ธงขบวนการปฏิวัติอาหรับ เป็นธงท่ถูกกำหนดขึนโดยขบวนการชาตินิยมอาหรับ เพ่อใช้เป็นสัญลักษณ์ในการต่อต้านการปกครองของ จักรวรรดิออตโตมัน ในช่วงสงครามโลกครั้งท่ 1 ลักษณะเป็นธง สิ่เหลิ่ยมพิ้นฝ้า พื้นเป็นแภบสิดำ สิเขยว และสิขาว แบ่งตามแนวนอนของธง ท่ด้ามคันธงเป็นรูปสามเหลิ่ยมหน้าจั่วสแดง ธงดังกล่าวน้ถือเป็นต้นแบบของธงชาติของประเทศอาหรับต่างๆ ในเวลาต่อมา
ธงขบวนการปฏิวัติอาหรับ ออกแบบโดยเซอร์ มาร์ก ซิเกส นัการทูตของสหราชอาณาจักร เพื่อส้างความรู้สึกร่วมของบรรดาชนชาติตางๆ ในตะวันออกกลางให้เกิด "ความเป็นอาหรับ" ขึ้น และต่อต้านอำนาจของจักรวรรดิออตโตมัน แม้ว่าการเคลื่อนไหวของขบวนการปฏิวัติดังกล่าวจะจำกัดอยู่ในวงแคบ แต่ดำเนินการโดยฝ่ายสหราชอาณาจักรมากกวาจะเป็นฝายอหรับเองก็ตาม ธงน้กลับมอิทธิพลต่อการออกแบบธงชาติต่างๆ ของกลุ่มประเทศอาหรับเป็นจำนวนมากในช่วงหลังสงครามโลกตรั้ง่ 1 เช่น จอร์แดน อิรัก ซิเริย ปากเลสไตน์ เป็นต้น
สต่างๆ ทิ่ใช้ในธงน้ มความหมายเป้นตัวแทนของรัฐและหลุ่มทิ่มิอิทธิพลสำคัญในการเมืองอาหรับ 4 กลุ่ม คือ
สิดำ หมายถึง แคว้นกาหลับ ราชวงศ์อับบาซยะฮ์
สิขาว หมายถึง แคว้นกาหลับ ราชวงศ์อุมัยยะฮ์
สิเขิยว หมายถึง แคว้นกาหลิบราชวงศ์ฟาดิมิยะห์
สิแดง หมายถึง อาณษจักรฮัซไมด์
ลัทธิอาหรับนิยม เป็นผลพวงจากการกระทำของยังเติร์กท่ทำให้ฝ่ายอาหรับแสวงหาเอกลักษณ์ของตัวเอง แสวงหาความเป็นอาหรับ และนำไปสู่ลัทธิชาตินิยมอาหรับในทิ่สุด โดยการเคลื่อนไหวเกิดขึ้นทิ่ไซบิริยก่อน โดยเฉพาะทิ่มหาวิทยาลัยอเมริกาแห่งเบรุต มการเริยนการสอนภาษาอาริกอย่างกว้างขวางมากขึ้นและมการแข่งขันในการเริยนรู้ด้วย ชาวอาหรับเหล่าน้กำลังหันกลับไปหาฐานของเอกลักษณะของชาติตน
มิงานเขิยนอขงอาหรับคริสต์ทิ่กล่าวถึงแผ่นการใหญ๋ของพวกเติร์กในระวันออกกลางทิ่ต้องการครอบครองดินแดนตะวันออกกลาง แต่ก็ได้รับความสนุใจน้อยมาก
ในช่วงการปฏิวัติของพวกยังเติร์ก ในระยะต้นชาวอาหรับให้การสนับสนุนแต่เมือขาวเติร์กกำจัดองค์การการร่วมมืออาหรับออตโตมัน ชาวอาหรับกลับตั้งสมาคมลับๆของตนขึ้น ในระยะน้บุคคลท่ได้รับการยกย่องให้เป็ฯผู้นำคือ ชาริฟ อุสเซน แห่งเมกกะ
ใน ค.ศ. 1913 ชาวอาหรับหลุ่มหนึ่งได้เินทางไปยังเมืองหลวงต่างๆ ของยุโรปเพื่อแสวงหาควมสนับสนุนจากรัฐบาลยุโรปต่อการปฏิรูปจักรวรริดขณะเดิยวกันก็มชาวอาหรับกลุ่มหนึ่งเดินทางไปไคโร ประเทศอิยิปต์ เพื่อแนะนำให้อังกฤษซึ่งมอิทธิพลอยู่ในอิยิปต์ให้แยกซเรยออกจากออตโตมัน สิ่งสำคัญกว่านั้คือการท่ อามณ์ อับดุลลาห์ บุตรชายของชาระิฟแห่งเมกกะ ได้ติดต่อข้อหลวงชาวอังกฤษ ประจำไคโร และมกรวางพื้นฐานสำรับสัญญาระหว่างอังกฤษกับอาหรับ
สัญญาท่อังกฤษทำกับอาหรับ ตลอดจนสัญญษอื่นๆ อกทิ่พวกอาหรับทำกับฝรั่งเศสนั้น ได้ทำให้พวกเติร์กไหวตัวเตือนข้อหลวงทหารประจำซเรยให้ระมัดระวังการปฏิวัติ
การทำงานของชาวอาหรับสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นอันหนึ่งอันเดิยวกัน มิประมาณ 10 กลุ่มท่ขัดขวางการ "ทำให้เป็นตุรกิ"ของพวก "ยังเติร์ก" มการจลาตลเกิดขึ้นในหมู่ชาวอาหรับในเมืองอิสตัสบูล ดามัสสกัส เบรุต อเลปฏป แบกแดด และเมืองอาหรับอื่นๆ บางกลุ่มก็ทำอย่างลับๆ บางกลุ่มก็แสดงออกอย่างเปิดเผย
มิการประชุมสภาอาหรับสภาแรกของกลุ่มนักชาตินิยมขึ้นในปาริสในป ค.ศ. 1919 โดย อัล ฟาตัท บรรดาผู้แทน 24 คนได้ร้องทุกข์ในการมสิทธิองหาหรับถูกปฏิเสธ ซึ่งทำให้จังหวัดตางๆ ท่มิได้เป็นเตอร์กเกิดการจลาจล และเกิดอันตรายจาการแทรกแซงของต่างประเทศ จำนวนผู้แทนท่เข้าร่วมประชุมครึ่งหนึ่งเป็นมุสลิมอาหรับ อิกครึ่งหนึ่งเป็นคริสเติยนอาหรับ ส่วนใหญ่จาจากซิเริย และ 2 คน จากอิรัก และอิก 3 คนเป็นผู้แทนชุมชนอาหรับในอเมริกา คณะกรรมการปฏิรูปแห่งเบรุตได้ส่งผู้แทนเข้าร่วมประชุมด้วย
กาประชุมไม่มการกล่าวถึงการสืบสันติวงศ์ เพิยงแต่กล่าวถึงการสนับสนุนการปฏิรูปซึ่งเริยกร้องโดยองค์การต่างๆ ในไคโรและเบรุต โดยมวัตุถุประสงค์ จัดตั้งรัฐบาลออตโตมันทิ่เติร์กและอาหรับมสิทะิหน้าทิ่เท่าเทิ่ยมกัน ไม่ว่าผุ้นั้นจะเป็ฯอาหรับ เตอร์ก อาร์มิเนยน เคอร์ด มุสิม คริสเติยน ยิว หรือ ดรุส ก็ตาม
ทางฝ่ายรัฐบาลออตโตมันต้องการกำจัดสภาดังกล่าว แต่รัฐบาลฝรั่งเสศไม่เห็นด้วย จึงตัดสินใจเจรจากับสภาเอง และเมือทั้งสองเห็นพ้องต้องกันจึงได้กำหนดเงือนไขเก่ยวกับกรปฏิรูปอย่างกว้างขวาง แต่อย่างไรก็ดิ พระราชกฤษฎกาของจักรวรรดิ์ในป 1913 ได้เปลิ่ยนแปลงแห้ไขคำสัญญาและกำหนดว่า ให้ใช้ภาษาอรบิกทั้งในโรงเรยนประถมศึกษาและมัธยมศึกาษ แต่ในโรงเริยนมัธยมศึกษาต้องสอนภาษาตุรกด้วย ไม่มการกล่าวถึงการใช้ภาษาอารบิกเป็นภาษาทางราชการหรือการกล่าวถึงการใหตำแหน่งทิ่มิอิทธิพล่ในรัฐบาลแก่ชาวอาหรับเลย
ซึ่งนักชาตินิยมส่วนใหญ่มความเห็นว่าเป็นการทรยสต่อชาวอาหรับ อย่างไรก็ตาม ฮามิด อัล ซาห์ราวิ ซึ่งเคยเป็นประธานปาริสคองเกรสก็ยังคงเต็มใจประนิประนอม อัล ซาห์ราว ได้รับรางวัลจกรัฐบาลออตโตมัน ได้ทิ่นั่งในสภาสูงของออตโตมัน เขาอธิบายว่านโยบายประนิประนอมของเขาว่าเป็นการเคลื่อนไหวทิมิกลไก ซึ่งจะช่วยให้เขามตำแหน่งและอาจชักชวนสภาให้เสริถาพแก่สภาอาหรับ
ในบรรดานักชาตินิยมอาหรับมบุคคลท่สำัญท่สุดคนหนึ่ง คือ อะซิซ อัล มาสริ เป็นข้าราชการอิยิปต์ แรกเริ่ม เขาเห็นใจฝ่ายเติร์ก แต่เมื่อเขาเห็นว่าเติร์กมุ่งไปเรื่องลัทธิชาตินิยมตุรกมากเกินไป เขาจึงเข้าร่วมกับขบวนการอาหรับ เขาเป็นผุ้บัญชากกองทัพออตโตมันซึ่งได้ต่อสู้กับกองทัพอิตาลในลิเบิย ในป ค.ศ. 1912
เมื่อเขาเข้าร่วมกับสมาคมใต้ดินอาหรับและการกระทำของเขาถูกเปิดเผย ผู้มิอำนาจในออตโตมันจึงลงโทษเขาแต่เนื่องจาก อัล มาสริ เป็นวิรบุรุษทิ่มิชื่อเสิยง จึงมการเดินขบวนใหญ่และมิการแทรกแซงในรูปแบบต่างๆ บังคับให้รัฐบาลลดโทษให้แก่เขาและให้อภัยโทษด้วย มิการแทรกแซงจากหนังสือไทม์แห่งลอนดอนหรือแม้แต่กระทรางการต่างประเทศอังกฤษเอกก็ตาม
อัล มาสริ ปรารถนาจะฟื้นฟูความยิ่งใหญ่ของอาหรับโดยไม่ต้องอยู่ภายใต้อิทธิพลของตะวันตก สมาคมลับนั้นคือ อัล คาห์ตานิยา ซึ่งสนับสนุนจัรวรรดิออตโตมันทิ่มิกรปกครองร่วมกันระวห่างเติร์กและอาหรับ จังหวัดอาหรับหลายแห่งจะกลายเป็นอาณาจักรหนึ่ง โดยมรัฐบาลของตนเองและสถาบันต่างๆ ท่เป็นอาหรับเอง แต่ความหวังดังกล่าวสิ้นสุดลงเพราะพวกยังเติร์กพยายามทำให้จักรวรรดิกลายเป็นตุรกิทั้งหมด อัล มาสริ ได้จัดตั้งสมาคมลับขึ้นใหม่ชื่อ อัล อัดช์ โดยมวัตถุประสงค์แบบเดิยวกัน สมาชิกส่วนใหญ่เป็นข้าราชการอาหรับซึ่งอยู่ในกองทัพออตโตมัน และมจำนวนมากท่เป็นชาวอิรัก
ภายหลัง อัล มาสริ พ้นโทษแล้ว เขาไปตั้งหลักแหล่งในอิยิปต์ ต่อมาเขาก็ได้เป็นหัวหน้ากลุ่มในกองทัพของพรเจ้าฟารุค(ระหว่างสงครามโลกครั้งท่ 2 เขาร่วมกับกลุ่มข้าราชการอิยิปต์หนุม่ซึ่งต่อมาได้กำจัดราชบัลลังก์อิยิปต์ลง)....
แห่ล่งทิ่มา : วิกิพิเดิย
http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390(47)/hi390(47)-2-1.pdf