วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก
วรรณกรรมทางศาสนา ที่สำคัญ คือ เทวนคร โดยนักบุญออกัสติน เป็นเรื่องราวการสร้างโลกตามคติศาสนา มหาเทววิทยา โดยนักบุญทอมัส อะไควนัส เป็นเรื่องเกี่ยวกับ ความเชื่อ และศรัทธาในคริสต์ศษสนาอย่างมีเหตุผล ใช้สอนวิชาเทววิทยาในมหาวิทยาลัีย
วรรณกรรมทางโลก แบ่งออกเป็น ๕ ประเภท ได้แก่
1. มหากาพ epic หรือที่เรียกว่า ชาซอง เอด กาสต์ เป็นเรื่องราวของการสร้างวีนรกรรมขอววัรบุรุษในอดีต นิยมประพันธ์ด้วยโคลงกลอน วรรณกรรรมประเภทนี้ได้แก่ ชาซอง เอด โรลองด์ เป็นเรื่องราวของการต่อสู่ของโรลองค์ ทหารคนสนิทของพระเจ้าซาร์ลมาร์ลกับกองทัพมุสลิมที่เดิทัพมาจากสเปนเพื่อพิชิตยุโรปตะวันตก
2 นิยายวีรคติหรือนิยายโรมานซ์ romance ประพันธ์เป็นคำกลอนขนาดสั้นยาว นิยายประเภทเพ้อฝันเป็นเรื่องราวความรักของคนหนุ่มสาวความจงรักภักดีของอัศวินต่อเจ้าและขุนนาง เวทมนตร์คาภา นิยายที่เป็นที่นิยมกันมาก ได้แก่ เรื่องเกี่ยวกับสงครามโทรจันในสมัยกรีก พรเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช โดยทั่วไปเป็นเรื่องราวความรักของคนหนุ่มสาวที่สามารถทำทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อให้ความรักสมปรารถนาส่วนใหย๋มักเป็นเรื่องชู้สาว
3 คีตกานท์ lyric เกิดจากนักร้องเร่ที่เรียกตัวเองว่า ตูรบาดูร์ จะแต่งบทกวี ขันร้องกับพิณ นิยมบรรเลงกันในปราสาทของขุนนางและราชสำนัก เป็นเรื่องเีก่ยวกับความรักแบบเทิดทูนต่อสตรีสูงศักดิ์ ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากราชสำนักของพวกมุสลิม การเทิดทูนสตรีที่สูงศักดิ์ก่อให้เกิดระเบียบวิะีปฏิบัติที่บุรุษควรมีต่อสตรีเพศ หรือที่เรียกว่า ธรรมเนียมวีรคติ ซึ่งถือปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัด ในหมู่อัศวินนักรบของสมัยกลางในภายหบังซึงบุรุษชั้นสูงจะแสงหาความรักแบบเทิดทูนต่อสตรีผุ้สูงศักดิ์โดยไม่ ปรารถนาความรักตอบแทน เพราะถือว่า การทุอทิศตนเพื่อสตรีที่รักทำให้ชีวิตของการเป็นอัศวินมีคุณค่าและมีเกี่ยรติยศย่ิงนัก
4 นิทานฟาลิโอ เป็นวรรณกรรมของขาวย้านทั่วไป เป็นนิทานั้นๆ เขียนเป็นโคลงกลอน ซึ่งเป็นเรื่องเสียดสีสังคมชนชั้นสูง ตลกขบขันเล่ห์เหลี่ยม ความไม่ดีงามและบางครั้งค่อนข้างหยาบ งานประพันธ์ที่ได้รับอิทธิพล ได้แก่เรื่องเทอร์เบอรี เทลส์
5 นิทานสัตว์ เป็นนิทานร้อยแก้วหรือร้อยกรองในลักาณะของนิทานอีสป เนื้อหาล้อเลียนเสียดสีสังคมฝรั่งเศสในสมัยกลางประณามระบบฟิวดัล กระบวนการยุติะรรม และวงการศาสนา.../sites.google.com/site/historythemiddleage/yukh-klang-txn-play/wrrnkrrm
The city of god ออกัสตินแบ่งสังคมของมนุษย์ออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ครอบครัว เมืองพื้นโลกและมนุษย์บนโลก และจักรวาล จากคำว่าเมือง ออกัสตินแบ่งเป็น 2 ปรเภท ไ้แก่ครอบครัว เมืองพื้นโลกและมนุษย์บนโลก และจักรวาล จากคำว่าเมือง ออกอัสตินแบ่งเป็น 2 ประเภทคือเมืองของพรเจ้ากับเมืองมนุษย์ หัวใจของเรื่องคือ การเปรียบเทียบจักรวรรดิโรมันซึ่งเป็นอาณาจักรทางฆารวาส และ city of god หมายถึงถึงศาสนจักร เคน เป้นผุ้ก่อตั้งเมืองแรก ดังนั้จึงเป็นเมืองชั่วร้าย ส่วน ซิตี ออฟ ก็อท เป็นอาณาจักรทางศาสนาของพระเจ้า ศาสนตักรมีรากฐานตากพระเจ้าและเป็นภาพสะท้อนขอ
อาณาจักรบนสวรรค์ เขาสรุปว่า โลกนีประกอบด้วยเมืองสัญลักษณ์ 2 เมือง คือเมืองแห่งความดีและเมืองแห่งความชั่ว โดยเมืองแห่งความดีคือตัวแทนแห่งพระเจ้า เมืองแห่งความชั่วคือมเืองขอปีศาจ
ประวัติศาสตร์ของมนุษย์เป็นตกาต่อู้ระหว่งอำนาจ 2 อย่าง จุดมุ่งหมายของการต่อสู้ก็เพ่อจะตัดสินว่ามนุษย์จะได้รับความรอดหรือการสาปแช่งชั่วนิรันดร์ จุดประสงค์ของชีวิตแต่ละคนคือ การมีความสัมพันะ์ที่เหมาะสมกับพระเจ้า จากทัศนคตินี้ประวัติศาสตร์ คือ บันทึกการติดต่อระหว่างพระเจ้าและมนุษย์ ศูนย์กลางของประวัติศาสตร์ก็คือ ชีวิตของพระเยซูเจ้า แบ่งเป็นสมัยก่อนพระเยซู เร่ิมขึ้นตั้งแต่อดัมเกิดขึ้นถึงการประสูตรของพระเยซู
ประวัติาสตร์ คือ การเตียนมตัวของมนุษย์มุ่งสร้าความรอดโดยผ่านพระเยซู เร่มขึ้นตั้งแต่อดัมเกิขึ้นถึงการประสูตรของพระเยซูประวัติศาสตร์คือ การเรียมตัวของมนุษย์มุ่งสร้างความรอดโดยผ่านพระเยซู ซึ่งอดัมเป้นคนที่ 2 การเรครยมการนี ออกัสตินได้แบ่งระยะเวลาประวัติศาสตร์ออกเป็ยุคต่างๆ ดังนี ยุคที่ 1 นับตั้งแต่พระเจ้าสร้างมนุษย์คนแรก คืออดัม ไปจนถึงน้ำท่วมโลกและเรื่องของโนอาห์ ยุคที่ 2 จากโนอาห์ถึงสมัยของอับราฮัม บรรพบุรุษของชาวยิว ยุคที่ 3 จากสมัยอับราฮัมถึงสมัยพรเจ้าเดวิด กษัตริย์ยิวทีทรงสร้างความเป็นปึกแผ่นให้แก่ราชอณาจัร ยุคที่ 4 ากสมัยกษัตริย์เดวิดจนึงเมือถึงการเนรเทศครั้งใหญ่ ยุคที่ 5 จากสมัยเนรเทศครั้งใหญ่จนถึงกำเนิดของพระคริสต์ ยุคที่ 6 ยุคปัจจุบน ซึ่งออกัสตินเรียกว่า "มิลเลเนียม" ซึ่งแปลว่า หนึ่งพันปี แต่ออกัสตินไม่ได้หมายึวามว่าจะเป็นเวลา หนึ่ง
พันปี จริงๆ เพราะเขาให้เหตุผลว่า พระเจ้าเท่านั้นที่ทรงทราบ" ว่าจะยาวนาสสักเีพยงใด ยุคที่ 7 "วันสะปาโต"หรือวันหยุดของพวกยิว ออกัสตินหมายถึงสมัยที่พระผุ้เป็นเจ้าจะโปรดผุ้รอด หรือวันแห่งการตคัดสินครั้เงสุดท้าย ยุคที่ 8 ออกัสตินเรียกว่า วันของพระผุ้เป็น ถือว่า เป็นวันที่ 8 และวันอันยืนยาวชั่วกัลปาวสาน อันประกอบด้วยการตือพระชนม์ของพระคริสต์เจ้า การกลับคืนรูปจากการพักผ่นชั่วกัลป์ ไม่เพียงแต่ในรูปของจิตวิญญาณเท่านั้น หากในรูปของร่างกายด้วย ณ ที่นั้น เราจะได้พักผ่อนและชมและรักและสรรเสริญ นี้คคืออวสานที่ปราศจากอวสาน...
นิธิ เอี่ยวศรีวงศ์ ได้สรุปการแบ่งยุคของออกัสติน คือ ในยุคต่างๆ ทั้งหมดนี้ ดดยเฉาพะยุคที่ผ่านมาแล้วจนถึงปัจจุบัน ออกัสตินถือว่าการกำเนิดของพระเยซูคริสต์เป็นเหตุการสำคัญที่สุด เหตุการณ์ในทุกยุคย่อมมีศูนย์กลาวที่ชีวิตของพระเยชู เหตุการณ์ก่อนหน้าพระเยซุก็เกิดขึ้นเพื่อทำให้โลกอยุ่ในสภาวะที่พร้อมจะรับการกำเนิดของพระมหาไถ่ เพื่อที่พระมหาไถ่สามารถปฏิบัติภาระกิจของพระองค์ได้สะดวก เหตุการณ์หลังจากชีวิตของพระเยซูก้ล้วนเป็นผลสืบเนื่องมาจากการไถ่บาปของพระองค์ เรื่องราวของมนุาย์หลังจากนันคอ เรื่องราวของการขยายตัวของคริสตศาสนา มีเหตุการณ์เด่น ๆ เช่น การรับศาสนามิได้ และการถือเอาเป็นเกิดของพระเยซูเป็นศุนย์กลางของประวัติศาสตร์ของมนุษย์อย่างแท้จริง ถ้าจะแบ่งยุคของประวัติศาสตร์อย่างชัดเจนที่สุดแล้ว ก็มีแต่ยุค ก่อนพระเยซูกำเนิด และยุคหลังจากพระเยซูกำเนิด แล้วเท่านั้น ตามความคิดของออกัสติน ประวัติศาสตร์ของมนุษย์มีเป้าหมาย เป้าหมายคือการได้รับความรอดชั่วนิรันดร์ พระเจ้าจะชขนะการต่อสู้ระหว่างความดีและความเลว เื่พอความอยุ่รอดของมนุษย์ พระองค์จะประทานรางวัลแก่มนุษย์ผุ้ยังมิได้เสื่อมศรัทธาต่อความสามารถของพรเจ้า จากทฤษฎีนี้แสดงให้เห็นว่าความสำเร็จทางวัตถุไม่มีความสำคัญและโลกเป็นเพียงห้องสำหรับรอคอยเพื่อรอรับhttps://www.gotoknow.org/posts/422616
ความรอด ออกัสตินได้อธิบายเรื่องความดีความชั่วในตัวมนุษย์ไปในขณะเดียวกัน หรือการเป็น 2 นครในขณะเดียวกัน คือ เทวนครในขณะเดียวกัน คือ เทวนครคือนครที่ประกอบไปด้วยความดีงามอันสูงส่ง ส่วนมนุษยนครคื อกายที่ใฝ่ต่ำ วิญญาณที่เป็นของสูงแสดงออกได้ก็แต่กายใฝ่ต่ำลักษณะเช่นนนี้จึงทำให้การปลีกเลี่ยวไม่ทำความช่วของมนุษย์หรือการที่จะตออยู่ในมนุษย์นครนั้นเป็นสิ่งหลีเลี่ยงได้ยากแต่ออกัสตินได้เสนอแนะว่า ถ้ามนุษย์จงรักภักดีและเชื่อฟังต่อพรเจ้า สวดอ้อนวอนและระลึกถึงพระเจ้าทุกขณะจิตแล้วมนุษย์จะสามารถหลีกเลี่ยงการอยู่ในมนุษยนครได้ นอกจากนี้ออกัสตินยังได้อธิบยจุหมายปลายทางสูงสุดของ 2 นครไว้ว่า ความสุขใดไม่มีความทุกขืเจือปน ความสุขนั้นเป้นความสุขนิรันดร์ ไม่มีวันดับสูญ ความสุขนี้มิได้อยู่ในโลกแต่อยู่ในชีวิตนิรันดร์ บุคคลที่จะอยู่ในชีิวิตนิรันด์นี้ย่อมขึ้นอยุ่กับการตัดสินจองพระเจ้าใจครั้งสุดท้ย นั้นคือเมื่อวาระสุดท้ายของโลกมาถึง พรเจ้าจะเสด็จมายังโลกมนุษย์อี พระเจ้จะทรงฟื้นมนุษย์ทั่้งหลายที่เสียชีวิตไปหมดแล้วใหมีชีวิตขึ้นจมาใหา่ หลังจากนั้นพรเจ้าจะทรงพิพากษาแบ่งแยดว่าผุ้ใดที่จะได้ไปอยู่ในเทวนครคือชีวิตที่มีความเป็นนิรันด์กับพระเจ้า และผุ้ใดที่จะต้องถุกลงโทษโดยกรต้องไปทนทุกข์ทรมานกับซาตานในนคร เคน ได้เป็นผุ้ก่อตั้งเมืองแห่งปีศาจหรือมนุษยนคร ดังนั้น เมืองของปีศาจจึงเป้นเมืองแห่งความชั่วร้าย ส่วนเทวนครจึงเป้ฯอาณาจักรของพระเจ้า ศาสนจักรมีรากฐาน และเป็นภาพสะท้อนของอาณาจักรบนสวรรค์ นั่นคือ โลกนี้ประกอลด้วยเมืองสัญลักษณ์ 2 เมือง คือ เมืองแห่งความดีและเมืองแห่งความชั่ว เมืองแห่งความดีเป็นตัวแทนแห่งพระจเ้า เมืองแห่งความชั่วเป็นตัวแทนแห่งปีศาจ
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น