความสัมพันอันดีกับจีน สหรัฐไม่การรับรองในเอกราชของประเทศสาธารณรับประชาชนจีนและเรียกร้องสาธารณรับประชาชนจีนว่าจีนคอมมิวนิสต์หรือจีนแดง และยับยั้งทุกครั้งเมือสาธารณรัฐประชาชนจีนเสนอตัวเข้าเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ ขณะเดียวกันให้การรบรองในเอกราชของสาธารณรัฐจีน จัดตั้งที่เกาะไต้หวันมีกรุงไทเปเป็นเมืองหลวงโดยกลุ่มจีนประชาธิปไตยภายใต้การนำของเจียง ไค เชค จีนคอมมิวนิสต์มีเพียงรุสเซียเป็นพันธมิตร
สหรัฐอเมริกาเห็นความจำเป็นต้องเสริมสร้างความสัมพันะอันดีกับจีนด้วยเหตุผลประการที่หนึ่งเพื่อแสดงการยอมรับในเอกราชของจีนคอมมิวนิสต์ สองเพื่อให้จีนคอมมิวนิสต์ลดหรือเลิกหนุนเสริมเวียดนามเหนือ และสามเพื่อให้จีนคอมมิวนิสต์และรุสเซียหวาดระแวงกันเองในความสัมพันะที่มีต่อสหรัฐฯ และเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าในการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของจีนคอมมิวนิสต์ สหรัฐกำหนดแนวทางสร้างความสัมพันะกับจีนคอมมิวนิสต์..
ลดความตรึงเครียดกับรุสเซียโดยการเดินทางเยื่อนรุสเซียในเดือนพฤษภาคม 1972
การเยือนรุสเซียนำสู่การลงนามร่วมกันระหว่างสหรัฐอเมริกากับรุสเซียในสนธิสัญญาจำกันอาวุธยุทธศาสตร์ ปี 1972 และพัฒนาความสัมพันะด้านการค้าความร่วมมือทางวิทยาศาสตร์ การแพทย์และรักษาสภาพแวดล้อม เหตุที่มาของการเยือนรุสเซียเนื่องจากรุสเซียช่วงนี้ภายใต้การนำของ ลีโอนิค ไอ.เบรสเนฟ เศรษฐกิจไม่สู้ดีนัก รุสเซียจึงเห็นความจำเป็นต้องดำเนินนโยบายสร้างความสัพันธ์อันดีกับกลุ่มประเทศโลกเสรีและผ่อนคลายความตึงเครียดทางการเมืองระหว่างตะวันออกและตะวันตก ภายใต้ชื่อเดทานเต้ ตัวแทน 62 ชาติทั้งที่มีนิวเคลียร์ในครอบครองและไม่มีนิวเคลียร์ในครอบครองรวมทั้งสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และรุสเซยได้ร่วมลงนามในสนธิสัญญาไม่เผยแพร่นิวเคลียร์ และชาติที่ยังไม่มีนิวเคลียร์ในครอบครองจะหยุดการคิดค้นนิวเคลียร์
ยุติปัญหาเบอร์ลินด้วยข้อตกลงปี 1971 สืบเนื่องจากในวันที่ 21 กันยายน 1949 ดินแดนเยอรมันในส่วนทางตะวันตกภายใต้การดูแลของสามชาติตะวันตก ประกาศจัดตั้งประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอมนีหรือเยอรมันตะวันตก มีกรุงบอนน์เป็นเมืองเหลวง ดินแดนเยอมนีในส่วนทางตะวันออกภายใต้การดูแลของ
รุสเซียประกาศจัดตั้งประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีเหรือเยรมนีตะวันออกเป็นเมืองหลวงในส่วนเบอร์ลินตะวันตก คงมีกองกำลังสมชาติประจำการอยู่ เพราะเศรษฐกิจตกต่ำและไม่พอใจในการปกครองในลัทธิคอมมิวนิสต์ทำให้คนในเยอรมันตะวันออกพากันอพยพเข้าเยอรมันตะวันตก อันเป็นกาบ่งชี้ถึงความล้มเหลวในเศรษฐกิจและการปกครองของเยอรมันตะวันออก เป็นผลให้ในเดื่อสิงหาคม รัฐบาลเยอมันตะวันออกสร้างกำแพงเบอร์ลินกั้นระหว่างเบอร์ลินตะวันตกกับเบอร์ลินตะวันออกและเยอรมันตะวันออก ขณะเดียกันรัฐบาลเยอมันตะวันออกและรุสเซียภายใต้การนำของครุสซอฟประกาศขู่จะปิดทุกเส้นทางคมนาคมจากเยอรมันตะวันออกสู่กรุงเบอร์ลินตะวันตก เพื่อบีบกองกำลังสามชาติตะวันตกให้ถอนออกจากเยอรมันซึ่งเป็นการเพิ่มความตรึงเครียดระหว่งโลกคอมมิวนิสต์และโลกเสรี
เมื่อรุสเซียอยู่ภายใต้การนำของลีโอนิค ไอ. เบรสเนฟ ผุ้ยึดมั่นในนโยบายผ่อนคลายความตึงเครียดทางการเมืองระหว่างโลกคอมมิวนิสต์กับโลกเสรี นำสู่การแก้ไขปัญหาเบอร์ลินในปี 1971 ด้วยข้อตกลงเบอร์ลินปี 1971 กำหนดทั้งอังกฤษ ฝรั่งเศษ สหรัฐอเมริกา และรุสเซีย ยุติการคุกคามแทรกแซงด้านการคมนาคมระหว่างกรุงเบอร์ลินและเยอรมันตะวันตก รวมทั้งให้การยอมรับในเอกราชของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอมันและสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมันด้วย
ประธานาธิบดี ริชาร์ด เอ็ม. นิกสัน
เคยเป็นรองประธานาธิบดีในสมัย ดไวท์ ดี. ไอเซนฮาวร์ ประธานนาธิบดีนิกสันเน้นงานด้านการต่างผระเทศมากกว่างานบริหารภายในประเทศ ซึ่งมีส่วนอย่างมากในอันคลี่คลายความตึงเครียดของโลก ความสำเร็จในการดำเนินนโยบายต่างประเทศเกิดจากปัจจัยหลักสองประการคือหนึ่งปรธานาธิบดีนิกสันมีประสบการณ์และเชี่ยวชาญในเรื่องการเมืองและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และมีผู้ช่วยที่ความรู้วามสามารถคือ ดร.เฮนรี่ เอ. คิสซิงเจอร์ กล่าวคือการแสวงหาแนวทางยุติสงครามเวียดนาม สร้างคามสัมพันะอันดีกับจีนโดยเดินทางไปเยือนจีนในปี 1972 สาม สหรัฐฯลดความตรึงเครียดกับรัสเซียโดยการเยื่อนรุสเซียมีการร่วมลงนามในสนธิสัญญาจำกัดอาวุธยุทธศาสตร์ปี 1972
เข้าร่วมในสงครามเวียดนามโดยการสู้รบในสงครามตัวแทนในขณะที่ฝ่ายเวียดนามเหนือมีรุสเซียและจีนเป็นผู้การสนับสนุนกำลังด้านอาวุธยุทธปัจจัย สงครามดำเนินอยู่เป็นเวลา 8 ปี ด้วยข้อตกลงหยุดยิงปี 1973 เป็นการยุติบทบาทการร่วมสู้รบของกองกำลังอเมริกัน สงครามเวียดนามยุติลงในวันที่ 21 เมษายน 1975 โดยเวียดนามใต้พ่ายแพ้คอมมิวนิสต์เวียดกงและเวียดนามเหนือ ทหารอเมริกันเสียชีวิตเกือบหกหมืนคน บาทเจ็บกว่าสามแสนนาย สูญเสียงินในสงครามกว่าร้อยห้าสิบล้านเหรียญยูเอส. ทหารเวียดนามใต้เสียชีวิตในสงครามราวสองแสนห้าหมือนคน ทหารเวียดนามเหนือและเวียดกงประมาณล้านกว่าคน เวียดนามใต้ถูกนำรวมกับเวียดนามเหนือภายใต้ชื่อประเทศเวียนามและยอมรับลัทธิคอมมิวนิสต์เป็นแนวทางในการปกครองประเทศ ไซ่ง่อนถูกเปลี่ยนชื่อเป็นนครโฮจิมิน ลาวและกัมพูชากลายเป็นชาติคอมมิวนิสต์
ความสัมพันอันดีกับจีน สหรัฐไม่การรับรองในเอกราชของประเทศสาธารณรับประชาชนจีนและเรียกร้องสาธารณรับประชาชนจีนว่าจีนคอมมิวนิสต์หรือจีนแดง และยับยั้งทุกครั้งเมือสาธารณรัฐประชาชนจีนเสนอตัวเข้าเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ ขณะเดียวกันให้การรบรองในเอกราชของสาธารณรัฐจีน จัดตั้งที่เกาะไต้หวันมีกรุงไทเปเป็นเมืองหลวงโดยกลุ่มจีนประชาธิปไตยภายใต้การนำของเจียง ไค เชค จีนคอมมิวนิสต์มีเพียงรุสเซียเป็นพันธมิตร
สหรัฐอเมริกาเห็นความจำเป็นต้องเสริมสร้างความสัมพันะอันดีกับจีนด้วยเหตุผลประการที่หนึ่งเพื่อแสดงการยอมรับในเอกราชของจีนคอมมิวนิสต์ สองเพื่อให้จีนคอมมิวนิสต์ลดหรือเลิกหนุนเสริมเวียดนามเหนือ และสามเพื่อให้จีนคอมมิวนิสต์และรุสเซียหวาดระแวงกันเองในความสัมพันะที่มีต่อสหรัฐฯ และเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าในการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของจีนคอมมิวนิสต์ สหรัฐกำหนดแนวทางสร้างความสัมพันะกับจีนคอมมิวนิสต์..
ลดความตรึงเครียดกับรุสเซียโดยการเดินทางเยื่อนรุสเซียในเดือนพฤษภาคม 1972
การเยือนรุสเซียนำสู่การลงนามร่วมกันระหว่างสหรัฐอเมริกากับรุสเซียในสนธิสัญญาจำกันอาวุธยุทธศาสตร์ ปี 1972 และพัฒนาความสัมพันะด้านการค้าความร่วมมือทางวิทยาศาสตร์ การแพทย์และรักษาสภาพแวดล้อม เหตุที่มาของการเยือนรุสเซียเนื่องจากรุสเซียช่วงนี้ภายใต้การนำของ ลีโอนิค ไอ.เบรสเนฟ เศรษฐกิจไม่สู้ดีนัก รุสเซียจึงเห็นความจำเป็นต้องดำเนินนโยบายสร้างความสัพันธ์อันดีกับกลุ่มประเทศโลกเสรีและผ่อนคลายความตึงเครียดทางการเมืองระหว่างตะวันออกและตะวันตก ภายใต้ชื่อเดทานเต้ ตัวแทน 62 ชาติทั้งที่มีนิวเคลียร์ในครอบครองและไม่มีนิวเคลียร์ในครอบครองรวมทั้งสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และรุสเซยได้ร่วมลงนามในสนธิสัญญาไม่เผยแพร่นิวเคลียร์ และชาติที่ยังไม่มีนิวเคลียร์ในครอบครองจะหยุดการคิดค้นนิวเคลียร์
ยุติปัญหาเบอร์ลินด้วยข้อตกลงปี 1971 สืบเนื่องจากในวันที่ 21 กันยายน 1949 ดินแดนเยอรมันในส่วนทางตะวันตกภายใต้การดูแลของสามชาติตะวันตก ประกาศจัดตั้งประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอมนีหรือเยอรมันตะวันตก มีกรุงบอนน์เป็นเมืองเหลวง ดินแดนเยอมนีในส่วนทางตะวันออกภายใต้การดูแลของ
รุสเซียประกาศจัดตั้งประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีเหรือเยรมนีตะวันออกเป็นเมืองหลวงในส่วนเบอร์ลินตะวันตก คงมีกองกำลังสมชาติประจำการอยู่ เพราะเศรษฐกิจตกต่ำและไม่พอใจในการปกครองในลัทธิคอมมิวนิสต์ทำให้คนในเยอรมันตะวันออกพากันอพยพเข้าเยอรมันตะวันตก อันเป็นกาบ่งชี้ถึงความล้มเหลวในเศรษฐกิจและการปกครองของเยอรมันตะวันออก เป็นผลให้ในเดื่อสิงหาคม รัฐบาลเยอมันตะวันออกสร้างกำแพงเบอร์ลินกั้นระหว่างเบอร์ลินตะวันตกกับเบอร์ลินตะวันออกและเยอรมันตะวันออก ขณะเดียกันรัฐบาลเยอมันตะวันออกและรุสเซียภายใต้การนำของครุสซอฟประกาศขู่จะปิดทุกเส้นทางคมนาคมจากเยอรมันตะวันออกสู่กรุงเบอร์ลินตะวันตก เพื่อบีบกองกำลังสามชาติตะวันตกให้ถอนออกจากเยอรมันซึ่งเป็นการเพิ่มความตรึงเครียดระหว่งโลกคอมมิวนิสต์และโลกเสรี
เมื่อรุสเซียอยู่ภายใต้การนำของลีโอนิค ไอ. เบรสเนฟ ผุ้ยึดมั่นในนโยบายผ่อนคลายความตึงเครียดทางการเมืองระหว่างโลกคอมมิวนิสต์กับโลกเสรี นำสู่การแก้ไขปัญหาเบอร์ลินในปี 1971 ด้วยข้อตกลงเบอร์ลินปี 1971 กำหนดทั้งอังกฤษ ฝรั่งเศษ สหรัฐอเมริกา และรุสเซีย ยุติการคุกคามแทรกแซงด้านการคมนาคมระหว่างกรุงเบอร์ลินและเยอรมันตะวันตก รวมทั้งให้การยอมรับในเอกราชของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอมันและสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมันด้วย
วันอาทิตย์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
Comparative Economic System
ระบบเศรษฐกิจแต่ละระบบมีแนวโน้มที่จะทำให้เศรษฐกิจก้าวหน้า การศักษาปัญหาขั้นพื้นฐานของแต่ละระบบมีการเปลี่ยนแปลงอย่างใด ระบบเศรษฐกิจแต่ละระบบมีแนวโน้มที่จะทำให้เศรษฐกิจเจริญก้าวหน้าอยางใดบ้างเพื่อเป็นการศึกษาปัญหาขั้นพื้นฐานของแต่ละสังคมที่มีส่วนแตกต่างและคล้ายคลึงกัน
นับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา มีการแข่งขันด้านเศรษฐกิจกันมากโดยเฉพาะรูปแบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมาสเซ๊ยเร่มเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในโลก ในปี 1930 และหลังจากนั้น 20 ปีจึงเกิดกลุ่มประเทศบริวารเกิดตามมา
การวิเคราะห์พื้นฐานรูปแบบของระบบเศรษฐกิจ ต้องทราบปัจจัย คือ ชาตินิยม สังคม,ความสัมพันธ์กับวิชาแขนงอื่นพอควร,ปรัชญา,โครงสร้างระบบเศรษฐกิจ
หน้าที่ของกลไกทางเศรษฐกิจ คือ ตัดสินว่าใคร หน่วยใด จะเป็นผุ้มีอำนาจตัดสินใจด้านเศรษฐกิจ เกี่ยวข้องกับทางเศรษฐกิจ การบริโภค การผลิต รวมั่งตัดสินจในรูปใด โดยมีเป้าหมายวัตถุประสงค์เป็ฯสำคัญ โดยเป้าหมายคือ
.. จะทำอย่างไรจึงจะใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพ
..ก่อให้เกิดการกระจายรายได้ที่เป็ฯธรรมให้เท่าเทียมกัน
.. ความเจริญทางด้านเศรษฐกิจเป็นที่ตั้ง
สังคมนิยม
สังคมนิยม หมายถึง ชุมชนทางเศรษฐกิจที่ยอมรับกรรมสิทธิและปัจจัยทางเศรษฐกิจโดยเน้นหนัก หรือการผลิตอุตสาหกรรมในสาขาเศรษฐกิจที่สำคัญเป็นของส่วนรวม การดำเนินการมุ่งประโยชน์ส่วนรวม ในแง่ว่าเพื่อให้รายได้เท่าเทียมกัน และในขณะเดียวกันระบบก็มิได้ทำลายเสรีภาพของบุคคลในการบริโภค การอาชีพแบ่งเป็นสังคมนิยมภายใต้ระบบเศรษฐกิจมีการวางแยปส่วนกลาง และสังคมนิยมประชาธิปไตย
ระบบทุนนิยมไม่สามารถสร้างอุปสงค์รวมให้ได้เพียงพอ แล้วในขณะเดียวกัน ไม่สามารถตอบสนองได้เสมอไป และพบว่าบางครั้งอุปสงค์รวมมากกว่าอุปทาน ผลจะทำให้ระดับราคาเพิ่มสูงขึ้น ทำให้เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำกลไกของราคาไม่สามารถทำงานได้เต็มที่ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ระบบนายทุนไม่สามารถแห้ไขได้เพราะฉะนั้น รัฐบาลจึงต้องเข้ามาควบคุมราคา การผลิต กำหนดอุปทานรวม และค้านว่าการควบคุมราคา การผลิต กำหนดอุปทานรวม และค้าวาการควบคุมราคา โดยอาศัยนโยบายการเงินและการคลัง ไม่สามารถแก้ไขอะไรได้ จึงต้องมีการปฏิรูปพื้นฐานทางเศรษฐกิจก่อน
ในระบบนายทุนทำให้ฐานะทางเศรษฐกิจ เกิดความไม่เท่าเทียมทั้งทางการศึกษาและการเงิน เน้นบทบาทเอกชน ซึ่งระบบสังคมนิยมโจมตีว่าให้เสรีภาพแก่เอกชนมากเกินไปการแข่งขัน การโฆษณา เกินความจำเป็นและไม่เหมาะสม ซึ่งการทำเช่นนี้จะทำให้ระบบเศรษฐกิจเน้นหนักด้านสินค้าอุปโภคบริโภค มากว่าสินค้าทุนซึ่งมีผลสะท้อนไปถึง เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล สวนสาธารณะ ทางแก้ไขคือ แก้ไขระบบของสังคมเสียใหม่
การควบคุมเศรษฐกิจในระบบสังคมนิยมทำได้ 2 ทางคือ การควบคุมทางด้านราคาและการควบคุมทางด้านปริมาณการผลิตแต่ละชนิด โดยรัฐเข้าควบคุมการผลิตทั้งหมด โดยมีหน่วยงานวางแผนจากส่วนกลาง เข้าทำการควบคุม
การวางแผนจากส่วนกลาง
เร่มจะเด่นชัดเมื่อประเทศเมื่อรัสเซียเปลี่ยนรูปแบบการปกครองเป็นแบบสังคมนิยมแบบบังคับ ส่วนกลางจะเป็นผู้จัดสรรปัจจัยการผลิตให้เกิดความสมดุลกัน
ปัจจุบันประเทศที่มีการวางแผนจากสวนกลาง ได้กลายเป็นหลักและวิธีปฏิบัติ ได้แก่ ประเทศเนเธอร์แลนด์ สแกนดิเนเวย ฝรั่งเศส จุดมุ่งหมายของการวางแผนจากส่สวนกลางคือ มุ่งพัฒนาอัตราการขยายตัวและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ มุ่งให้ระบบเศรษฐกิจมีการจ้างงานเต็มที่ การจะบรรลชุผลตามแผนเศรษฐกิจส่วนกลางที่ได้วางไดว้ขึ้นอยู่กับชนิดของแผนพัฒนาเศรษฐกิจที่ได้วางไว้ถายใต้การปกครองรูปแบบสังคมนิยม สังคมนิยมประชาธิปไตย ถ้ารูปแบบเศรษฐกิจเป็นแบบทุนนิยม แผนที่ออกมาจะเป็นในรูปแบบแผนของการชี้แนะ มากกว่าสร้างแบบขึ้นมามิได้บังคับต้องเป็นไปตามแผนเพียงแต่เป็นเครื่องมือในการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ต้องการให้การเจริญเติบโตเศรษฐกิจเป็นไปอย่างมีสมดุล ระบบทุนนิยมจะรวบรวมข่าวสารข้อมูลจากหน่วยผลิตทุกระดับเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อเป็นข้อมูลที่ถูกต้องเพื่อการตัดสินใจที่จะวางแผนการผลิต การลงทุนในอนาคตได้
การวางแผนจากส่วนกลางเป็นความตั้งใจที่จะให้เกิด ความกลมกลืน ความประสานงานระหว่างหน่วยผลิตกับการเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจของตน รัฐบาลกลางจะรวบรวมข้อมูลทางเศรษฐกิจที่ได้มาตรฐาน ไม่ว่าจะเป็นด้านการลงทุน การบริโภค การเคลื่อนไหวของสภาวะตลาด ดัชนีราคาสินค้า รัฐบาลสมารถจะชี้แนะปัญหาต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น พร้อมทั้งแนวทางในการแก้ไขปัญหารเศรษฐกิจ ถ้าการกระทำเช่นนี้ประสบผลสำเร็จถือว่าเป็นส่วนดีของระบบเศษฐกิจที่เกิดการประหยัดต้นทุน ไม่เกิดความซ้ำซ้อน ในแต่ละหน่วยงานอันจะเกิดการไม่ประหยัดทางเศรษฐกิจเกิดขึ้น
การวางแผนจากส่วนกลาง ผสมผสานกับการกระจายอำนาจจากส่วนกลาง
จะเปิดโอกาสให้หน่วยผลิตเข้ามามีบทบาทและอิทธิพลต่อการวางแผนจากส่วนกลาง กระจายความรับผิดชอบไปยังหน่วยงานภูมิภาคหรือองค์กรภูมิภาคด้วยเหตุผลเพื่อสร้างแรงจูงใจให้เกิดขึ้นกับหน่วยผลิต โดยมีโครงสร้างการบริหารดังนี้
การกระจายอำนาจการบริหาร ยุคครุสซอฟ โครงสร้างการปบริหาร..มีจุดมุ่งหมายเพ่อเป็นแรวทางในการสร้างแรงจูงใจ ยอมรับว่า “กำไร” เป็นหน่วยงานบรรทัดฐานที่สำคัญต่อหน่วยผลิต เป็นเครื่องชี้ให้เห็นถึงขีดความสามารถของหน่วยผลิตรัฐพยายามก็จะไม่ส่งเสริมการอุดหนุนให้แก่หน่วยผลิต
แต่ถึงอย่างไรก็ตาม รูปแบบของการกระจายอำนาจการวางแผน ยังคงสงวนให้ “ราคาสินค้า”ถูกกำหนดโดยตรงมาจากผุ้บริหารจากการวางแผนจากส่วนหลาง แต่มีข้อดีตรงที่ว่า ราคาสินค้าที่กำหนดให้นั้นจะใกล้เคียงกับค่าใช้จ่ายในการผลิต ราคาสินค้าจะมีการปรับให้เกิดการสมดุลกับท้องตลอดอยู่เสมอ ส่งเสริมให้มีการเลือการบริโภคแต่ถึงอย่งไร การจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ก็ยังไม่เกิดขึ้นในรูปแบบนี้
แม้นว่าจะมีการวางแผนจากสวนกลางแบบกระจายอำนาจ แต่กลไกราคายังไม่มีโอกาศเข้ามามีบทบาทได้อย่างเต็มที่
ยูโกสลาเวียแม่แบบ “Democratic Socialism”
ยูโกสลาเวียนำกลไกตลาดมาใช้ในระบบเศรษฐกิจ ยูโกสลาเวยเป็นประเทศเล็ก ๆ ที่เคยตกอยู่ในอิทธิพลของกลุ่มคอมมิวนิสต์ ในฐานะประเทศบริวาร โดยมีรัสเซียเป็นหัวหน้ากลุ่ม ภายหลังขัดแย้งกับรัสเซียจึงแยกตัวออกมา
ระบบเศรษฐกิจยูโกสลาเวียมีลักษณะเฉพาะตัว เป็นคอมมิวนิสต์ แบบประชาธิปไตย ได้พยายามต่อสู้ขจัดความขัดแย้งและการครอบงำ ทั้งทางด้านการเมืองและเศรษฐกิจ จากรัสเซีย แม้จะเป็นคอมมิวนิสต์ แต่การดำเนินงานด้านเศรษฐกิจอาศัยลาด และกลไกต่างๆ อยู่
ยูโกสลาเวียมีการดำเนินรูปแบบเศรษฐกิจแบบ Democratic Socialism ยูโกสลาเวียได้พยายามที่จะต่อสู้ ขจัดการขัดแย้งการครอบงำทั้งด้านการเมืองเศรษฐกิจ ในที่สุดยูโกสลาเวียสามารถหลุดพ้นจากรัสเซียโดยสิ้นเชิง อย่างไรก็ตาม ยูโกสลาเวียยังคงไว้ซึ่งความเป็นคอมมิวนิสต์ การดำเนินเศรษฐกิจยูโกสลาเวียแตกต่างไปจากประเทศอเมริกาปละปรเทศอื่น ๆ ในแถบยุโรปตะวันตก ยูโกสลาเวียยังคงรักษาไว้ซึ่งความเป็ฯประเทศคอมมิวนิสต์ ทั้ง ๆ ที่การดำเนินกิจกรรมเศรษฐกิจ จะยังคงอาศัยกลไกต่าง ๆ ในการดำเนินงานทางเศรษฐกิจ
ยูโกสลาเวียก้านการปกครองเป็นรูปแบบคอมมิวนิสต์ แต่ด้านการบริหารด้านเศรษฐกิจเป็นปบบประชาธิปไตย เปิดโอกาสด้านการให้เสรีภาพด้านการผลิตการบริหาร
ยูโกสลาเวียแยกตัวจากรัสเซีย มีความจำเป็นต้องพึ่งตนเองโดยอาศัยความร่วมือทางด้านกรรมกร เพราะฉะนั้นขาดความช่วยเหลือจากรัศเซีย ทั้งทางด้านเทคโนโลยี ด้านทุน โดยอาศัยคนงานเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อที่จะนำเศรษฐกิจให้อยู่รอด ซึ่งเป็นที่มาของการกระจายอำนาจออกจากส่วนกลาง
สาระสำคัญของระบบเศรษฐกิจแบบยูโกสลาเวียถือเป็นระบบเศรษฐกิจแบบประชาธิปไตย แม้รัฐบาลจะเข้ามามีส่วนร่วมคุมแต่รัฐจะเข้ามายุ่งดดยพิจารณาถึงสภาพแวดล้อม ภาวะเศรษฐกิจต่าง ๆ
ระบบเศรษฐกิจของยูโกสลาเวีย เน้นความสำคัญของประสิทธิภาพการผลิตมากเพราะการที่อุตสาหกรรมของยูโกสลาเวียจะสามารถแข่งขันหรือสู้กับตลาดของต่างประเทศอื่นๆ ได้ และให้การผลิตภายในประเทศเพียงพอ
ลักษณะพิเศษของเศรษฐกิจยูโกสลาเวีย
ความคิดที่ขึ้นค่าแรงงานของกรรมกร จัดการโรงงานที่เกิดขึ้นนี้มาจากเหตุผลที่ว่ากรรมกรหรือกลุ่มของกรรมกรย่อมรู้ปัญหาต่าง ๆ ของโรงงานได้ดีหว่ารัฐ กรรมกรในฐานะผู้บริหารจะได้ดูแลความมั่นคง และการครองชีพที่ดีพอให้แก่กรรมกรด้วยกัน ขจัดการเอาเปรียบและถือว่ากรรมกรเป็นคนต่างชั้น
สาเหตุที่ยูโกสลาเวียตีตัวออกห่างจากรัสเซีย เพราะการดำเนินเศรษฐกิจตามแบบรัสเซียก่อให้เกิดปัญหา
ลักษณะพิเศษในระบบเศรษฐกิจยูโกสลาเวียคือ รัฐเป็นเจ้าของหน่วนผลิตทุกหน่วย แต่การจ้างทำงานเป็นของกรรมกรของโรงงาน โดยให้กรรมกรเป็นผู้บริหารโรงงาน โดยที่โรงงานแต่ละแห่ง จะมีสภากรรมกรของโรงงาน ที่ได้รับเลือกตั้งโดยกรรมกรของโรงงานนั้น และดำรงตำแหน่งคราวละ 1 ปี จะทำหน้าที่เลือกคณะผู้บริหารงานเพื่อจะมาทำหน้าที่บริหารงานตามนโยบายที่สภากรรมกรได้วางไว้ และปฏิบัติตามกฎข้อบังคับของรัฐบาลด้วย การปฏิบัติหน้าที่เพิ่มนี้ กรรมกรจะไม่รับเงินเพิ่มแต่อย่างใดคงได้แต่เงนิเดือนตามปกตอก่อนได้รับเลือก
โรงงานแต่ละแห่งจะมีหัวหน้าผู้จัดการ Chief Nanager คนหนึ่ง เพื่อทำหน้าที่บริหารประจำวันต่าง ๆ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยสภาตำบลที่โรงงานนั้นตั้งอยู่ จะมีการแข่งขันตำแหน่งผู้จัดการจากบุคคลทั่วไป ไม่จำเป็นต้องเป็นคนงานในโรงงานนั้น จึงทำให้ผู้จัดการไม่อยู่ในบังคับของสภากรรมกรโดยเด็ดขาด แต่มีความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกัน
ระบบราคาในยูโกสลาเวีย ไม่สามรถจะดำเนินตามกลไกตลาดได้ และยังคงเป็นปัญหาในยูโกสลาเวีย ทางด้านการควบคุมทุน และการตัดสินใจ ยังคงเป็นหน้าที่ของรัฐบาลอยู่มิได้ผ่าน “ตลาดอัตราดอกเบี้ย”
ระบบสังคมประชาธิปไตยแบบอังกฤษ
รูปแบบเศรษฐกิจมีการควบคุมการดำเนินเศรษฐกิจการคลังรวมอยู่ด้วยกันภายใต้ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมประชาธิปไตย จะยึดถือหลักกลไกทางการเมือง โดยอาศัยกฎหมายผ่านสภาเป็นองค์กรที่จะให้มีการรับรองประเทศ เปลี่ยนไปสู่ประเทศสังคมนิยม ประเทศแม่แบบคือ อังกฤษ
ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 จะเกิดขึ้น ประเทศอังกฤษมีเศรษฐกิจดี หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 อังกฤษประสบปัญหาการเมืองและเศรษฐกิจ ทำให้อังกฤษต้องสูญเสียความเป็นผุ้นำทางเศรษฐกิจ ประมาณการส่งสินค้าไปขายยังตลาดต่าประเทศลดลง ประสบปัญหาคู่แข่งขันรายใหม่ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา ประเทศลูกค้าผลิตสินค้าทดแทนการนำเข้า ..อังกฤษได้รับความเสียหายจากสงครามมาก รายจ่ายจำนวนมากมายมหาศาลที่ใช้ทำสงคราม การลงทุนต่างประเทศหยุดชะงัก รัฐบาลต้องเข้าแก้ไขสภาวะเศรษฐกิจทรุดโทรม โดยใช้ “ระบบเสรีนิยม”ระบบนี้ส่งเสริมการค้าเสรี เอกชนดำเนินการค้าได้เต็มที่รัฐบาลใช้มารตรการปกป้องอุตสาหกรรมในประเทศ โดยเก็บภาษีขาเข้าสินค้าฟุ่มเฟือยในอัตราที่สูง
ในการปฏิวัติอุตสาหกรรม มีการปรับปรุงวิทยาการที่ทันสมัย นำเอาเครื่งอจักรมาใช้ในการผลิตแทนแรงงาน ช่วงปฏิวัติอุตสาหกรรม คาร์ล มาร์กซ์ได้แนวความคิดจากอังกฤษ นักเศรษฐศาสตร์ของอังกฤษคือ ได้เห็นว่าการที่เอกชนยังมีกรรมสิทธิในทรัพย์สินต่าง ๆ นำไปสู่ความเหลื่อมล้ำในสังคมเกิดขึ้น ใครมีกรรมสิทธิในทรัพย์สินมากบุคคลนั้นจะมีความเหลื่อมล้ำในสังคมมากขึ้น นักเศรษฐศาสตร์ชาวสวีเดน ได้โจมตีการเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันระวห่างเอกชน เป็นการนำความชั่วร้ายเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ เกิดการขูดรีด เกิดการเอารัดเอาเปรียบ สร้างอำนาจการผูกขาด ซึ่งเป็นลักษณะที่ไม่พึงปรารถนาที่จะให้เกิดในระบบ การขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างเกิดขึ้นหากกรรมกรจะมารวมตัวกันเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจ เพื่อขจัดการเอรัดเอาเปรียบ การรวมตัวของกรรมกรครั้งนี้เป็นที่มาของพรรคกรรมกรในเวลาต่อมา
กรรมกรแต่ละกลุ่มจะรวมตัวกันเป็น เทรด ยูเนียนขนาดเล็กๆ รวมกลุ่มกันเป็นพรรคขนาดใหญ๋เกิดขึ้น นับตั้งแต่ปี 1924 เป็นต้นไป พรรคแรงงานได้รับการเลื่อกตั้งเข้าบริหารประเทศเป็นครั้งแรก ตามประวัติศาสตร์การเมืองของอังกฤษ เมื่อใดที่พรรคกรรมกรได้มีโอกาสเป็นรัฐบาล เมื่อนั้นจะมีแนวโน้มที่จะโอนกิจการขั้นพื้นฐานเข้าเป็นของรัฐ
ระบบเศรษฐกิจของอังกฤษเป็นแบบสังคมนิยมประชาธิปไตย แม้ว่าจะมีการโอนกิจการต่าง ๆ เข้าเป็นของรัฐแต่ได้ใช่วิธีเผด็จการ แต่อาศัญวิธีการทางด้านประชาธิปไตย…
ระบบทุนนิยม
โครงสร้างระบบทุนนิยมมีการพัฒนาโดยได้รับแนวความคิด นักเศรษฐศาสตร์ตามลำดับดังนี้ คือ อดัมสมิธ คลาสสิค และเคนส์
อดัม สมิธ เป็นผู้มีบทบาทในการวางโครงสร้างแบบทุนนิยม รุปแบบระบบทุนนิยม บรรดาปัจจัยการผลิตทั้งหมดจะตกอยู่กับกรรมสิทธิส่วนบุคคล เน้นถึงความสำคัญของการประกอบการวิสาหกิจแบบเสรี โดยที่รัฐบาลมไม่ต้องเข้าไปยุ่งเกี่ยว
แนวความคิดการดำเนินกลไกเศรษฐกิจของคลาสสิค จะเป็นไปโดยกลไกอัตโนมัติ ไม่ว่าระบบเศรษฐกิจจะเปลี่ยนแปลงไปในรูปใด ราคาจะเป็นตัวแข้ปรับไม่ว่าจะเป็นด้านอัตราดอกเบี้ย ค่าเช่า ค่าจ้าง การมีงานทำ ขณะใดขณะหนึ่ง ที่ระบบเศรษฐกิจการว่างงานเกิดขึ้นระดับค่าจ้างก็จะลดลงจนกว่าเข้าจุดสมดุล การจ้างงานจะเพิ่มขึ้นแนวความคิดของคลาสสิค ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศสหรัฐได้นำแนวความคิดแบบนี้มาใช้ในกลไกเศรษฐกิจตรบเท่าหลักสงครามโลกครั้งที่ 2 สภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก แนวความคิดของเคนส์ มามีอิทธิพลต่อการแก้ไขสภาวะเศรษฐกิจตกตำได้สำเร็จ
เคนส์ ไม่เห็นด้วยกับแนวความคิดของคลาสสิค การปรับตัวของอัตราค่าจ้าง โดยอาศัยกลไกราคา ไม่ประสบผลสำเร็จ ยังไม่สามารถในการแก้ไขสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลกในปี 1932 ปรากฏว่าการใช้มาตรการปรับตัวดดยอัตโนมัติ และกลไกราคา ไม่ช่วยแขสภาวะการว่างงานมีจำนวนมากในระยะหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้เลย รัฐบาลจำเป็นต้องเข้าแทรกแซง เคนส์ ได้เสนอให้นำนโยบายการเงิน และนธยบายการคลัง มาใช้ ในการควบคุมอัตราดอกเบี้ย เป็นการปิจารณาด้านเงินเฟ้อ การว่างงานซึ่งจัดเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นใหม่ ในระยะเริ่มแรกมีการคัดค้านเกิดขั้น เคนส์ แก้ไขเศรษฐกิจทั้งระบบ กล่าวคือ มองในแง่มหภาค ซึ่งในระยะต่อมากลาเป็นที่ยอมรับเมื่อสหรัฐอเมริกามีบทบาทด้านอำนาจในทางเศรษฐกิจแทนอังกฤษ
ข้อดีของระบบทุนนิยม
- สามารถแก้ไขสภาวะเศรษฐกิจได้อย่างรวดเร็ว จัดเป็นระบบเศรษฐกิจที่มีความยือหยุ่นดีกว่าบบเศรษฐกิจแบบอื่น
- มาตรฐานการครองชีพ ระบบทุนนิยมตั้งความหวังไว้ว่าจะยกระดับมารตรฐานการครองชีพของประชาชนให้ดีขึ้นพร้อม ๆ กับการเพื่อของประชากร
- พลังในทางประกอบการ ความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสภาวะของสังคมที่เปลี่ยนไปเรื่อยๆ ได้ดีมากเพียงไร ขึ้นอยู่กับความสามารถของตัวผุ้ประกอบการ ข้อนี้ถือเป็นจุดเด่นของระบบทุนนิยม
- ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ระบบทุนนิยมจะมีสถาบันต่าง ๆ ที่จะส่งเสริมให้บุคคลมีความต้องการที่จะค้นพบวิธีการต่างๆ เพื่อจะลดต้นทุนการผลิตซึ่งเป็นแรงผลักดันให้เกิดความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี ซึ่งมีผลต่อการก้าวหน้าทางอุตสาหกรรม
- ส่งเสริมโอกาสของแต่ละบุคคล จุดเด่นระบบทุนนิยมเน้น ภายใต้ระบบทุนนิยม ไม่ว่าจะเป็นบุคคลเหรือบริษัทก็ตามจะอาศัยกำไรเป็นแรงจูงใจในการผลิต ตลอดจนแสวงหามาตรฐานการครองชีพที่สูงสุด สนับสนุนในภายใต้ระบบมีการเสียง โดยมีกำไรสูงสุดเป็นเป้าหมายอันสำคัญ
ข้อบกพร่องระบบทุนนิยม
- ความไม่เท่าเทียมการกระจายรายได้ สาเหตุการนำไปสู่ความไม่เท่าเทียม ซึ่งมีหลายสาเหตุด้วยกันอาทิ ชนิดของปัจจัยการผลิตสามารถเกิดมูลค่าเพิ่มได้มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับความต้องการของตลาดในปัจจุบัน ความสามารถของแรงงาน สถาบันทรัพย์สินส่วนบุคคล การสืบทอดมรดก เป็นต้น ซึ่งนำมาสู่ผลกระทบอันเกิดจากความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจ จะกอ่ให้เกิด โอกาสในการศึกษาที่ไม่เท่าเทียมกัน,สถาบันพื้นฐานทางเศรษฐกิจในระบบทุนนิยม ไม่อาจจะช่วยให้มีสวัสดิการสูงขึ้นได้,คุณต่าของชีวิตกับคุณค่าของเงิน ควาสำเร็จของธุรกิจเอกชนในระบบทุนนิยม วัดด้วยผลกำไรที่ได้รับ ราคาสินค้า ต้นทุนการผลิต เหล่านี้ล้วนแต่เป็นเรื่องเงินตราล้วนแต่มองข้ามสวัสดิการมนุษย์จะได้รับ
- นำไปสู่การผูกขาด ระยะเริ่มแรกจะมีการผลิตในรูปแบบของการแข่งขัน ทั้งผู้ซื้อและผู้ขายไม่มีบทบาทในการกำหนดราคา กลไกราคาจะเป็นผู้กำหนดราคาสินค้า แต่ระยะหลังต่อมาผู้ผลิตรายใหญ่จะพยายามใช้วิถีทางของการได้เปรียบเชิงเศรษฐกิจ เข้าช่วงชิงการผลิตอาจจะมาใน สภาพการผูกขาดราคาสินค้าที่กำหนด จะมีราคาสูงกว่าระบบราคาในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ การผูกขาดย่อมก่อให้เกิดการแจกจ่ายทรัพยากรการผลิตแบบไม่มีประสิทธิภาพอย่างสูงสุด เพราะราคาต่อหน่วยสุดท้ายที่ผู้บริโภคต้องการซื้อสินค้า จะสูงมากกว่าต้นทุนที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากมุ่งแสวงหากำไรสูงสุดจากการผลิต กำไรเช่นนี้มิได้เกิดจากประสิทธิภาพในการผลิต แต่เกิดจากสภาพการผูกขาด
นับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา มีการแข่งขันด้านเศรษฐกิจกันมากโดยเฉพาะรูปแบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมาสเซ๊ยเร่มเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในโลก ในปี 1930 และหลังจากนั้น 20 ปีจึงเกิดกลุ่มประเทศบริวารเกิดตามมา
การวิเคราะห์พื้นฐานรูปแบบของระบบเศรษฐกิจ ต้องทราบปัจจัย คือ ชาตินิยม สังคม,ความสัมพันธ์กับวิชาแขนงอื่นพอควร,ปรัชญา,โครงสร้างระบบเศรษฐกิจ
หน้าที่ของกลไกทางเศรษฐกิจ คือ ตัดสินว่าใคร หน่วยใด จะเป็นผุ้มีอำนาจตัดสินใจด้านเศรษฐกิจ เกี่ยวข้องกับทางเศรษฐกิจ การบริโภค การผลิต รวมั่งตัดสินจในรูปใด โดยมีเป้าหมายวัตถุประสงค์เป็ฯสำคัญ โดยเป้าหมายคือ
.. จะทำอย่างไรจึงจะใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพ
..ก่อให้เกิดการกระจายรายได้ที่เป็ฯธรรมให้เท่าเทียมกัน
.. ความเจริญทางด้านเศรษฐกิจเป็นที่ตั้ง
สังคมนิยม
สังคมนิยม หมายถึง ชุมชนทางเศรษฐกิจที่ยอมรับกรรมสิทธิและปัจจัยทางเศรษฐกิจโดยเน้นหนัก หรือการผลิตอุตสาหกรรมในสาขาเศรษฐกิจที่สำคัญเป็นของส่วนรวม การดำเนินการมุ่งประโยชน์ส่วนรวม ในแง่ว่าเพื่อให้รายได้เท่าเทียมกัน และในขณะเดียวกันระบบก็มิได้ทำลายเสรีภาพของบุคคลในการบริโภค การอาชีพแบ่งเป็นสังคมนิยมภายใต้ระบบเศรษฐกิจมีการวางแยปส่วนกลาง และสังคมนิยมประชาธิปไตย
ระบบทุนนิยมไม่สามารถสร้างอุปสงค์รวมให้ได้เพียงพอ แล้วในขณะเดียวกัน ไม่สามารถตอบสนองได้เสมอไป และพบว่าบางครั้งอุปสงค์รวมมากกว่าอุปทาน ผลจะทำให้ระดับราคาเพิ่มสูงขึ้น ทำให้เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำกลไกของราคาไม่สามารถทำงานได้เต็มที่ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ระบบนายทุนไม่สามารถแห้ไขได้เพราะฉะนั้น รัฐบาลจึงต้องเข้ามาควบคุมราคา การผลิต กำหนดอุปทานรวม และค้านว่าการควบคุมราคา การผลิต กำหนดอุปทานรวม และค้าวาการควบคุมราคา โดยอาศัยนโยบายการเงินและการคลัง ไม่สามารถแก้ไขอะไรได้ จึงต้องมีการปฏิรูปพื้นฐานทางเศรษฐกิจก่อน
ในระบบนายทุนทำให้ฐานะทางเศรษฐกิจ เกิดความไม่เท่าเทียมทั้งทางการศึกษาและการเงิน เน้นบทบาทเอกชน ซึ่งระบบสังคมนิยมโจมตีว่าให้เสรีภาพแก่เอกชนมากเกินไปการแข่งขัน การโฆษณา เกินความจำเป็นและไม่เหมาะสม ซึ่งการทำเช่นนี้จะทำให้ระบบเศรษฐกิจเน้นหนักด้านสินค้าอุปโภคบริโภค มากว่าสินค้าทุนซึ่งมีผลสะท้อนไปถึง เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล สวนสาธารณะ ทางแก้ไขคือ แก้ไขระบบของสังคมเสียใหม่
การควบคุมเศรษฐกิจในระบบสังคมนิยมทำได้ 2 ทางคือ การควบคุมทางด้านราคาและการควบคุมทางด้านปริมาณการผลิตแต่ละชนิด โดยรัฐเข้าควบคุมการผลิตทั้งหมด โดยมีหน่วยงานวางแผนจากส่วนกลาง เข้าทำการควบคุม
การวางแผนจากส่วนกลาง
เร่มจะเด่นชัดเมื่อประเทศเมื่อรัสเซียเปลี่ยนรูปแบบการปกครองเป็นแบบสังคมนิยมแบบบังคับ ส่วนกลางจะเป็นผู้จัดสรรปัจจัยการผลิตให้เกิดความสมดุลกัน
ปัจจุบันประเทศที่มีการวางแผนจากสวนกลาง ได้กลายเป็นหลักและวิธีปฏิบัติ ได้แก่ ประเทศเนเธอร์แลนด์ สแกนดิเนเวย ฝรั่งเศส จุดมุ่งหมายของการวางแผนจากส่สวนกลางคือ มุ่งพัฒนาอัตราการขยายตัวและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ มุ่งให้ระบบเศรษฐกิจมีการจ้างงานเต็มที่ การจะบรรลชุผลตามแผนเศรษฐกิจส่วนกลางที่ได้วางไดว้ขึ้นอยู่กับชนิดของแผนพัฒนาเศรษฐกิจที่ได้วางไว้ถายใต้การปกครองรูปแบบสังคมนิยม สังคมนิยมประชาธิปไตย ถ้ารูปแบบเศรษฐกิจเป็นแบบทุนนิยม แผนที่ออกมาจะเป็นในรูปแบบแผนของการชี้แนะ มากกว่าสร้างแบบขึ้นมามิได้บังคับต้องเป็นไปตามแผนเพียงแต่เป็นเครื่องมือในการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ต้องการให้การเจริญเติบโตเศรษฐกิจเป็นไปอย่างมีสมดุล ระบบทุนนิยมจะรวบรวมข่าวสารข้อมูลจากหน่วยผลิตทุกระดับเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อเป็นข้อมูลที่ถูกต้องเพื่อการตัดสินใจที่จะวางแผนการผลิต การลงทุนในอนาคตได้
การวางแผนจากส่วนกลางเป็นความตั้งใจที่จะให้เกิด ความกลมกลืน ความประสานงานระหว่างหน่วยผลิตกับการเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจของตน รัฐบาลกลางจะรวบรวมข้อมูลทางเศรษฐกิจที่ได้มาตรฐาน ไม่ว่าจะเป็นด้านการลงทุน การบริโภค การเคลื่อนไหวของสภาวะตลาด ดัชนีราคาสินค้า รัฐบาลสมารถจะชี้แนะปัญหาต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น พร้อมทั้งแนวทางในการแก้ไขปัญหารเศรษฐกิจ ถ้าการกระทำเช่นนี้ประสบผลสำเร็จถือว่าเป็นส่วนดีของระบบเศษฐกิจที่เกิดการประหยัดต้นทุน ไม่เกิดความซ้ำซ้อน ในแต่ละหน่วยงานอันจะเกิดการไม่ประหยัดทางเศรษฐกิจเกิดขึ้น
การวางแผนจากส่วนกลาง ผสมผสานกับการกระจายอำนาจจากส่วนกลาง
จะเปิดโอกาสให้หน่วยผลิตเข้ามามีบทบาทและอิทธิพลต่อการวางแผนจากส่วนกลาง กระจายความรับผิดชอบไปยังหน่วยงานภูมิภาคหรือองค์กรภูมิภาคด้วยเหตุผลเพื่อสร้างแรงจูงใจให้เกิดขึ้นกับหน่วยผลิต โดยมีโครงสร้างการบริหารดังนี้
การกระจายอำนาจการบริหาร ยุคครุสซอฟ โครงสร้างการปบริหาร..มีจุดมุ่งหมายเพ่อเป็นแรวทางในการสร้างแรงจูงใจ ยอมรับว่า “กำไร” เป็นหน่วยงานบรรทัดฐานที่สำคัญต่อหน่วยผลิต เป็นเครื่องชี้ให้เห็นถึงขีดความสามารถของหน่วยผลิตรัฐพยายามก็จะไม่ส่งเสริมการอุดหนุนให้แก่หน่วยผลิต
แต่ถึงอย่างไรก็ตาม รูปแบบของการกระจายอำนาจการวางแผน ยังคงสงวนให้ “ราคาสินค้า”ถูกกำหนดโดยตรงมาจากผุ้บริหารจากการวางแผนจากส่วนหลาง แต่มีข้อดีตรงที่ว่า ราคาสินค้าที่กำหนดให้นั้นจะใกล้เคียงกับค่าใช้จ่ายในการผลิต ราคาสินค้าจะมีการปรับให้เกิดการสมดุลกับท้องตลอดอยู่เสมอ ส่งเสริมให้มีการเลือการบริโภคแต่ถึงอย่งไร การจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ก็ยังไม่เกิดขึ้นในรูปแบบนี้
แม้นว่าจะมีการวางแผนจากสวนกลางแบบกระจายอำนาจ แต่กลไกราคายังไม่มีโอกาศเข้ามามีบทบาทได้อย่างเต็มที่
ยูโกสลาเวียแม่แบบ “Democratic Socialism”
ยูโกสลาเวียนำกลไกตลาดมาใช้ในระบบเศรษฐกิจ ยูโกสลาเวยเป็นประเทศเล็ก ๆ ที่เคยตกอยู่ในอิทธิพลของกลุ่มคอมมิวนิสต์ ในฐานะประเทศบริวาร โดยมีรัสเซียเป็นหัวหน้ากลุ่ม ภายหลังขัดแย้งกับรัสเซียจึงแยกตัวออกมา
ระบบเศรษฐกิจยูโกสลาเวียมีลักษณะเฉพาะตัว เป็นคอมมิวนิสต์ แบบประชาธิปไตย ได้พยายามต่อสู้ขจัดความขัดแย้งและการครอบงำ ทั้งทางด้านการเมืองและเศรษฐกิจ จากรัสเซีย แม้จะเป็นคอมมิวนิสต์ แต่การดำเนินงานด้านเศรษฐกิจอาศัยลาด และกลไกต่างๆ อยู่
ยูโกสลาเวียมีการดำเนินรูปแบบเศรษฐกิจแบบ Democratic Socialism ยูโกสลาเวียได้พยายามที่จะต่อสู้ ขจัดการขัดแย้งการครอบงำทั้งด้านการเมืองเศรษฐกิจ ในที่สุดยูโกสลาเวียสามารถหลุดพ้นจากรัสเซียโดยสิ้นเชิง อย่างไรก็ตาม ยูโกสลาเวียยังคงไว้ซึ่งความเป็นคอมมิวนิสต์ การดำเนินเศรษฐกิจยูโกสลาเวียแตกต่างไปจากประเทศอเมริกาปละปรเทศอื่น ๆ ในแถบยุโรปตะวันตก ยูโกสลาเวียยังคงรักษาไว้ซึ่งความเป็ฯประเทศคอมมิวนิสต์ ทั้ง ๆ ที่การดำเนินกิจกรรมเศรษฐกิจ จะยังคงอาศัยกลไกต่าง ๆ ในการดำเนินงานทางเศรษฐกิจ
ยูโกสลาเวียก้านการปกครองเป็นรูปแบบคอมมิวนิสต์ แต่ด้านการบริหารด้านเศรษฐกิจเป็นปบบประชาธิปไตย เปิดโอกาสด้านการให้เสรีภาพด้านการผลิตการบริหาร
ยูโกสลาเวียแยกตัวจากรัสเซีย มีความจำเป็นต้องพึ่งตนเองโดยอาศัยความร่วมือทางด้านกรรมกร เพราะฉะนั้นขาดความช่วยเหลือจากรัศเซีย ทั้งทางด้านเทคโนโลยี ด้านทุน โดยอาศัยคนงานเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อที่จะนำเศรษฐกิจให้อยู่รอด ซึ่งเป็นที่มาของการกระจายอำนาจออกจากส่วนกลาง
สาระสำคัญของระบบเศรษฐกิจแบบยูโกสลาเวียถือเป็นระบบเศรษฐกิจแบบประชาธิปไตย แม้รัฐบาลจะเข้ามามีส่วนร่วมคุมแต่รัฐจะเข้ามายุ่งดดยพิจารณาถึงสภาพแวดล้อม ภาวะเศรษฐกิจต่าง ๆ
ระบบเศรษฐกิจของยูโกสลาเวีย เน้นความสำคัญของประสิทธิภาพการผลิตมากเพราะการที่อุตสาหกรรมของยูโกสลาเวียจะสามารถแข่งขันหรือสู้กับตลาดของต่างประเทศอื่นๆ ได้ และให้การผลิตภายในประเทศเพียงพอ
ลักษณะพิเศษของเศรษฐกิจยูโกสลาเวีย
ความคิดที่ขึ้นค่าแรงงานของกรรมกร จัดการโรงงานที่เกิดขึ้นนี้มาจากเหตุผลที่ว่ากรรมกรหรือกลุ่มของกรรมกรย่อมรู้ปัญหาต่าง ๆ ของโรงงานได้ดีหว่ารัฐ กรรมกรในฐานะผู้บริหารจะได้ดูแลความมั่นคง และการครองชีพที่ดีพอให้แก่กรรมกรด้วยกัน ขจัดการเอาเปรียบและถือว่ากรรมกรเป็นคนต่างชั้น
สาเหตุที่ยูโกสลาเวียตีตัวออกห่างจากรัสเซีย เพราะการดำเนินเศรษฐกิจตามแบบรัสเซียก่อให้เกิดปัญหา
ลักษณะพิเศษในระบบเศรษฐกิจยูโกสลาเวียคือ รัฐเป็นเจ้าของหน่วนผลิตทุกหน่วย แต่การจ้างทำงานเป็นของกรรมกรของโรงงาน โดยให้กรรมกรเป็นผู้บริหารโรงงาน โดยที่โรงงานแต่ละแห่ง จะมีสภากรรมกรของโรงงาน ที่ได้รับเลือกตั้งโดยกรรมกรของโรงงานนั้น และดำรงตำแหน่งคราวละ 1 ปี จะทำหน้าที่เลือกคณะผู้บริหารงานเพื่อจะมาทำหน้าที่บริหารงานตามนโยบายที่สภากรรมกรได้วางไว้ และปฏิบัติตามกฎข้อบังคับของรัฐบาลด้วย การปฏิบัติหน้าที่เพิ่มนี้ กรรมกรจะไม่รับเงินเพิ่มแต่อย่างใดคงได้แต่เงนิเดือนตามปกตอก่อนได้รับเลือก
โรงงานแต่ละแห่งจะมีหัวหน้าผู้จัดการ Chief Nanager คนหนึ่ง เพื่อทำหน้าที่บริหารประจำวันต่าง ๆ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยสภาตำบลที่โรงงานนั้นตั้งอยู่ จะมีการแข่งขันตำแหน่งผู้จัดการจากบุคคลทั่วไป ไม่จำเป็นต้องเป็นคนงานในโรงงานนั้น จึงทำให้ผู้จัดการไม่อยู่ในบังคับของสภากรรมกรโดยเด็ดขาด แต่มีความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกัน
ระบบราคาในยูโกสลาเวีย ไม่สามรถจะดำเนินตามกลไกตลาดได้ และยังคงเป็นปัญหาในยูโกสลาเวีย ทางด้านการควบคุมทุน และการตัดสินใจ ยังคงเป็นหน้าที่ของรัฐบาลอยู่มิได้ผ่าน “ตลาดอัตราดอกเบี้ย”
ระบบสังคมประชาธิปไตยแบบอังกฤษ
รูปแบบเศรษฐกิจมีการควบคุมการดำเนินเศรษฐกิจการคลังรวมอยู่ด้วยกันภายใต้ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมประชาธิปไตย จะยึดถือหลักกลไกทางการเมือง โดยอาศัยกฎหมายผ่านสภาเป็นองค์กรที่จะให้มีการรับรองประเทศ เปลี่ยนไปสู่ประเทศสังคมนิยม ประเทศแม่แบบคือ อังกฤษ
ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 จะเกิดขึ้น ประเทศอังกฤษมีเศรษฐกิจดี หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 อังกฤษประสบปัญหาการเมืองและเศรษฐกิจ ทำให้อังกฤษต้องสูญเสียความเป็นผุ้นำทางเศรษฐกิจ ประมาณการส่งสินค้าไปขายยังตลาดต่าประเทศลดลง ประสบปัญหาคู่แข่งขันรายใหม่ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา ประเทศลูกค้าผลิตสินค้าทดแทนการนำเข้า ..อังกฤษได้รับความเสียหายจากสงครามมาก รายจ่ายจำนวนมากมายมหาศาลที่ใช้ทำสงคราม การลงทุนต่างประเทศหยุดชะงัก รัฐบาลต้องเข้าแก้ไขสภาวะเศรษฐกิจทรุดโทรม โดยใช้ “ระบบเสรีนิยม”ระบบนี้ส่งเสริมการค้าเสรี เอกชนดำเนินการค้าได้เต็มที่รัฐบาลใช้มารตรการปกป้องอุตสาหกรรมในประเทศ โดยเก็บภาษีขาเข้าสินค้าฟุ่มเฟือยในอัตราที่สูง
ในการปฏิวัติอุตสาหกรรม มีการปรับปรุงวิทยาการที่ทันสมัย นำเอาเครื่งอจักรมาใช้ในการผลิตแทนแรงงาน ช่วงปฏิวัติอุตสาหกรรม คาร์ล มาร์กซ์ได้แนวความคิดจากอังกฤษ นักเศรษฐศาสตร์ของอังกฤษคือ ได้เห็นว่าการที่เอกชนยังมีกรรมสิทธิในทรัพย์สินต่าง ๆ นำไปสู่ความเหลื่อมล้ำในสังคมเกิดขึ้น ใครมีกรรมสิทธิในทรัพย์สินมากบุคคลนั้นจะมีความเหลื่อมล้ำในสังคมมากขึ้น นักเศรษฐศาสตร์ชาวสวีเดน ได้โจมตีการเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันระวห่างเอกชน เป็นการนำความชั่วร้ายเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ เกิดการขูดรีด เกิดการเอารัดเอาเปรียบ สร้างอำนาจการผูกขาด ซึ่งเป็นลักษณะที่ไม่พึงปรารถนาที่จะให้เกิดในระบบ การขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างเกิดขึ้นหากกรรมกรจะมารวมตัวกันเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจ เพื่อขจัดการเอรัดเอาเปรียบ การรวมตัวของกรรมกรครั้งนี้เป็นที่มาของพรรคกรรมกรในเวลาต่อมา
กรรมกรแต่ละกลุ่มจะรวมตัวกันเป็น เทรด ยูเนียนขนาดเล็กๆ รวมกลุ่มกันเป็นพรรคขนาดใหญ๋เกิดขึ้น นับตั้งแต่ปี 1924 เป็นต้นไป พรรคแรงงานได้รับการเลื่อกตั้งเข้าบริหารประเทศเป็นครั้งแรก ตามประวัติศาสตร์การเมืองของอังกฤษ เมื่อใดที่พรรคกรรมกรได้มีโอกาสเป็นรัฐบาล เมื่อนั้นจะมีแนวโน้มที่จะโอนกิจการขั้นพื้นฐานเข้าเป็นของรัฐ
ระบบเศรษฐกิจของอังกฤษเป็นแบบสังคมนิยมประชาธิปไตย แม้ว่าจะมีการโอนกิจการต่าง ๆ เข้าเป็นของรัฐแต่ได้ใช่วิธีเผด็จการ แต่อาศัญวิธีการทางด้านประชาธิปไตย…
ระบบทุนนิยม
โครงสร้างระบบทุนนิยมมีการพัฒนาโดยได้รับแนวความคิด นักเศรษฐศาสตร์ตามลำดับดังนี้ คือ อดัมสมิธ คลาสสิค และเคนส์
อดัม สมิธ เป็นผู้มีบทบาทในการวางโครงสร้างแบบทุนนิยม รุปแบบระบบทุนนิยม บรรดาปัจจัยการผลิตทั้งหมดจะตกอยู่กับกรรมสิทธิส่วนบุคคล เน้นถึงความสำคัญของการประกอบการวิสาหกิจแบบเสรี โดยที่รัฐบาลมไม่ต้องเข้าไปยุ่งเกี่ยว
แนวความคิดการดำเนินกลไกเศรษฐกิจของคลาสสิค จะเป็นไปโดยกลไกอัตโนมัติ ไม่ว่าระบบเศรษฐกิจจะเปลี่ยนแปลงไปในรูปใด ราคาจะเป็นตัวแข้ปรับไม่ว่าจะเป็นด้านอัตราดอกเบี้ย ค่าเช่า ค่าจ้าง การมีงานทำ ขณะใดขณะหนึ่ง ที่ระบบเศรษฐกิจการว่างงานเกิดขึ้นระดับค่าจ้างก็จะลดลงจนกว่าเข้าจุดสมดุล การจ้างงานจะเพิ่มขึ้นแนวความคิดของคลาสสิค ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศสหรัฐได้นำแนวความคิดแบบนี้มาใช้ในกลไกเศรษฐกิจตรบเท่าหลักสงครามโลกครั้งที่ 2 สภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก แนวความคิดของเคนส์ มามีอิทธิพลต่อการแก้ไขสภาวะเศรษฐกิจตกตำได้สำเร็จ
เคนส์ ไม่เห็นด้วยกับแนวความคิดของคลาสสิค การปรับตัวของอัตราค่าจ้าง โดยอาศัยกลไกราคา ไม่ประสบผลสำเร็จ ยังไม่สามารถในการแก้ไขสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลกในปี 1932 ปรากฏว่าการใช้มาตรการปรับตัวดดยอัตโนมัติ และกลไกราคา ไม่ช่วยแขสภาวะการว่างงานมีจำนวนมากในระยะหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้เลย รัฐบาลจำเป็นต้องเข้าแทรกแซง เคนส์ ได้เสนอให้นำนโยบายการเงิน และนธยบายการคลัง มาใช้ ในการควบคุมอัตราดอกเบี้ย เป็นการปิจารณาด้านเงินเฟ้อ การว่างงานซึ่งจัดเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นใหม่ ในระยะเริ่มแรกมีการคัดค้านเกิดขั้น เคนส์ แก้ไขเศรษฐกิจทั้งระบบ กล่าวคือ มองในแง่มหภาค ซึ่งในระยะต่อมากลาเป็นที่ยอมรับเมื่อสหรัฐอเมริกามีบทบาทด้านอำนาจในทางเศรษฐกิจแทนอังกฤษ
ข้อดีของระบบทุนนิยม
- สามารถแก้ไขสภาวะเศรษฐกิจได้อย่างรวดเร็ว จัดเป็นระบบเศรษฐกิจที่มีความยือหยุ่นดีกว่าบบเศรษฐกิจแบบอื่น
- มาตรฐานการครองชีพ ระบบทุนนิยมตั้งความหวังไว้ว่าจะยกระดับมารตรฐานการครองชีพของประชาชนให้ดีขึ้นพร้อม ๆ กับการเพื่อของประชากร
- พลังในทางประกอบการ ความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสภาวะของสังคมที่เปลี่ยนไปเรื่อยๆ ได้ดีมากเพียงไร ขึ้นอยู่กับความสามารถของตัวผุ้ประกอบการ ข้อนี้ถือเป็นจุดเด่นของระบบทุนนิยม
- ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ระบบทุนนิยมจะมีสถาบันต่าง ๆ ที่จะส่งเสริมให้บุคคลมีความต้องการที่จะค้นพบวิธีการต่างๆ เพื่อจะลดต้นทุนการผลิตซึ่งเป็นแรงผลักดันให้เกิดความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี ซึ่งมีผลต่อการก้าวหน้าทางอุตสาหกรรม
- ส่งเสริมโอกาสของแต่ละบุคคล จุดเด่นระบบทุนนิยมเน้น ภายใต้ระบบทุนนิยม ไม่ว่าจะเป็นบุคคลเหรือบริษัทก็ตามจะอาศัยกำไรเป็นแรงจูงใจในการผลิต ตลอดจนแสวงหามาตรฐานการครองชีพที่สูงสุด สนับสนุนในภายใต้ระบบมีการเสียง โดยมีกำไรสูงสุดเป็นเป้าหมายอันสำคัญ
ข้อบกพร่องระบบทุนนิยม
- ความไม่เท่าเทียมการกระจายรายได้ สาเหตุการนำไปสู่ความไม่เท่าเทียม ซึ่งมีหลายสาเหตุด้วยกันอาทิ ชนิดของปัจจัยการผลิตสามารถเกิดมูลค่าเพิ่มได้มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับความต้องการของตลาดในปัจจุบัน ความสามารถของแรงงาน สถาบันทรัพย์สินส่วนบุคคล การสืบทอดมรดก เป็นต้น ซึ่งนำมาสู่ผลกระทบอันเกิดจากความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจ จะกอ่ให้เกิด โอกาสในการศึกษาที่ไม่เท่าเทียมกัน,สถาบันพื้นฐานทางเศรษฐกิจในระบบทุนนิยม ไม่อาจจะช่วยให้มีสวัสดิการสูงขึ้นได้,คุณต่าของชีวิตกับคุณค่าของเงิน ควาสำเร็จของธุรกิจเอกชนในระบบทุนนิยม วัดด้วยผลกำไรที่ได้รับ ราคาสินค้า ต้นทุนการผลิต เหล่านี้ล้วนแต่เป็นเรื่องเงินตราล้วนแต่มองข้ามสวัสดิการมนุษย์จะได้รับ
- นำไปสู่การผูกขาด ระยะเริ่มแรกจะมีการผลิตในรูปแบบของการแข่งขัน ทั้งผู้ซื้อและผู้ขายไม่มีบทบาทในการกำหนดราคา กลไกราคาจะเป็นผู้กำหนดราคาสินค้า แต่ระยะหลังต่อมาผู้ผลิตรายใหญ่จะพยายามใช้วิถีทางของการได้เปรียบเชิงเศรษฐกิจ เข้าช่วงชิงการผลิตอาจจะมาใน สภาพการผูกขาดราคาสินค้าที่กำหนด จะมีราคาสูงกว่าระบบราคาในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ การผูกขาดย่อมก่อให้เกิดการแจกจ่ายทรัพยากรการผลิตแบบไม่มีประสิทธิภาพอย่างสูงสุด เพราะราคาต่อหน่วยสุดท้ายที่ผู้บริโภคต้องการซื้อสินค้า จะสูงมากกว่าต้นทุนที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากมุ่งแสวงหากำไรสูงสุดจากการผลิต กำไรเช่นนี้มิได้เกิดจากประสิทธิภาพในการผลิต แต่เกิดจากสภาพการผูกขาด
วันเสาร์ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
Ideology
นโยบายปฏิวัติโลกควรมีวิธีปฏิบัติอย่างไร นี้เป็นประเด็นหนึ่งที่ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างรุสเซียกับจีนต้องแตกร้าวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เดิมที่ นโยบายปฏิวัติโลกย่อมถือวิธีปฏิวัติของรุสเซียเป็นแม่แบบ แม้ว่าการเป็นคอมมิวนิสต์ของประเทศต่าง ๆ อาจมีวิธีปฏิบัติแต่หลัการคงเดิมเป็นที่ยอมับในวิธีปฏิวัติของรุสเซีย
ในฐานะเจ้าลัทธิและผุ้นำโลกคอมมิวนิสต์และผุ้นำบรรดาพรรคคอมมิวนิสต์ทั่วโลก รุสเซียได้กำหนดแล้วว่า การพัฒนาประเทศไปสู่ระบอบสังคมนิยมของโลกคอมมิวนิสต์ ต้องยึดถือวิธีปกิบัติแบบรุสเซียเท่านั้น การสัมพันธ์กับโลกภายนอก รุสเซียเป็นปต่ผุ้เดียวที่จะกำหนดวินิจฉัยนโยบาย โลกคอมมิวนิสต์เป็นแต่ฝ่านสนองตอบเท่านั้น ความเป็นหนึ่งในทางลัทธิอุดมการณ์ได้ถูกท้าทายมาแล้วตั้งแต่ ปี 1948 เมื่อยูโกสลาเวียยืนกรามที่จะเป็นคอมมิวนิสต์อิสระไม่ขึ้นต่อรุสเซีย สามารถพัฒนาประเทศโดยวิถีทางอื่น และเปิดความสัมพันธ์กับโลกภายนอก นับเป็นการท้าทายอย่างหนักแน่นจริงจังและเป็นตัวอย่างแก่โลกคอมมิวนิสต์ว่า รุสเซียไม่สามารถครองความเป็นหนึ่งทางลัทะอุดมการณ์ได้อย่างแท้จริงตั้งแต่ปี 1948 แล้ว
ภายหลังอสัญญกรรมของสตาลิน อุดมการณ์เริ่มถูกตีความหมายหลากหลาย รุสเซียตั้งจรเป็นเจ้าลัทธิผุ้ตีความชี้ขาดอุดมการณ์ เป็นผุ้เร่มทำให้อุดมการ์ขาดความหมายเป็นหนึ่งดังเดิม กล่าวคือ ครุสเซฟได้ยกย่องการปฏิวัติจีนในปี 1949 ว่า “ภายหลังการปฏิวัติสังคมปีที่ยิ่งใหญ่ แห่งเดือนตุลาคมนั้น ชัยชนะของการปฏิวัติของประเทศจีนเป็นเหตุการณ์ที่เด่นที่สุดในประวัติศาสตร์โลก” การยกย่องการปฏิวัติที่มิได้ดำเนินตามครรลองปฏิบัติแบบรุสเซียจึงต้องนับเนื่องได้ว่ารุสเซียได้เป็นฝ่ายก้าวถอยจากบทบาทเจ้าลัทะของตน
ความเป็นหนึ่งในลัทธิอุดมการณ์ค่อยๆ ลดความหมายลงด้วยน้ำมือของรุสเซียเองแล้ว เร่มตั้งแต่ ปี 1954 เมื่อรุสเซียยินยอมผ่อนคลายความตึงเครียดกับโลกเสรี และปรองดองกับยูโกสลาเวียถึงขนาดยอมรับรองวิธีทางไปสู่สังคมนิยมหลากหลายได้ นโยบาใหม่กระเทือนอุดมการณ์มาก เพราะ การผ่อนคลายตึงเครียดขัดต่ออุดมการณ์ที่กำหนดให้มีการเผชิญหน้าและต่อสู้จนให้ได้ชัยชนะเด็ดขาด การยอมรับวิถีทางหลากหลายสู่สังคมนิยมเป้นการยอมลดความเป็นหนึ่งของรุสเซียในการกำหนดวิธีการพัฒนาประเทศแบบรุสเซียโลกคอมมิวนิสต์เผชิญทางเลื่อกถึงสามทางในปี 1955 คือ วิถีทางยูโกสลาเวีย วิถีทางรุสเซียและวิถีทางจีน ซึ่งต่างพัฒนาประเทศตามแนวทางที่กำหนดเองโดยอิสระ
กาะประณามสตาลินเป็นการประณามการปกครองโดยส่วนบคคลและประณามการยกย่องนับถือรัฐบุรุษประหนึ่งเทพเจ้า ซึ่งจีนยังปฏิบัติอยู่ กล่าวคือ ในประเทศจีนเป็นที่ยอมรับกันอยู่แล้วโดยทั่วไปว่า เมาเซตุงเป็นผู้กำหนดวินิฉัยนโยบายต่าง ๆ .. จีนกล่าวว่า “เป็นการสมควรที่จะวิจรร์สตาลิน แต่จีนไม่เห็นด้วยกับวิธีการวิจารณ์และไม่เห็นด้วยกับข้อวิจารณ์บางแง่มุม ต่อมาเมื่อความสัมพันะถึงขึ้นแตกหักแล้ว จีได้วิจารณ์รุสเซียเรื่องประณามสตาบลินโดยเป็นบทความในหนังสือพิมพ์ ว่า สตาลินมีคุณงามความดีล้นเหลือเหนือความผิดพลาดของเขา
จีนมีท่าทีสนับสนุนการปกครองโดยหมู่คณะ แต่เมื่อเมาเซตุงสามารถคุมเสียงข้างมากได้ นดยบายการปกครองโดยหมู่คณะย่อมไม่เป็นที่พึงปรารถนาของเมา เซ ตุง เพราะการที่รุสเซียโจมตีการบูชาตัวบุคคล หรือสตาลินนั้น เป็นการโจมตีเมา ในขณะนั้นด้วย
ในด้านนโยบายอยู่ร่วมกันโดยสันตินั้น ถ้าพิจารณาโดยถืออุดมการณ์เป็นหลักนโยบายนั้นขัดต่ออุดมการณ์มาก โดยที่ลัทธิมาร์กซ์และลัทธิเลนินล้วนเน้นการต่อสู้ระหว่างชนชั้นอันหลักเลี่ยงมิได้ และปราศจากการประนีประนอม และชัยชนะจักเป็นของชนชั้นกรรมาชีพ การอย่ร่วมกันโดยสัติปฏิเสธหลักการแห่งอุดมการณ์ดังกล่าวอย่างชนิดขาวเป็นดำรุสเซยได้ยืนยันว่า ยังคงดำเนินนโยบายปฏิวัติโลกเพียงแต่เปลี่ยนวิธีการจากการต่อสู้ด้วยกำลังอาวุธ มาเป็นการแข่งขันกันสร้างความเจริญเพื่พิสูจน์คุฯวิเศษของลัทธิอุดมการณ์โดยวิธีการนั้น เป็ฯวิธีการตามครรลองแห่งสันติวิธีมิใช่ยุทธวิธีเพื่อปฏิวัติโลก อีกทั้งเป็นการยอมรับควาคงอยุ่ของระบอบในเบื้องต้นที่ลัทธิอุดมการ์มุ่งหมายทำลายมิให้คงอยู่ แต่จักสลายตัวในบั้นปลาย จีนถือว่า การอยู่ร่วมกันโดยสัติเป็นการทรยศต่ออุดมการณ์ และเป็นการปฏิเสธภาระหน้าที่ผูกพันที่จะต้องปฏิวัติโลกเพื่เห็นแก่ผลประโยชน์แห่งรัฐมากกว่าผลประโยชน์ของโลกคอมมิวนิสต์ ลัทธิชาตินิยมมีพลังเหนือลัทธิสากลนิยมแล้วสำหรับรุสเซีย
จีนได้กำหนดลักษณะลัทธินิยมแก้ไขปรับปรุงอุดมการณ์ ไว้ว ดดยเป็นการจำกัดความของลัทธิที่ตรงกับพฤติกรรมของครุเชฟ ดังนี้
“ (ลัทธิแก้ไขปรับปรุงอุดมการณ์)ประณามไม่ยอมรับว่า พรรคคอมมิวนิสต์และพรรคของกรรมกร เป็นแนวหน้าของชนชั้นกรรมาชีพ ไม่ยอมรับหลักการเผด็จการและปฏิวัติโดยชนชั้นกรรมาชีพ หากแต่ยอมรับว่าลัทะนายทุนสามรถข้ามมาสู่ลัทธิสังคมนิยมได้โดยใช้มาตรการประชาธิปไตยแบบชนชั้นกลาง และใช้ลัทธิวิถีทางประชาธิปไตยฝ่ายการเลือกตั้งมีผุ้แทน การเปลี่ยนมาสู่ลัทะสังคมนิยมโดยปราศจากการทำลายล้างกลไกของรัฐของชนชั้นกลาง(พวกแปรเปลียนลัทธิ)ได้ใช้ลัทธินิยมสันติภาพความสงบสุขเข้าแทนที่การต่อสู้ลัทธิจักรวรรดินยิม นำเอาการปฏิรูปมาใช้แทนการปฏิวัติดดยชนชั้นกรรมาชีพ นำเอาลัทะชาตินิยมแบบของชนชั้นกลางมาแทนการมุงพิทักษ์และเผยแพร่ลัทะไปทั่วโลก และแทนหลักมนุษยธรรมตาททฤษฎีของมาร์กซ์และเลนินซึ่ง่าด้วยการต่อสู้ระหว่างชนชั้นต่าง ๆ”
ลัทธินิยมแก้ไขปรับปรุงอุดมการณ์คือ ลัทธินิยมที่ไม่ยอมรับหลักการสำคัญของอุดมการณ์คอมมิวนิสต์ อันได้แก่ การทีพรรคคอมมิวนิสต์และพรรคกรรมกรเป็นแนวหน้าของชนชั้นกรรมาชีพ การปฏิวัติและระบอบเผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพ ลัทธินิยมการแก้ไขปรับปรุงอุดมการณ์ยอมรบว่า ในการพัฒนาสังคมสู่สังคมนิยมนั้นลัทธิทุนนิยมเป็นองค์แระกอบหนึ่งมีปรากฎได้ภายใต้ระบอบประชาธิปไตยชนชั้นกลาง ลัทธินอยมการแก้ไขปรับปรุงอุดมการณ์นิยมสันติวิธีมากกว่าวิธีการปฏิวัติเพื่อล้มล้างชนชั้นนายทุน นิยมปฏิรูปมากกว่าการปฏิวัติในการพัฒนาสังคม ลัทธินิวมการแก้ไขปรับปรุงอุดมการ์นิยมลัทธิชาตินิยมแบบชนชั้นกลาง มากกว่านิยมการปฏิวัติโลกและล้มล้างชนชั้น
ตามหลักการชั้นต้น จีนถือว่ารุสเซียเป็นผู้นำและเจ้าลัทธิของโลกคอมมิวนิสต์การที่รุสเซียแปรเปลี่ยนอุดมการณ์จึงมีความหมายไปถึงการเปลี่ยนนโยบายของโลกคอมมิวนิสต์ต่อโลกเสรี การที่รุสเซียเปลี่ยนอุดมการณ์โดยสมานฉันท์กับสหรัฐอเมริกาและพัฒนาประเทศมุ่งไปทางวิถีทางของระบบนายทุน จีนถือว่าว่าเป็นการทรยสต่ออุดการณ์และเป็นหน้าที่ของจีนที่จะขจัดลัทธิแก้ไขปรับปรุงอุดมการณ์
ครุสเซฟตอบโต้จีนโดยการวิจรร์ลัทธิเมา เซ ตุง ไว้ว่า
“ลัทธิคอมมิวนิสต์มิใช่ลัทธิที่จะหยิบยกขึ้นมาเหือนโต๊ะที่วางจานเปล่า และมีคนนั่งประจำโต๊ะที่เป็นคนมีจิตสำนึกสูงและมีความเสมอภาคกันอย่างสมบูรณ์ การเชื้อเชิญคนเข้าสู่ลัทธิคอมมิวนิสต์เช่นนั้นเสมือนเป็นการเชิญคนดื่มนำซุปด้วยส้อม นี้เป็นตัวตลกของลัทธิคอมมิวนิสต์แน่นอน”
รุสเซียกล่าวหาจีนว่าเป็นผุ้ที่ท่ำให้เกิดโลกคอมมิวนิสต์หลายเส้าแล้วและเต็มไปด้วยความรักชาติอย่างคลั่งไคล้ใหลหลง ในการตอบโต้กันนั้น ต่างก็กล่าวหาอีกฝ่ายนิยมแบ่งแยกบรรดาพรรคคิมมิวนิสต์ โดยมีได้คำนึงถึงมติเสียงส่วนใหญ่และนิยมการแบ่งแยกภายในพรรค ตลอดจนนิยมการแทรกซึมกิจการพรรคอื่นเพื่อก่อเกิดการแบ่งแยกภายในพรรค นดยบายแบ่งฝ่ายในพรรคที่จีนนิยมใช้นั้นยึดถือทฤษฎีแห่งการหลีกเลี่ยงมิได้ของการแบ่งแยก เป็นการดำเนินนโยบายเพื่อให้เกิดการแบ่งแยกภายในโลกคอมมิวนิสต์ มีทั้งพรรคที่ต่อต้านและพรรคที่สนับสนุนรุสเซีย โลกคอมมิวนิสต์ปั่นป่วนยิ่งใน หลังจากที่จีนและรุสเซียแตกแยกเป็นทางการแล้ว
ในฐานะเจ้าลัทธิและผุ้นำโลกคอมมิวนิสต์และผุ้นำบรรดาพรรคคอมมิวนิสต์ทั่วโลก รุสเซียได้กำหนดแล้วว่า การพัฒนาประเทศไปสู่ระบอบสังคมนิยมของโลกคอมมิวนิสต์ ต้องยึดถือวิธีปกิบัติแบบรุสเซียเท่านั้น การสัมพันธ์กับโลกภายนอก รุสเซียเป็นปต่ผุ้เดียวที่จะกำหนดวินิจฉัยนโยบาย โลกคอมมิวนิสต์เป็นแต่ฝ่านสนองตอบเท่านั้น ความเป็นหนึ่งในทางลัทธิอุดมการณ์ได้ถูกท้าทายมาแล้วตั้งแต่ ปี 1948 เมื่อยูโกสลาเวียยืนกรามที่จะเป็นคอมมิวนิสต์อิสระไม่ขึ้นต่อรุสเซีย สามารถพัฒนาประเทศโดยวิถีทางอื่น และเปิดความสัมพันธ์กับโลกภายนอก นับเป็นการท้าทายอย่างหนักแน่นจริงจังและเป็นตัวอย่างแก่โลกคอมมิวนิสต์ว่า รุสเซียไม่สามารถครองความเป็นหนึ่งทางลัทะอุดมการณ์ได้อย่างแท้จริงตั้งแต่ปี 1948 แล้ว
ภายหลังอสัญญกรรมของสตาลิน อุดมการณ์เริ่มถูกตีความหมายหลากหลาย รุสเซียตั้งจรเป็นเจ้าลัทธิผุ้ตีความชี้ขาดอุดมการณ์ เป็นผุ้เร่มทำให้อุดมการ์ขาดความหมายเป็นหนึ่งดังเดิม กล่าวคือ ครุสเซฟได้ยกย่องการปฏิวัติจีนในปี 1949 ว่า “ภายหลังการปฏิวัติสังคมปีที่ยิ่งใหญ่ แห่งเดือนตุลาคมนั้น ชัยชนะของการปฏิวัติของประเทศจีนเป็นเหตุการณ์ที่เด่นที่สุดในประวัติศาสตร์โลก” การยกย่องการปฏิวัติที่มิได้ดำเนินตามครรลองปฏิบัติแบบรุสเซียจึงต้องนับเนื่องได้ว่ารุสเซียได้เป็นฝ่ายก้าวถอยจากบทบาทเจ้าลัทะของตน
ความเป็นหนึ่งในลัทธิอุดมการณ์ค่อยๆ ลดความหมายลงด้วยน้ำมือของรุสเซียเองแล้ว เร่มตั้งแต่ ปี 1954 เมื่อรุสเซียยินยอมผ่อนคลายความตึงเครียดกับโลกเสรี และปรองดองกับยูโกสลาเวียถึงขนาดยอมรับรองวิธีทางไปสู่สังคมนิยมหลากหลายได้ นโยบาใหม่กระเทือนอุดมการณ์มาก เพราะ การผ่อนคลายตึงเครียดขัดต่ออุดมการณ์ที่กำหนดให้มีการเผชิญหน้าและต่อสู้จนให้ได้ชัยชนะเด็ดขาด การยอมรับวิถีทางหลากหลายสู่สังคมนิยมเป้นการยอมลดความเป็นหนึ่งของรุสเซียในการกำหนดวิธีการพัฒนาประเทศแบบรุสเซียโลกคอมมิวนิสต์เผชิญทางเลื่อกถึงสามทางในปี 1955 คือ วิถีทางยูโกสลาเวีย วิถีทางรุสเซียและวิถีทางจีน ซึ่งต่างพัฒนาประเทศตามแนวทางที่กำหนดเองโดยอิสระ
กาะประณามสตาลินเป็นการประณามการปกครองโดยส่วนบคคลและประณามการยกย่องนับถือรัฐบุรุษประหนึ่งเทพเจ้า ซึ่งจีนยังปฏิบัติอยู่ กล่าวคือ ในประเทศจีนเป็นที่ยอมรับกันอยู่แล้วโดยทั่วไปว่า เมาเซตุงเป็นผู้กำหนดวินิฉัยนโยบายต่าง ๆ .. จีนกล่าวว่า “เป็นการสมควรที่จะวิจรร์สตาลิน แต่จีนไม่เห็นด้วยกับวิธีการวิจารณ์และไม่เห็นด้วยกับข้อวิจารณ์บางแง่มุม ต่อมาเมื่อความสัมพันะถึงขึ้นแตกหักแล้ว จีได้วิจารณ์รุสเซียเรื่องประณามสตาบลินโดยเป็นบทความในหนังสือพิมพ์ ว่า สตาลินมีคุณงามความดีล้นเหลือเหนือความผิดพลาดของเขา
จีนมีท่าทีสนับสนุนการปกครองโดยหมู่คณะ แต่เมื่อเมาเซตุงสามารถคุมเสียงข้างมากได้ นดยบายการปกครองโดยหมู่คณะย่อมไม่เป็นที่พึงปรารถนาของเมา เซ ตุง เพราะการที่รุสเซียโจมตีการบูชาตัวบุคคล หรือสตาลินนั้น เป็นการโจมตีเมา ในขณะนั้นด้วย
ในด้านนโยบายอยู่ร่วมกันโดยสันตินั้น ถ้าพิจารณาโดยถืออุดมการณ์เป็นหลักนโยบายนั้นขัดต่ออุดมการณ์มาก โดยที่ลัทธิมาร์กซ์และลัทธิเลนินล้วนเน้นการต่อสู้ระหว่างชนชั้นอันหลักเลี่ยงมิได้ และปราศจากการประนีประนอม และชัยชนะจักเป็นของชนชั้นกรรมาชีพ การอย่ร่วมกันโดยสัติปฏิเสธหลักการแห่งอุดมการณ์ดังกล่าวอย่างชนิดขาวเป็นดำรุสเซยได้ยืนยันว่า ยังคงดำเนินนโยบายปฏิวัติโลกเพียงแต่เปลี่ยนวิธีการจากการต่อสู้ด้วยกำลังอาวุธ มาเป็นการแข่งขันกันสร้างความเจริญเพื่พิสูจน์คุฯวิเศษของลัทธิอุดมการณ์โดยวิธีการนั้น เป็ฯวิธีการตามครรลองแห่งสันติวิธีมิใช่ยุทธวิธีเพื่อปฏิวัติโลก อีกทั้งเป็นการยอมรับควาคงอยุ่ของระบอบในเบื้องต้นที่ลัทธิอุดมการ์มุ่งหมายทำลายมิให้คงอยู่ แต่จักสลายตัวในบั้นปลาย จีนถือว่า การอยู่ร่วมกันโดยสัติเป็นการทรยศต่ออุดมการณ์ และเป็นการปฏิเสธภาระหน้าที่ผูกพันที่จะต้องปฏิวัติโลกเพื่เห็นแก่ผลประโยชน์แห่งรัฐมากกว่าผลประโยชน์ของโลกคอมมิวนิสต์ ลัทธิชาตินิยมมีพลังเหนือลัทธิสากลนิยมแล้วสำหรับรุสเซีย
จีนได้กำหนดลักษณะลัทธินิยมแก้ไขปรับปรุงอุดมการณ์ ไว้ว ดดยเป็นการจำกัดความของลัทธิที่ตรงกับพฤติกรรมของครุเชฟ ดังนี้
“ (ลัทธิแก้ไขปรับปรุงอุดมการณ์)ประณามไม่ยอมรับว่า พรรคคอมมิวนิสต์และพรรคของกรรมกร เป็นแนวหน้าของชนชั้นกรรมาชีพ ไม่ยอมรับหลักการเผด็จการและปฏิวัติโดยชนชั้นกรรมาชีพ หากแต่ยอมรับว่าลัทะนายทุนสามรถข้ามมาสู่ลัทธิสังคมนิยมได้โดยใช้มาตรการประชาธิปไตยแบบชนชั้นกลาง และใช้ลัทธิวิถีทางประชาธิปไตยฝ่ายการเลือกตั้งมีผุ้แทน การเปลี่ยนมาสู่ลัทะสังคมนิยมโดยปราศจากการทำลายล้างกลไกของรัฐของชนชั้นกลาง(พวกแปรเปลียนลัทธิ)ได้ใช้ลัทธินิยมสันติภาพความสงบสุขเข้าแทนที่การต่อสู้ลัทธิจักรวรรดินยิม นำเอาการปฏิรูปมาใช้แทนการปฏิวัติดดยชนชั้นกรรมาชีพ นำเอาลัทะชาตินิยมแบบของชนชั้นกลางมาแทนการมุงพิทักษ์และเผยแพร่ลัทะไปทั่วโลก และแทนหลักมนุษยธรรมตาททฤษฎีของมาร์กซ์และเลนินซึ่ง่าด้วยการต่อสู้ระหว่างชนชั้นต่าง ๆ”
ลัทธินิยมแก้ไขปรับปรุงอุดมการณ์คือ ลัทธินิยมที่ไม่ยอมรับหลักการสำคัญของอุดมการณ์คอมมิวนิสต์ อันได้แก่ การทีพรรคคอมมิวนิสต์และพรรคกรรมกรเป็นแนวหน้าของชนชั้นกรรมาชีพ การปฏิวัติและระบอบเผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพ ลัทธินิยมการแก้ไขปรับปรุงอุดมการณ์ยอมรบว่า ในการพัฒนาสังคมสู่สังคมนิยมนั้นลัทธิทุนนิยมเป็นองค์แระกอบหนึ่งมีปรากฎได้ภายใต้ระบอบประชาธิปไตยชนชั้นกลาง ลัทธินอยมการแก้ไขปรับปรุงอุดมการณ์นิยมสันติวิธีมากกว่าวิธีการปฏิวัติเพื่อล้มล้างชนชั้นนายทุน นิยมปฏิรูปมากกว่าการปฏิวัติในการพัฒนาสังคม ลัทธินิวมการแก้ไขปรับปรุงอุดมการ์นิยมลัทธิชาตินิยมแบบชนชั้นกลาง มากกว่านิยมการปฏิวัติโลกและล้มล้างชนชั้น
ตามหลักการชั้นต้น จีนถือว่ารุสเซียเป็นผู้นำและเจ้าลัทธิของโลกคอมมิวนิสต์การที่รุสเซียแปรเปลี่ยนอุดมการณ์จึงมีความหมายไปถึงการเปลี่ยนนโยบายของโลกคอมมิวนิสต์ต่อโลกเสรี การที่รุสเซียเปลี่ยนอุดมการณ์โดยสมานฉันท์กับสหรัฐอเมริกาและพัฒนาประเทศมุ่งไปทางวิถีทางของระบบนายทุน จีนถือว่าว่าเป็นการทรยสต่ออุดการณ์และเป็นหน้าที่ของจีนที่จะขจัดลัทธิแก้ไขปรับปรุงอุดมการณ์
ครุสเซฟตอบโต้จีนโดยการวิจรร์ลัทธิเมา เซ ตุง ไว้ว่า
“ลัทธิคอมมิวนิสต์มิใช่ลัทธิที่จะหยิบยกขึ้นมาเหือนโต๊ะที่วางจานเปล่า และมีคนนั่งประจำโต๊ะที่เป็นคนมีจิตสำนึกสูงและมีความเสมอภาคกันอย่างสมบูรณ์ การเชื้อเชิญคนเข้าสู่ลัทธิคอมมิวนิสต์เช่นนั้นเสมือนเป็นการเชิญคนดื่มนำซุปด้วยส้อม นี้เป็นตัวตลกของลัทธิคอมมิวนิสต์แน่นอน”
รุสเซียกล่าวหาจีนว่าเป็นผุ้ที่ท่ำให้เกิดโลกคอมมิวนิสต์หลายเส้าแล้วและเต็มไปด้วยความรักชาติอย่างคลั่งไคล้ใหลหลง ในการตอบโต้กันนั้น ต่างก็กล่าวหาอีกฝ่ายนิยมแบ่งแยกบรรดาพรรคคิมมิวนิสต์ โดยมีได้คำนึงถึงมติเสียงส่วนใหญ่และนิยมการแบ่งแยกภายในพรรค ตลอดจนนิยมการแทรกซึมกิจการพรรคอื่นเพื่อก่อเกิดการแบ่งแยกภายในพรรค นดยบายแบ่งฝ่ายในพรรคที่จีนนิยมใช้นั้นยึดถือทฤษฎีแห่งการหลีกเลี่ยงมิได้ของการแบ่งแยก เป็นการดำเนินนโยบายเพื่อให้เกิดการแบ่งแยกภายในโลกคอมมิวนิสต์ มีทั้งพรรคที่ต่อต้านและพรรคที่สนับสนุนรุสเซีย โลกคอมมิวนิสต์ปั่นป่วนยิ่งใน หลังจากที่จีนและรุสเซียแตกแยกเป็นทางการแล้ว
วันศุกร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
Case study Russia & China
ความสัมพันธ์ระหวางจีนกับรุสเซียซึ่งต่างก็ชื่นชมว่าเป็นความสัมพันธ์อันแน่นแฟ้นลึกซึ้งนั้นจะถึง
จุดจบเร็วเช่นนี้ และจบลงอย่างปัจจุบันทันด่วน ต่างฝ่ายต่างประณามอีกฝ่ายว่าเป็นผู้ทำลายความสัมพันธ์ต่างโฆษราชวนเชื่อชักจูงให้บรรดาประเทศใหญ่น้อยทั้งในและนอกโลกคอมมิวนิสต์ให้สนับสนุนฝ่ายตนและเป็นปฏิปักษ์ต่ออีกฝ่าย ต่างฝ่ายต่างพยายามทุกวิถีทางที่จะแสดงในใครต่อใครได้รู้ว่า ฝ่ายตนเป็นฝ่านมีสัจธรรมโดยเปิดเผยสัมพันธภาพระหว่างกันแต่อดีตให้เนที่ปรากฎ หลักฐานเอกสารการติดต่อกันในทุกรูปแบบทุกลักษณะที่มีต่อกันได้ถูกตีพิมพ์เปิดเผยออกมา แล้วต่างฝ่ายต่างก็กล่าวหาวาอีกฝ่าย “สาวไส้ให้กากิน” และเป็นฝ่ายบ่อนทำลายความสามานสามัคคีของโลกคอมมิวนิสต์
ความร้าวฉานอย่างรุนแรงเป็นเหตุการณ์หนึ่งที่สำคัญมากในวงการเมือง ที่สะท้อนผลไปทั่วโลกมากที่สุด อีกทั้งอำนวยประโยชน์แก่ฝ่ายตรงข้าม คือ “โลกเสรี”อย่างที่สุด ซึ่งฝ่ายโลกเสรีมีกาตื่นตัวเรียนรู้วิเคราะห์วิจัยความแตกร้าวและคาดคะเนรูแบบความสัมพันธ์ในอนาคตของสองมหาอำนาจในโลกคอมมิวนิสต์ไปต่าง ๆ นานา การเปิดเผยหลักฐานระหว่งกันต่อชาวโลกได้ขจัดความสงสัยของผู้ที่ติดตามความเคลื่อนไหวของทั้งสองประเทศนี้ไปได้อย่างสิ้นเชิง และสรุปเป็นประเด็นต่างๆ ซึ่งโดยเนื้อแท้แล้วสัมพันธภาพของสองมหาอำนาจโลกคอมมิวนิสต์ตมีลักษณะอย่งไร และเหตุใดจึงแตกกัน….
ภาวะสงครามเย็นสืบเนืองจากอุดมการณ์ที่แตกต่างกัน อุดมการมีความหมายพลิกประวัติศาสตร์ มหามิตรร่วมอุดมการณ์จะเป็นปฏิปักษ์กันนั้นเป็นเรื่องยากที่จะมีใครเชื่อในทศวรรษที่ 1960 แต่เมื่อความจริงปรากฎณ์ช่วงต้นปี 1970 เป็นต้นมา ทั่วโลกต่างตระหนักถึงความเป็นปฏิปักษ์กันอย่างแท้จริงของสองอำนาจร่วมอุดมการณ์และมีการวิเคราะห์วิจารณ์กันอย่างแพร่หลายถึงสาเหตุเเห่งการเป็นปฏิปักษ์กัน การศึกษาย่อมต้องอาศัยประวัติศาสจร์ความสัมพันธ์ของทั่งสองประเทศเป็นหลักสำคัญ รุสเซียมีความสัมพันธ์กับพรรคคอมมิวนิสต์จีนอย่างไร ทั้งสองประเทศมีความสัมพันธ์ในลักษณะใด แต่สิ่งที่ควรคำนึงถึงคือ การที่ความแตกแยกนั้นเป็นสิ่งที่เป็นไปได้แลย่อมถูกลิขิตให้เป็นไปเช่นนั้นด้วยอานุภาพแห่งดครงสร้างการเมหืองระหว่างประเทศที่ได้ปลี่ยนแปลงผันผวนมาตั้งแต่ปี 1953 และความริงบางประการที่รุสเซียพัฒนาล่วงหน้าจีนกว่าชั่ว1-2 อายุคน และจีนมีประชากรมากมายกว่ารุสเซียหลายเท่า
การวิเคราะเชิงประวัติศาสตร์
ทั้งสองประเทศเป็นประเทศที่มีเนื้อที่กว้างขวาง มีประชากรที่แน่นหนาอุดมด้วยแร่ธาตุแลทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งสองประเทศมีความสัมพันธ์ต่อกันอย่างแท้จริงช่วงปลายศตวรรษที่ 17 ลักษณะกรณีพิพาทชายแดน ความสัมพันธ์ของทั้งสองประเทศจึงไม่ราบรื่นนัก
หลังจากจีนเปิดประเทศตั้งแต่ปี 1939 เป็นต้นมา รุสเซียได้ร่วมการบั่นทอนเอกราชอำนาจอธิปไตยและบูรณภาพทางดินแดนของจีน ดดยอาศํยเชิงการูตที่เหนือกว่าจีน เมื่อจีนปฏิวัติและมีระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐและการเมื่องไร้เสถียรภาพตามลำดับ รุสเซียให้การช่วยเหลือพรรคชาตินิยมในการพัฒนาประเทศ และครอบงำพรรคคอมมิวนิสต์จีน ให้ดำเนินนโยบายสอดคลอ้งกับผลประโยชน์ของรุสเซียกระทั่ง ปี 1933 พรรคจีนคอมมิวนิสต์จึงเป็นอิสระในการดำเนินนโยบายของตน เมื่อรุสเซยทุ่มแทให้ความขชวยเหลือแก่พรรคชาตินิยมในการต่อสู้กับญีปุ่น พรรคจีนคอมมิวนิสต์ได้มีบทบาทตกอยู่ใต้อาณัติของรุสเซียแต่แย่งใด แม้เมื่อจีนเป็นรัฐคอมมิวนิสต์แล้ว การตัดสินใจจะดำเนินนโยบายล้วนเป็นดุลพินิจของจีนเอง
สัมพันธภาพของจีนและรุสเซียในชั้นต้น สัมพันธภาพไม่เสมอภาคกัน จีนยอมรับตนเป็นรัฐด้อยอาวุโส และยอมรับความเป็นเจ้าลัทธิและผุ้นำของรุสเซียในโลกคอมมิวนิสต์โดยดูษฎีภาพ เพื่อแลกกับความคุ้มครองและความช่วยเหลือจากรุสเซีย ต่างฝ่ายต่างแสดงทีท่าว่าอีกฝ่ายเป็นมหามิตรของตน แต่โดยเนื้อแท้จีนไม่เคยแสดงทีท่ายอมเป็นเบี้ยล่างขอวงรุสเซียดังที่ประเทศต่าง ๆ ในยุโรปตะวันออกแสดงต่อรุสเซียรุสเซียเองก็ไม่กล้าพอมี่จะกดจีนให้อยู่ในฐานะเสมือนเป็นบริวารในแวดวงอำนาจของตนจีนจึงมีฐานะเป็นชาติอ่อนอาวุโสกว่าแต่มีความเสมอภาคกับรุสเซียอยู่ในที แม้ว่าจีนจะยกย่องรุสเซียเป็นผู้นำโลกคอมมิวนิสต์ แต่มิได้หมายความว่าจีนจะยินยิมเป็นเพียงผุ้รับคำสั่งจากรุสเซีย จีนต้องการให้รุสเซียดำเนินนโยบายทุกประกาที่เกี่ยวกับการต่างประเทศ ระหว่างโลกคอมมิวนิสต์กับโลกเสรี โดยให้จีนรับรู้และปรึกษาหารือร่วมกัน
ในฐานะที่เป็นมหาพันธมิตรของจีน รุสเซียได้กอบโกยผลประโยชน์จากจีนมากมายตามสนธิสัญญาปี 1950 ทั้งยังผลักดันให้จีนเข้าสู่สงครามเกาหลีเพื่อแลกกับการที่รุสเซียจะทุ่มให้ความช่วยเหลือแก่จีน สัมพันธภาพดำเนินไปเพียงผิวเปลือกนอก ภายในใจจีนเต็ไปด้วยความระแวงแคลงใจในเจตนารมณ์ของรุสเซียในสองกรณีใหญ่ๆ คือ การรับจีนเป็นสมาชิกองค์กาสหประชาชาติ และรใช้กำลังพิชิตไต้หวัน รุสเซียไม่ดำเนินการทางการทูตอย่างเต็มที่เพื่อให้จีนได้เป็นสมาชิก จีนถือว่ารุสเซียมีเจตนาจำกัดฐานะจีนให้ตำอยู่ใต้รุสเซียมิหให้เป็นอิสระ เป็นการจงใจกีดกันให้อยู่โดดเดียว อย่างไรก็ตาม สงครามเกาหลีผลักดันจีนให้ยึดรุสเซียมากขึ้นระยะระหว่างปี 1945-1953 จึงกล่าวกันว่าเป็นระยะข้าวใหม่ปลามันดื่มน้ำผึ้งพระจันทร์เต็มที่ Concord,Honeymoon Period
นอกจากการเข้าสูสงครามเกาหลี ซึ่งนำไปสู่การยุติสงคราม ตามข้อตกลงที่เจนีวาแล้ว จีนไม่เคยแสดงทีท่าสงสัยพฤติกรรมทางการเมืองต่างประเทศของรุสเซียอย่างเปิดเผยแต่อย่างใด กระทั้งสตาลินถึงแก่กรรม สัมพันธภาพระหว่างจีนกับรุสเซียจึงค่อย ๆ เปลี่ยนไป
เมื่อโอกาสมาถึง ภายในมอสโกเกิดการชิงอำนาจ และต่างหวังให้จีนสนับสนุนฝ่ายตน ต่างฝ่ายต่างสรรเสริญยกย่องจีน ฐานะจีนเปลี่ยนไป จากคอมมิวนิสต์ด้อยอาวุโสมาสู่ฐานะเท่านเทียมกัน และเริ่มมีสิทธิ์มีเสียงในการกำหนดวินิจฉัยนโยบายของโลกคอมมิวนิสต์ เมาเซตุงเริ่มได้รับการยกย่องเป็นรัฐบุรุษอาวุโสของโลกคอมมิวนิสต์
การแย่งชิงอำนาจในรุสเซียทำให้จีนจากความเป็นรัฐด้อยอาวุโสมาเป็นรัฐเสมอภาคกับรุสเซีย ผุ้นำรุสเซียหลายคนต้องการการสนับสนุนจากจีน ส่วนจีนต้องการรุสเซียเพื่อพิทักษ์ปกป้องและพัฒนาชาติตน ต่างฝ่ายต่างเห็นความจำเป็นที่จะผูกมิตรกัน แต่ในขณะเดียวกัน จีนเร่มดำเนินนโยบายขงตนโดยอิสระ รุสเซียเองเเม้จะยอมรับแต่เริ่มตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องจับตาดูจีนมากขึ้น โดยในกรณีการอยู่ร่วมกันโดยันติที่อินดเดีย ครุสเชฟยอมรับว่ายังอ่านจีนไม่ออก เขาได้วิจารณ์เมาเซตุงว่า “ข้าพเจ้าไม่เคยแน่ใจได้ว่า ข้าพเจ้าเข้าใจสิ่งที่เขาตั้งใจหมายความให้รู้” สัมพันธภาพระหว่งกันไม่มั่นคงและเต็มไปด้วยความหวาดระแวง
การวิเคราะห์ด้านนโยบาย ด้านหลักการ
นักวิเคราะห์สวนใหญลงความเห็นคล้อยตามจีนว่า ความแตกแยกเร่มต้นจากการประชุมสภาของพรรคคอมมิวนิสต์รุสเซีย ครั้งที่ 20 แห่งเดือนกุมภาพันธ์ 1956 ซึ่งมีการประกาศประณามสตาลินและประกาศนโยบายอยู่ร่วมกันดดยสันติ ส่วนรุสเซียว่า ที่ประชุมนั้นเป็นเพียงจุดเร่มต้นของการแตกแยก รุสเซียประกาศเปลี่ยนแนวนโยบายต่างประเทศต่อโลกซึ่งมีผลต่อจีนและประกาศประณามระบอบเผด็จการโดยเอกเทศและลัทธินิยมตัวบุคคลซึ่งมีอิทธิพลอย่างใหญ่หลวงต่อจีน การประชุมแห่งปี 1956 เป็น “ก้าวแรกไปสู่วิถีทางแห่งการแปรเปลี่ยนลัทธิอุดมการณ์”โดยผุ้นำรุสเซีย
ความเป็นปฏิปักษ์ปรากฎเด่นชัดเมือรุสเซียร่วมกับโลกเสรีในการงดทดลองอาวุธนิวเคบียร์ และเป็นเสมือน “ฟางเส้นสุดท้าย”อันเปราะบางที่สามารถทำลายพันธมิตรได้
ตั้งแต่สตาลินถึงแก่กรรม จีนก้าวขึ้นมาเป็ฯพันธมิตรเสมอภาคกับรุสเซีย การเมืองของทั้งสองฝ่ายได้มีลักาณะคล้ายกัน ต่างก็มีผุ้นำโดยเอกเทศและบริวารครอบงำพรรคความแตกแยกเร่มขึ้นในระดับผุ้นำคือ ระหว่างครุสเชฟกับเมา ต่อมาระหว่งพรรคต่อพรรคครั้งความขัดแย้งทวีความสลับซับซ้อนจนสุความสามารถที่จะจำกัดขอบเขต ความแตกแยกกันก็ขยายต่อจากระดับพรรคมาสูระดับชาติตั้งแต่พรรคมาสู่ระดับชาติตั้งแต่ปี 1958 เป็นต้นมา ต่างฝ่ายต่างท้าทายและตอบโต้กันอย่างไม่ลดราวาศอก เป็นเหตุให้ความแตกแยกันรุนแรงยิงขึ้น
การวิเคราะห์เชิงอำนาจ
จีนเริ่มพัฒนาประเทศหลังรุสเซีย 1-2 ชั่วอายุคน พัฒนามาสู่รัฐด้อยอาวุโส สู่รัฐเสมอภาค และเกิดความขัดแย้ง กลายเป็นคู่แข่งในการแสวงหาอำนาจอิทธิพลทั่วโลกกับรุสเซีย การเจริญเติบโตและพัฒนาการของคอมมิวนิสต์จีนเป็นไปอย่างมีลำดับขั้นตอน ในขณะที่นโยบายต่างประเทศของรุสเซียผิดพลาดหลายครั้งหลายหน ประกอบกับการการแย่งชิงอำนาจกันเองในรุสเซีย ความเป็นต่อ 1-2 ช่วงอายุคนจึงไม่เป็นผลต่อจีนเท่าไรนัก
ประเด็นอาวุธนิวเคลียร์ รุสเซียลงนามในสนธิสัญญางดทดลองอาวุธนิวเคลียร์ ต่างฝ่ายต่างมุ่งทำลายอีกฝ่ายมิหใมพันธมิตร โดยแสวงหาอำนาจอิทธพลในโลกเสีนรและโลกที่สาม ในบั้นปลายหนทางเป็นมิตรสิ้นสุดโดยฉับพลัน เมื่อจีนก่อกรณีพิพาทชายแดนกับรุสเซีย
และนำสู่การตอบโต้กันทั้งทางการทูตการดำเนินการแทรกแซงกจิการภายในของอีกประเทศและเกิดเป็นกรณีพิพาทในที่สุด
ลำดับทางเหตุการและประเด็นความสัมพันธ์และนำไปสู่ความแตกแยก แบ่งออกเป็นประเด็นที่ควรศึกษาดังนี้
- ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์
- บทบาทของรุสเซียต่อพรรคคอมมิวนิสต์จีนก่อปี 1949
- พันธมิตรกับการเอารัดเอาเปรียบ
- การเปลี่ยนแปลงนโยบายของรุสเซียในปี 1956
- ประเด็นอาวุธนิวเคลียร์
- อุดมการณ์ “ที่แตกแยก”
- การเรียกคืนดินแดนของจีน
- การแทรกแซงกิจการภายใน
- การตอบโต้กัน
จุดจบเร็วเช่นนี้ และจบลงอย่างปัจจุบันทันด่วน ต่างฝ่ายต่างประณามอีกฝ่ายว่าเป็นผู้ทำลายความสัมพันธ์ต่างโฆษราชวนเชื่อชักจูงให้บรรดาประเทศใหญ่น้อยทั้งในและนอกโลกคอมมิวนิสต์ให้สนับสนุนฝ่ายตนและเป็นปฏิปักษ์ต่ออีกฝ่าย ต่างฝ่ายต่างพยายามทุกวิถีทางที่จะแสดงในใครต่อใครได้รู้ว่า ฝ่ายตนเป็นฝ่านมีสัจธรรมโดยเปิดเผยสัมพันธภาพระหว่างกันแต่อดีตให้เนที่ปรากฎ หลักฐานเอกสารการติดต่อกันในทุกรูปแบบทุกลักษณะที่มีต่อกันได้ถูกตีพิมพ์เปิดเผยออกมา แล้วต่างฝ่ายต่างก็กล่าวหาวาอีกฝ่าย “สาวไส้ให้กากิน” และเป็นฝ่ายบ่อนทำลายความสามานสามัคคีของโลกคอมมิวนิสต์
ความร้าวฉานอย่างรุนแรงเป็นเหตุการณ์หนึ่งที่สำคัญมากในวงการเมือง ที่สะท้อนผลไปทั่วโลกมากที่สุด อีกทั้งอำนวยประโยชน์แก่ฝ่ายตรงข้าม คือ “โลกเสรี”อย่างที่สุด ซึ่งฝ่ายโลกเสรีมีกาตื่นตัวเรียนรู้วิเคราะห์วิจัยความแตกร้าวและคาดคะเนรูแบบความสัมพันธ์ในอนาคตของสองมหาอำนาจในโลกคอมมิวนิสต์ไปต่าง ๆ นานา การเปิดเผยหลักฐานระหว่งกันต่อชาวโลกได้ขจัดความสงสัยของผู้ที่ติดตามความเคลื่อนไหวของทั้งสองประเทศนี้ไปได้อย่างสิ้นเชิง และสรุปเป็นประเด็นต่างๆ ซึ่งโดยเนื้อแท้แล้วสัมพันธภาพของสองมหาอำนาจโลกคอมมิวนิสต์ตมีลักษณะอย่งไร และเหตุใดจึงแตกกัน….
การวิเคราะเชิงประวัติศาสตร์
ทั้งสองประเทศเป็นประเทศที่มีเนื้อที่กว้างขวาง มีประชากรที่แน่นหนาอุดมด้วยแร่ธาตุแลทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งสองประเทศมีความสัมพันธ์ต่อกันอย่างแท้จริงช่วงปลายศตวรรษที่ 17 ลักษณะกรณีพิพาทชายแดน ความสัมพันธ์ของทั้งสองประเทศจึงไม่ราบรื่นนัก
หลังจากจีนเปิดประเทศตั้งแต่ปี 1939 เป็นต้นมา รุสเซียได้ร่วมการบั่นทอนเอกราชอำนาจอธิปไตยและบูรณภาพทางดินแดนของจีน ดดยอาศํยเชิงการูตที่เหนือกว่าจีน เมื่อจีนปฏิวัติและมีระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐและการเมื่องไร้เสถียรภาพตามลำดับ รุสเซียให้การช่วยเหลือพรรคชาตินิยมในการพัฒนาประเทศ และครอบงำพรรคคอมมิวนิสต์จีน ให้ดำเนินนโยบายสอดคลอ้งกับผลประโยชน์ของรุสเซียกระทั่ง ปี 1933 พรรคจีนคอมมิวนิสต์จึงเป็นอิสระในการดำเนินนโยบายของตน เมื่อรุสเซยทุ่มแทให้ความขชวยเหลือแก่พรรคชาตินิยมในการต่อสู้กับญีปุ่น พรรคจีนคอมมิวนิสต์ได้มีบทบาทตกอยู่ใต้อาณัติของรุสเซียแต่แย่งใด แม้เมื่อจีนเป็นรัฐคอมมิวนิสต์แล้ว การตัดสินใจจะดำเนินนโยบายล้วนเป็นดุลพินิจของจีนเอง
สัมพันธภาพของจีนและรุสเซียในชั้นต้น สัมพันธภาพไม่เสมอภาคกัน จีนยอมรับตนเป็นรัฐด้อยอาวุโส และยอมรับความเป็นเจ้าลัทธิและผุ้นำของรุสเซียในโลกคอมมิวนิสต์โดยดูษฎีภาพ เพื่อแลกกับความคุ้มครองและความช่วยเหลือจากรุสเซีย ต่างฝ่ายต่างแสดงทีท่าว่าอีกฝ่ายเป็นมหามิตรของตน แต่โดยเนื้อแท้จีนไม่เคยแสดงทีท่ายอมเป็นเบี้ยล่างขอวงรุสเซียดังที่ประเทศต่าง ๆ ในยุโรปตะวันออกแสดงต่อรุสเซียรุสเซียเองก็ไม่กล้าพอมี่จะกดจีนให้อยู่ในฐานะเสมือนเป็นบริวารในแวดวงอำนาจของตนจีนจึงมีฐานะเป็นชาติอ่อนอาวุโสกว่าแต่มีความเสมอภาคกับรุสเซียอยู่ในที แม้ว่าจีนจะยกย่องรุสเซียเป็นผู้นำโลกคอมมิวนิสต์ แต่มิได้หมายความว่าจีนจะยินยิมเป็นเพียงผุ้รับคำสั่งจากรุสเซีย จีนต้องการให้รุสเซียดำเนินนโยบายทุกประกาที่เกี่ยวกับการต่างประเทศ ระหว่างโลกคอมมิวนิสต์กับโลกเสรี โดยให้จีนรับรู้และปรึกษาหารือร่วมกัน
ในฐานะที่เป็นมหาพันธมิตรของจีน รุสเซียได้กอบโกยผลประโยชน์จากจีนมากมายตามสนธิสัญญาปี 1950 ทั้งยังผลักดันให้จีนเข้าสู่สงครามเกาหลีเพื่อแลกกับการที่รุสเซียจะทุ่มให้ความช่วยเหลือแก่จีน สัมพันธภาพดำเนินไปเพียงผิวเปลือกนอก ภายในใจจีนเต็ไปด้วยความระแวงแคลงใจในเจตนารมณ์ของรุสเซียในสองกรณีใหญ่ๆ คือ การรับจีนเป็นสมาชิกองค์กาสหประชาชาติ และรใช้กำลังพิชิตไต้หวัน รุสเซียไม่ดำเนินการทางการทูตอย่างเต็มที่เพื่อให้จีนได้เป็นสมาชิก จีนถือว่ารุสเซียมีเจตนาจำกัดฐานะจีนให้ตำอยู่ใต้รุสเซียมิหให้เป็นอิสระ เป็นการจงใจกีดกันให้อยู่โดดเดียว อย่างไรก็ตาม สงครามเกาหลีผลักดันจีนให้ยึดรุสเซียมากขึ้นระยะระหว่างปี 1945-1953 จึงกล่าวกันว่าเป็นระยะข้าวใหม่ปลามันดื่มน้ำผึ้งพระจันทร์เต็มที่ Concord,Honeymoon Period
นอกจากการเข้าสูสงครามเกาหลี ซึ่งนำไปสู่การยุติสงคราม ตามข้อตกลงที่เจนีวาแล้ว จีนไม่เคยแสดงทีท่าสงสัยพฤติกรรมทางการเมืองต่างประเทศของรุสเซียอย่างเปิดเผยแต่อย่างใด กระทั้งสตาลินถึงแก่กรรม สัมพันธภาพระหว่างจีนกับรุสเซียจึงค่อย ๆ เปลี่ยนไป
เมื่อโอกาสมาถึง ภายในมอสโกเกิดการชิงอำนาจ และต่างหวังให้จีนสนับสนุนฝ่ายตน ต่างฝ่ายต่างสรรเสริญยกย่องจีน ฐานะจีนเปลี่ยนไป จากคอมมิวนิสต์ด้อยอาวุโสมาสู่ฐานะเท่านเทียมกัน และเริ่มมีสิทธิ์มีเสียงในการกำหนดวินิจฉัยนโยบายของโลกคอมมิวนิสต์ เมาเซตุงเริ่มได้รับการยกย่องเป็นรัฐบุรุษอาวุโสของโลกคอมมิวนิสต์
การแย่งชิงอำนาจในรุสเซียทำให้จีนจากความเป็นรัฐด้อยอาวุโสมาเป็นรัฐเสมอภาคกับรุสเซีย ผุ้นำรุสเซียหลายคนต้องการการสนับสนุนจากจีน ส่วนจีนต้องการรุสเซียเพื่อพิทักษ์ปกป้องและพัฒนาชาติตน ต่างฝ่ายต่างเห็นความจำเป็นที่จะผูกมิตรกัน แต่ในขณะเดียวกัน จีนเร่มดำเนินนโยบายขงตนโดยอิสระ รุสเซียเองเเม้จะยอมรับแต่เริ่มตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องจับตาดูจีนมากขึ้น โดยในกรณีการอยู่ร่วมกันโดยันติที่อินดเดีย ครุสเชฟยอมรับว่ายังอ่านจีนไม่ออก เขาได้วิจารณ์เมาเซตุงว่า “ข้าพเจ้าไม่เคยแน่ใจได้ว่า ข้าพเจ้าเข้าใจสิ่งที่เขาตั้งใจหมายความให้รู้” สัมพันธภาพระหว่งกันไม่มั่นคงและเต็มไปด้วยความหวาดระแวง
การวิเคราะห์ด้านนโยบาย ด้านหลักการ
นักวิเคราะห์สวนใหญลงความเห็นคล้อยตามจีนว่า ความแตกแยกเร่มต้นจากการประชุมสภาของพรรคคอมมิวนิสต์รุสเซีย ครั้งที่ 20 แห่งเดือนกุมภาพันธ์ 1956 ซึ่งมีการประกาศประณามสตาลินและประกาศนโยบายอยู่ร่วมกันดดยสันติ ส่วนรุสเซียว่า ที่ประชุมนั้นเป็นเพียงจุดเร่มต้นของการแตกแยก รุสเซียประกาศเปลี่ยนแนวนโยบายต่างประเทศต่อโลกซึ่งมีผลต่อจีนและประกาศประณามระบอบเผด็จการโดยเอกเทศและลัทธินิยมตัวบุคคลซึ่งมีอิทธิพลอย่างใหญ่หลวงต่อจีน การประชุมแห่งปี 1956 เป็น “ก้าวแรกไปสู่วิถีทางแห่งการแปรเปลี่ยนลัทธิอุดมการณ์”โดยผุ้นำรุสเซีย
ความเป็นปฏิปักษ์ปรากฎเด่นชัดเมือรุสเซียร่วมกับโลกเสรีในการงดทดลองอาวุธนิวเคบียร์ และเป็นเสมือน “ฟางเส้นสุดท้าย”อันเปราะบางที่สามารถทำลายพันธมิตรได้
ตั้งแต่สตาลินถึงแก่กรรม จีนก้าวขึ้นมาเป็ฯพันธมิตรเสมอภาคกับรุสเซีย การเมืองของทั้งสองฝ่ายได้มีลักาณะคล้ายกัน ต่างก็มีผุ้นำโดยเอกเทศและบริวารครอบงำพรรคความแตกแยกเร่มขึ้นในระดับผุ้นำคือ ระหว่างครุสเชฟกับเมา ต่อมาระหว่งพรรคต่อพรรคครั้งความขัดแย้งทวีความสลับซับซ้อนจนสุความสามารถที่จะจำกัดขอบเขต ความแตกแยกกันก็ขยายต่อจากระดับพรรคมาสูระดับชาติตั้งแต่พรรคมาสู่ระดับชาติตั้งแต่ปี 1958 เป็นต้นมา ต่างฝ่ายต่างท้าทายและตอบโต้กันอย่างไม่ลดราวาศอก เป็นเหตุให้ความแตกแยกันรุนแรงยิงขึ้น
การวิเคราะห์เชิงอำนาจ
จีนเริ่มพัฒนาประเทศหลังรุสเซีย 1-2 ชั่วอายุคน พัฒนามาสู่รัฐด้อยอาวุโส สู่รัฐเสมอภาค และเกิดความขัดแย้ง กลายเป็นคู่แข่งในการแสวงหาอำนาจอิทธิพลทั่วโลกกับรุสเซีย การเจริญเติบโตและพัฒนาการของคอมมิวนิสต์จีนเป็นไปอย่างมีลำดับขั้นตอน ในขณะที่นโยบายต่างประเทศของรุสเซียผิดพลาดหลายครั้งหลายหน ประกอบกับการการแย่งชิงอำนาจกันเองในรุสเซีย ความเป็นต่อ 1-2 ช่วงอายุคนจึงไม่เป็นผลต่อจีนเท่าไรนัก
ประเด็นอาวุธนิวเคลียร์ รุสเซียลงนามในสนธิสัญญางดทดลองอาวุธนิวเคลียร์ ต่างฝ่ายต่างมุ่งทำลายอีกฝ่ายมิหใมพันธมิตร โดยแสวงหาอำนาจอิทธพลในโลกเสีนรและโลกที่สาม ในบั้นปลายหนทางเป็นมิตรสิ้นสุดโดยฉับพลัน เมื่อจีนก่อกรณีพิพาทชายแดนกับรุสเซีย
และนำสู่การตอบโต้กันทั้งทางการทูตการดำเนินการแทรกแซงกจิการภายในของอีกประเทศและเกิดเป็นกรณีพิพาทในที่สุด
ลำดับทางเหตุการและประเด็นความสัมพันธ์และนำไปสู่ความแตกแยก แบ่งออกเป็นประเด็นที่ควรศึกษาดังนี้
- ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์
- บทบาทของรุสเซียต่อพรรคคอมมิวนิสต์จีนก่อปี 1949
- พันธมิตรกับการเอารัดเอาเปรียบ
- การเปลี่ยนแปลงนโยบายของรุสเซียในปี 1956
- ประเด็นอาวุธนิวเคลียร์
- อุดมการณ์ “ที่แตกแยก”
- การเรียกคืนดินแดนของจีน
- การแทรกแซงกิจการภายใน
- การตอบโต้กัน
วันพฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
JFK
เพื่อเตรียมการเลือกตั้งประธานาธิบดีในเดือนพฤศจิกายน 1964 ด้วยเหตุผลทางการเมืองประธานาธิบดีเคนเนดี้จำเป็นต้องเดินทางเยื่อฟลอริดาและเท็กซัสซึ่งเป็นสองรัฐที่มีประชากหนาแน่นที่สุดในกลุ่มรฐทางใต้เพื่อเรียกคะแนนนิยมจากประชาชน โดยเฉพาะการเยื่อนเท็กซัสมุ่งเพื่อสมานรอบร้าวพรรคเดโมแครคให้เป็นหนึ่งเดียวก่อนการเลือกตั้งประธานาธิบิปี 1964 เพราะประธานนาธิบดีเอคนเนดี้มีแผนลงรับเลือกเป็นประธานาธิบดีสมัยที่สอง ก่อนเยื่อนเท็กซัสประธานาธิบดีเคนเนดี้ได้รับการเตื่อ
นว่าอาจถูกชาวเท็กซัสประท้วงต่อต้าน บุคคลสำคัญผู้ร่วมเดินทางกับประธานาธิบดีเคนเนดี้ประกอบก้วยภรรยารองประธานาธิบดีลินคอน บี. จอห์นสัน และภรรยา เครื่องบินถึงดัลลัส,เท็กซัสเวลา 11.37น.ของวันที่ 22 พฤศจิกายน 1963 ตามกำหนดการกำหนดว่าขบวนรถของประธานธิบดีจะแล่นผ่านถนนสายสำคัญของเมืองดัลลัสปลายทางที่อาคารศูนย์การค้าดัลลัส จะขึ้นกล่าว
ปราศรัยแก่นักธุรกิจและชาวดัลลัสภายหลังเสร็จสิ้นรับประทานอาหารกลางวันในทางปฏิบัติ เมื่อถึงดัลลัสรถเปิดประทุนเทียบรอรับประธานาธิบดีและภรรยา ผุ้วาการัฐเท็กซัส จอห์น บี.คอนเนลลี และภรรยานั่งเบาะหลังคนขับ โดยผู้ว่าการรัฐเท็กซัส คอนเนลลีนั่งเบาะด้านขวาของรถและภรรยานั่งเบาะด้านซ้ายของรถ ประธานาธิบดีและภรรยานั่งเบาะต่อจากผู่วา
การรัฐเท็กซัสและภรรยาโดยประธานาธิบดีนั่งเบาะด้านขวาของรถ และภรรยานังเบาด้านซ้ายของรถตามด้วยรถคันที่สอง เป็นรถคณะผุ้รักษาความปลอดภัยประธานาธิบดี รถคันที่สามเป็นรถถองประธานาธิบดีและภรรยา ตามด้วยรถคณะผุ้รักษาความปลอดภัย ขณะขบวนรถแล่นมาตามถนนสายำคัญของเมืองดัลลัส มีผุ้คนเรียงรายหนาแน่นต้อนรับประธานาธิบดีและภรรยา เวลา 12.30 ใกล้ถึงอาคารศูนย์การค้าดัลลัสมีเสียกระสุน 3 นัด ประธานาธิบดีถูกยิงที่ศีรษะและคอ แจคเกาลีนเข้าประคองศีรษะปรธานาธิบดีผุ้ว่าการรัฐเท็กซัสซึ่งนั่งอยู่หน้าประธานาธิบดีถูกยิงที่หลัง ผู้บาดเจ็บทั้งสองถุกนำส่งโรงพยาบาล ประธานาธิบดีเสียชีวิตเวลา 13.00 น.ก่อนถึงโรงพยาบาล ผุ้ว่าการํบเท็กซัสเข้ารับการักษาได้ทันรอดชีวิต
ทันที่ที่เกิดเหตุกาณ์โทรทัศน์และวิทยุรายงานข่าวการถูกยิงและเสยชีวิตของปรธานาธิบดีเคนเนดี้ให้ชาวอเมริกันและชาวโลกได้รับรู้ ลี เอช.ออสวอลด์ ผู้ต้องสงสัยว่าเป็นผู้ยิงประธานาธิบดีเคนเนดี้ถูกพบโดยตำรวจสายตรวจ ชือ เจ.ดี.ทิพพิท เกิดการยิงต่อสู้กัน ตำรวจสายตรวจทิพพิทถูกยิงเสียชีวิต ออสวอลด์หนีไปได้ และถูกจับในเวลา 13.35 น. ออสวอลด์อายุ 24 ปี เคยประจำการในกองทัพเรืออเมริกันมีภรรยาเป็นคนรุสเซีย เคยพยายามโอนสัญชาติเป็นคนรุสเซย เชื่นชอบในลัทธิมาร์คซีสต้นตำรับของลัทธิคอมมิวนิสต์ และให้การสนับสนุนจอมเผด็จการคิวบาฟิเดล คัสโตร จากหลักฐานอาวุธปืนยาว ติดกล้าองส่องยิง พร้อมลายนิ้วมือบนปืนยาวและกระสุนบ่งชี้ชัดว่า ออสวอลด์คือฆาตกรแต่ออสวอลด์ปฏิเสธแม้นจะถูกสอบสวนเป็นเวลานานถึงสองวันเต็ม ในวันอาทิตย์ที่ 24 พฤศจิกายน 1963 ขณะออสวอลด์กำลังจะขึ้นรถเพื่อย้ายที่คุมขัง ออสวอลด์ถูกแจ็ค รูบี เจ้าของสถานเริงรมย์แห่งหนึ่งในดัลลัสเข้าประชิดตัวและยิงออสวอลด์ ออสวอลด์ถูกนำตัวส่งโรงพยาบาลพาร์คแลนด์ เมโมเรียลและสียชีวิตในเวลา 13.07 น. ภายหลังประธานาธิบดีเสียชีวิต 48 ชั่วโมง
ประธานาธิบดีเคนเนดีเสียชีวิตเวลา 13.00 ของวันที่ 22 พฤศจิกายน 1963 ศพถูกบรรจุใส่ดลงนำขึ้นเครื่องบินประจำตำแหน่งประธานาธิบดี กลับวอชิงตัน ดี.ซี.ขณะเครื่องยินอยู่ระหว่างการบินในเวลา 14.38 น.รองปรธานาธิบดีลอนดอน บี. จอห์นสัน ทำพิธีสาบานตนรับตำแหน่งปรธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาลำดับที่ 36 โดยมีภรรยายืนเคียงข้างทางขวาและแจดเกอรีน เคนเนดี้ยืนเคียงข้างทางซ้าย
ศพประธานาธิบดีเคนเนดี้ถูกฝังที่สุสานแห่งชาติอาร์ลิงตัน ในวันที่ 25 พฤศจิกายน 1963 มีตัวแทนจากกว่า 90 ประเทศจำนวน 220 คนเข้าร่วมในพิธี
นว่าอาจถูกชาวเท็กซัสประท้วงต่อต้าน บุคคลสำคัญผู้ร่วมเดินทางกับประธานาธิบดีเคนเนดี้ประกอบก้วยภรรยารองประธานาธิบดีลินคอน บี. จอห์นสัน และภรรยา เครื่องบินถึงดัลลัส,เท็กซัสเวลา 11.37น.ของวันที่ 22 พฤศจิกายน 1963 ตามกำหนดการกำหนดว่าขบวนรถของประธานธิบดีจะแล่นผ่านถนนสายสำคัญของเมืองดัลลัสปลายทางที่อาคารศูนย์การค้าดัลลัส จะขึ้นกล่าว
ปราศรัยแก่นักธุรกิจและชาวดัลลัสภายหลังเสร็จสิ้นรับประทานอาหารกลางวันในทางปฏิบัติ เมื่อถึงดัลลัสรถเปิดประทุนเทียบรอรับประธานาธิบดีและภรรยา ผุ้วาการัฐเท็กซัส จอห์น บี.คอนเนลลี และภรรยานั่งเบาะหลังคนขับ โดยผู้ว่าการรัฐเท็กซัส คอนเนลลีนั่งเบาะด้านขวาของรถและภรรยานั่งเบาะด้านซ้ายของรถ ประธานาธิบดีและภรรยานั่งเบาะต่อจากผู่วา
การรัฐเท็กซัสและภรรยาโดยประธานาธิบดีนั่งเบาะด้านขวาของรถ และภรรยานังเบาด้านซ้ายของรถตามด้วยรถคันที่สอง เป็นรถคณะผุ้รักษาความปลอดภัยประธานาธิบดี รถคันที่สามเป็นรถถองประธานาธิบดีและภรรยา ตามด้วยรถคณะผุ้รักษาความปลอดภัย ขณะขบวนรถแล่นมาตามถนนสายำคัญของเมืองดัลลัส มีผุ้คนเรียงรายหนาแน่นต้อนรับประธานาธิบดีและภรรยา เวลา 12.30 ใกล้ถึงอาคารศูนย์การค้าดัลลัสมีเสียกระสุน 3 นัด ประธานาธิบดีถูกยิงที่ศีรษะและคอ แจคเกาลีนเข้าประคองศีรษะปรธานาธิบดีผุ้ว่าการรัฐเท็กซัสซึ่งนั่งอยู่หน้าประธานาธิบดีถูกยิงที่หลัง ผู้บาดเจ็บทั้งสองถุกนำส่งโรงพยาบาล ประธานาธิบดีเสียชีวิตเวลา 13.00 น.ก่อนถึงโรงพยาบาล ผุ้ว่าการํบเท็กซัสเข้ารับการักษาได้ทันรอดชีวิต
ทันที่ที่เกิดเหตุกาณ์โทรทัศน์และวิทยุรายงานข่าวการถูกยิงและเสยชีวิตของปรธานาธิบดีเคนเนดี้ให้ชาวอเมริกันและชาวโลกได้รับรู้ ลี เอช.ออสวอลด์ ผู้ต้องสงสัยว่าเป็นผู้ยิงประธานาธิบดีเคนเนดี้ถูกพบโดยตำรวจสายตรวจ ชือ เจ.ดี.ทิพพิท เกิดการยิงต่อสู้กัน ตำรวจสายตรวจทิพพิทถูกยิงเสียชีวิต ออสวอลด์หนีไปได้ และถูกจับในเวลา 13.35 น. ออสวอลด์อายุ 24 ปี เคยประจำการในกองทัพเรืออเมริกันมีภรรยาเป็นคนรุสเซีย เคยพยายามโอนสัญชาติเป็นคนรุสเซย เชื่นชอบในลัทธิมาร์คซีสต้นตำรับของลัทธิคอมมิวนิสต์ และให้การสนับสนุนจอมเผด็จการคิวบาฟิเดล คัสโตร จากหลักฐานอาวุธปืนยาว ติดกล้าองส่องยิง พร้อมลายนิ้วมือบนปืนยาวและกระสุนบ่งชี้ชัดว่า ออสวอลด์คือฆาตกรแต่ออสวอลด์ปฏิเสธแม้นจะถูกสอบสวนเป็นเวลานานถึงสองวันเต็ม ในวันอาทิตย์ที่ 24 พฤศจิกายน 1963 ขณะออสวอลด์กำลังจะขึ้นรถเพื่อย้ายที่คุมขัง ออสวอลด์ถูกแจ็ค รูบี เจ้าของสถานเริงรมย์แห่งหนึ่งในดัลลัสเข้าประชิดตัวและยิงออสวอลด์ ออสวอลด์ถูกนำตัวส่งโรงพยาบาลพาร์คแลนด์ เมโมเรียลและสียชีวิตในเวลา 13.07 น. ภายหลังประธานาธิบดีเสียชีวิต 48 ชั่วโมง
ประธานาธิบดีเคนเนดีเสียชีวิตเวลา 13.00 ของวันที่ 22 พฤศจิกายน 1963 ศพถูกบรรจุใส่ดลงนำขึ้นเครื่องบินประจำตำแหน่งประธานาธิบดี กลับวอชิงตัน ดี.ซี.ขณะเครื่องยินอยู่ระหว่างการบินในเวลา 14.38 น.รองปรธานาธิบดีลอนดอน บี. จอห์นสัน ทำพิธีสาบานตนรับตำแหน่งปรธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาลำดับที่ 36 โดยมีภรรยายืนเคียงข้างทางขวาและแจดเกอรีน เคนเนดี้ยืนเคียงข้างทางซ้าย
ศพประธานาธิบดีเคนเนดี้ถูกฝังที่สุสานแห่งชาติอาร์ลิงตัน ในวันที่ 25 พฤศจิกายน 1963 มีตัวแทนจากกว่า 90 ประเทศจำนวน 220 คนเข้าร่วมในพิธี
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...