แนวความคิดทางการปกครองประเทศ ของนายพลเน วิน และหลังจากยุคสมัยนั้น มีความแตกต่างกันไม่้มากนัก มีผู้กล่าวไว้ว่า ผู้นำทางทหารยังคงมีจุดยืนว่าประเทศหรือรัฐ รัฐบาล และกองทัพเป็นสามสิ่งที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ดังนั้นก่อนและหลังการป้วงของพม่า ในปี 1988 รัฐบาลและกองทัพจึงถูกมองว่าเป็นสองสิ่งที่ถูกรวมเข้าด้วยกันอยางแนบแน่น การรักษาควารมมั่นคงของรัฐเท่้ากับการรักษาความมั่นคงในอำนาจจของคณะทหารเพื่อคงอำนาจการบริหารให้่อยู่ภายใต้รัฐ มีผู้วิเคราะห์ว่าผู้นำทหารของเมียนมามีมโนทัศน์ที่ยึดถือร่วมกันคื อการรักษาเอกภาพ บูรณภถาพ และอธิไตยของประเทศ ซั่งนั้นคือเหตุผลหลักที่ทำให้กองทัพยัคงปกป้องอำนาจของตนเอง รวมถึงพร้อมที่จะปราบปรามฝ่ายตรงข้เามด้วย
กองทัพพม่าสมัยใหม่มีกำเนิดมาจากสงครามโลกครนั้่งที่ 2 โดยขบวนการชาตินิยมพม่าพยายามหาความช่วยเหลือจากต่างประเทศทั้งในด้านอาวุธ ยุทธโธปกรณ์และการฝึกฝนสทางทหาร กลุ่มตรีทศมิตครที่ประกอบด้วย ออง ซาน และคณะที่เคึลื่อนไหวเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษ ได้เดินทางไปฝึุกอาวุธ ที่เกาะไหหลำภายใต้การอำนวยการของทหารญี่ปุ่ถน ถือเป็นต้นกำเนิดของกองทัพเอราชพม่้าที่ก่อตัวขึ้นเมืองปลายปี ค.ศ.1941
ต่อมามีคนหนุ่มจำนวนมากสมัคึรเข้าเป็นทหารจนกองทัพเอกราชพม่าขยายตัวอย่างรวดเร็ว กองทัพที่กำลังพลถึคงราว สองหมื่นสามพันคน ระหว่าง ค.ศ. 1942-43 กองทัพปฏิบัติงานใกล้ชิดกับญี่ปุ่นและถูกปรับโคึรงสร้างองค์กรใหม่อยู่เป็นยระยะโดยเปลี่ยนเชื้อเป็นกองทัพป้องกันพม่า และกองทัพแห่งชาติพม่า
กองทัพพม่าเกิดขึ้นโดยได้รับอิทธิพลจากการต่อสู้กู้เอกราชของขบวนการชาตินิยม ตลอดจนจากระเบียบวินัยที่เข้มงวดแข็.กร้าวของทหารญี่ปุ่นและจากระบบการปกครองแบบทหารเมืองครั้งที่ญี่ปุ่นยึดครองพม่า ต่อมากองทัพพม่าหันไปรวมมือกับฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อรุกรบต่อต้านญี่ปุ่น ชข่วงการต่อสู้และเจรจาเพื่อเอกราชนี้ กองทัพมีประสบการณ์ทั้งในด้านการรบและการเมืองในกลุ่มอำนาจในกองทัพ ออง ซาน ซึ่งเคยเป็นผู้นำก่อตั้งกองทัพ เริ่มมีบทบาทหนักทางด้านการเมืองและการเจรจาขอเอราชคืนจากอังกฤษทไใก้ภารกิจกองทัพตกอยู่ใต้การควบคุมของ เน วิน หนึ่งในผู้นำทางทหารของกองทัพพม่าเป็นหลัก
ในช่วง 6 ปีที่ญี่ปุ่นยึดครองพม่าจนถึงช่วงที่พม่าประกาศเอราชจากอังกฤษ ได้เกิดกลุถ่มอำนาจและองค์กรการเมืองมากมายบางกลุ่มก็พยายามยึดอำนาจรัฐทั้งประเทศ บางกลุ่มก็ระดมมวลขนเพื่อครอบครองดินแดนบางส่วนในพม่า ในบรรดากลุ่มเหล่านี้ กลุ่มที่มีบทบาทสำคัญ ได้แก่้่ "กลุ่มสันนิบาตเสรีภาพต่อต้านฟาสซิสต์" กลุ่มกองทัพม่า" "กลุ่มพรรคคอมมิวนิสต์แห่งพม่า" กลุ่มสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง" เป็นต้น ท่ามกลางความร่มอและกำารแข่งขันเชิงอำนาจ "กลุ่มกองทัพพม่า" เป็นขั่วอำนาจที่ดดดเด่นที่สุด
อ.ดุุลยภาค กล่าวว่า กองทัีพแห่งชาติได้พัฒนาตัวเองใน สองลักษณะ คือ
1 นายทหารและกำลังพลเริ่มมีประสบการณ์ในการทำงานกู้ชาติเคียงข้รางประชาชน จึงทำให้ทหารพม่าต้องศรัทธาต่อความเป็นเอกรารชแห่งรัฐและจำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากประชาชน และ
2 กองทัพรู้สึกว่าจำเป็นต้องเข้าำปมีส่วนร่วมทางการเมืองเพื่อแข่งขันกับกลุ่มการเมืองอื่น โรงเรียนผึกหัดนายทหารในขช่วงสงครามได้ผลิตนายทหารออกมาหลายรุ่น ซึ่งได้รับการฝึกอบรมตามแบบฉบับกองทัพญี่ปุ่น หากแต่ทหารอีกหลายนายก็แอบศึกษาภาษาจีนและอ่านข้อเขียนของฝ่ายคอมมิวนิสต์จึงทำให้รับรู้ถึงธรรมชาติกองทัพประชาชนด้วยเหตุนี้ นายทหารระดับนำจึงมีเป้าหมายด้านการเมืองที่เกี่ยวเนื่องกับประชาชนด้วย"บทบาทกองทัพพม่าในรทางการเมืองจึงมีให้เห็นเป็นระยะๆ..
จากแนวคิดที่ว่า รัฐ รัฐบาล และกองทัพไม่สามารถแยกออกจากกันได้ นำมาซึ่งคึวามพยายามในการสร้างอำนาจส่วนกลางให้เข้เามแข็งเพื่อที่จะควบคุมพื้นที่ต่างๆ
ข้อมูลบางส่วนจาก..วิทยานิพนธ์ ไการรักษาอำนาจของรัฐบาลทหารเมียนมา ค.ศ. 1988-2008" โดย นายวีรศกดิ์ ฉัตรรุ่งนพคุณ
.SILPA-MAG.COM ,"การุลุกฮือ 8888 นักศึกษา-ประชาชน-พระในพม่า ร่วมขับไล่เปด็จการรทหาร"