วันศุกร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

Emancipation Proclamation


              การขยายตัวอย่างรวดเร็วมากของดินแดนในอาณัติของสหรัฐ ระหว่างการประกาศอิสรภาพจนถึงช่วงสงครามกลางเมือง เป็นปัจจัยที่ก่อเกิดความขัดแย้ง ระหว่างคตินิยมที่สนับสนุนสถาบัทาส และคตินิยมที่สนับสนุนแผ่นดินที่ปลอดทาส ในครึ่งแรกของศตวรรษที่ 19 สหรัฐได้ที่ดินแดนเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัวภายในระยะเวลาสั้น ๆ ทั้งจากการซื้อ การเจรจา และการสงคราม เร่ิมจากการได้รับโอนพื้นที่ลุยเซียนามาจากนโปเลียนในปี 1803 ต่อมาการออกเสียงให้ผนวกเท็กซัส ซึ่งประกาศตัวเป็นอสระจากเม็กซิโาในปี 1836 เขามาเป็นส่วนหนึ่งของสหรับในปี 1845 กลายเป็นชนวนก่อให้เกิดสงครามเม็กซิโก-อเมริกา ในระหว่างปี 1846-1848 ชัยชนะของอเมริกาในสงคราม เป็นผลให้สหรัฐได้ผนวกดินแดนใหม่ๆ เพิ่มขึ้นอีก แต่การขยายดินแดนอย่างต่อเนื่องก็ก่อให้เกิดปัญหาขัดแย้งไม่รู้จบ ในเรื่องความชอบด้วยกฎหมายของการมีทาศในดิแนดที่ถูกผนวกเข้ามา ซึ่งถือเป็นประเด็นที่ส้่งผลกระทบดดยตรงต่อทิศทางทางเศราฐกิจในพื้นที่ใหม่ โดยก่อนหน้านี้ การประนีประนอมมิสซูรี ปี 1820 ตกลงห้ามการขยายตัวของสถาบ้นทาสไปในพื้อนที่ตอนเหนือของพื้นที่รับโอนหลุยส์เวีนนาที่ยังไม่ได้จัดตั้งเป็นเขตปกครอง งเพื่อแลกเปลี่ยนกับการยอมให้มีการสถาปนามิสซูรีขึ้นเป็นรัฐที่การมีทาสเป็นสิ่งถุกกฎหมาย สำหรับกรณีพิพาทในพื้นที่อันผนวกเข้ามาใหม่หลังสงครามเม็กซิโก-อเมริกันมีการเสนอ เงื่อนไขวิลม็อท โดยเงื่อนไขนี้ต้องการให้ดินแดนใหม่ที่ผนวกเข้าเป็นดินแดนที่ปลดจากสถาบันทาส แต่ในขณะนั้นนักการเมืองจากฝ่ายไใต้ครองที่นั่งมากกว่าในวุฒิสภา เงื่อนไขวิลม็อทจึงถุกสกัดกั้นและได้รับการโหวตให้ตกไป

          การประนีประนอมเกิดขึ้นในปี 1850 โดยมีการแก้ไข รัฐบัญญํติไล่ล่าทาศหลบหนี ให้เข้มงวดขึ้นไป
อีก เพื่อชดเชยกับการยอมให้รัฐแคลิฟอร์เนยที่รับเข้ามาใหฒ่เป็นรัฐปลอดทาส มีการกำหนดโทษกับผู้รักษากฎหมายในมลรัฐใดๆ ที่ไม่ยอมปฏิบัติตามและยังคับใหช้กฎหมายนี ดงนี้นสำหรับรัฐทางฝ่ายเหนือแล้วกฎหมายไล่ล่าทาศหลบหนีฉบับแก้ไขปี 1850 จึงมีนยว่าประชาชนอเมริกันทัี่วๆ ไปก็มีหน้าทต้องให้ความช่วยเหลือนักล่าทาศหลบหนีจากทางใต้ ความรุ้สึกต่อต้านสถาบัทาสในจิตใจคนอเมริกันจึงเพ่ิมขึ้นเป็นวงกว้าง มีผุ้เข้าร่วมการเคลื่อนไหวในเครื่อข่าย Underground Railroad (เป็นคเรือข่ายเส้นทางลับและบ้านพักที่ปลอดภัยซึ่งก่อตั้งขึ้นในสหรัฐฯ ใช้เส้นทางนี้เป็นกลักเพื่อหลบหนีไปยังรัฐที่เป็นอิสระและไปยังแคนาดา) ของขบวนการเลิกทาสเพื่อขึ้นอย่างต่อเนื่อง

           แม้ประชาชนส่วนใหญ่ของสหรัฐ ซึ่งอาศัยกระจุกตัวอยุ่ในพื้นที่ทางตอนเหนือ จะไม่เห็นด้วยกับการคงไว้ซึ่งสถาบันทาส แต่การแทรกแซงโดยตรงจากรัฐสภาให้มีการยกเลิกหรือเพียงแต่จำกัดการขยายตัวของสถาบันทาสไม่ว่าในพื้นที่ใดของสหรัฐ ก้ยังเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนอย่างยิ่ง เนื่องจากแนวคิดทาง

กฎหมายรัฐะรรมฯูญในขณะนั้นยังไม่มีบทคุ้มครองห้ามเหลือปฏิบัติต่อประชาชนอเมริกันด้วยเหตุผลทางสีผิว หรือศาสนา และยังคงถือว่าแต่ละรับมีอำนาจจะกำหนดสิทธิหน้าที่ (ซึ่งรวมถึงสิทธิเลือกตั้ง) ของพลเมืองในรัฐอย่างไรก็ได้ แนวคิดหนึ่งที่ยอมรับอย่างกว้างขวางคือ การถือว่าประเด็นเรื่องสถาบันทาสเป็นเรื่องของอำนาจอธิปไตยของปวงชน มากกว่ที่จะเป็นการเมืองในรัฐสภา และคนท้องถ่ินย่อมมีสิทธิจะโหวตเสียกำหนดเอาเองในพื้นที่ที่ตนอาศัยอหรือท้องที่ซึ่งตนเข้าไปบุกเบิก แนวคิดเรืองอธิปไตยปวงชนนี้ถูกสอดเข้าไปในนธยบายของรัฐบาลกลาง ที่สนับสนุนการขยายการตั้งรกรากของประชกรเข้าในพื้นที่ที่ยังไม่ได้รับการบุกเบิกในทิศตะวันตก ตั้วอย่างที่สำคัญคือ กฎหมายแคนซัส-เนบรสาก ปี 1854 ซึ่งร่างโดย วุฒิสมาชิก สตีเฟน เอ. ดักลาส กฎกมายฉบับนี้มีวัตถุปรสะงค์จะให้คนเข้าไปจับจองพื้นที่ที่ทำินตามแนวทางรถไฟข้ามประเทศที่กำลังก่อสร้าง โดยผนวกเอาแนวคิดเรื่องอธิปไตยของปวงชนไว้ แต่กลับว่านำไปสู่การนองเลือดที่รู้จักกันในชื่อ  "แคนซัสหลังเลือด" Bleeding Kansas เมือนักบุกเบิกอุดมการณ์ " แผ่นดินเสรี" เข้าปะทะกับนักบุกเบิกที่สนับสนุนสถาบันทาสจากรัฐมิสซุรีใกล้เคียง ซึ่งแห่กันเข้ามาในแคนซัสเพียงเพื่อที่จะออกเสียงลงมติรับรัฐะรรมนูญของรัฐ การใช้ความรุนแรงดังกลาวเกิดขึ้นอยุ่นานหลายปี ทำให้มีผุ้เสียชีวิตอยางน้อยหกสิบคน และอาจถึงสองร้อยคนภายในแค่สามเดือนแรก

          "(พวกนิโกร) เป็นพวกที่ถูกถือว่าเป็นมนุษย์ในอันดับที่อ้ยกวามาเป็นเวลากวาหนึ่งศตวรรษท จึงบ่อมเป็นการไม่เหมาะสมในทงใดๆ ที่จะนำพวกนี้มาเปรียบเทียบกับคนผิวขาว ไม่ว่าจะในทางความสัมพันะ์ทางสังคม หรือในทางการเมือง และต่ำชั้นกว่าอย่างไกลลิบ จนถึงขนาดว่าพวกนี้ไม่มีสิทธิใดๆ ที่คนผิวขาวจำเป็นจะต้องเคารพ และพวกนิโกรจึงอาจลดฐานะลงมาเป็นทาาสเพื่อประโยชน์ของคนขาว โดยชอบด้วยความยุติะรรม โและโดยชอบด้วยกฎหมาย"

           คำพิพากษาคดี เคร็ด สก็อตต์ ถุกวิพิากษ์วิจารณ์อย่างรุนแรง ทั้งโดยสือ่ และนักากรเมืองฝ่ายเหนือซึ่งถือว่าคำพิพากษานี้ในคำปราศัย ไครัวเรือนไหนแตกแยกกันเอง ครัวเรือนนั้นจะตั้งอยุ่ไม่ได้" ของคนที่รัฐอิลินอยส์ ในปีเดียวกัน โดยเตือนถึงภัยของคำพิพากษา เดร็ต สก็อตต์ Dred Scott ที่จะเปลี่ยนอเมริกาทั้งประเทศให้กลายเป็นดินแดนที่การมีทาศป็นเรื่องชอบด้วยกฎมหาย และท่านยังทำนายว่าอเมริกาจะไม่แบ่งแยกตลอดไป แต่มีชะตากรรมที่จะต้องเปลี่ยนไปในทางใดทางหนึ่ง ซึ่งหากไม่ใช่ว่าการมีทาศจะหลายเป็นเรื่องถุกฎหมายทั้งประเทศ ก็ต้องเป็นว่าการมีทาสจะต้องไม่มีอยุ่อีกต่อไป นอกจากนี้คำพิพากษา เดรด สก็อต ยังม่ส่วนผลักดันให้ขบวนการ จอห์ บราวน์ที่พยายามติดอาวุธให้กับทาสผิวดำเพื่อให้ก่อจลาจลที่ ฮาร์เปอร์ส เฟอร์รี่ เวอร์จิเนีย ในเดือนตุลาคม 1859

           การเลือกตั้งประะานาะิบดีสหรับปี 1860 เป็นเหตุการณ์สำคัญที่ผลักดันสหรัฐเข้าสุ่สงครามกลางเมือง ประธานาธิบดี เจมส์ บุแคนั้น ในขณะนั้นเป็นชาวอเมริกันทางตอนหนือที่มีความคิดเห็เข้าข้างฝ่ายใต้  โดยเเป็นคนเขียนจดหมายชักจูงให้ตุลาการสมทบแห่งศาลสุงสุดสหรับ โหวตร่วมกับฝ่ายเสียงข้างมากในคณะศาล ให้ เดรด สก็ตต์ แพ้คดี เพื่อให้ศาลเขียนคำพิพากษาปฏิเสะอำนาจของรับบาลกลางในประเด็นที่เกี่ยวกับควาชอบด้วยกฎหมายของสถาบันทาสแบบเด็ดขาด การเข้ากดดันตุลาการในคดี เครด สก็ตต์ ของ ประธานาธิบดี บูแคนั้น กลายเป็นเรื่องอื้ฉาว และก่อเกิดผลสะท้อนกลับเชิงลบทางการเมืองต่อพรรคเดโมแครด เป็นอย่างยิ่ง ความไม่พอใจในคำพิพากษา ของชาวอเมริกันในรัฐทางเหนือ ช่วยให้พรรครีพับลิกัน ได้รับชัชนะใด้ที่นั่งในสภาผุ้แทนเพื่อในการเลือกตั้งกลางเทอม ปี 1858 และเข้าควบคุมได้ทั้งสภาคองเกรสในการเลือกตั้งใหญ่ปี 1860

          ชัยชนะของ อับราฮัม บินคอล์น แห่งพรรครีพับลิกัน เป็นผลจากความระส่ำระสายภายในของพรรเดโมแครต เหนืองจากตัวแทนจากรัฐทางตอนใต้ซึ่งเป็นพวกสนับสนุนสถาบันทาศ และคำพิพากษา เครด สก็ตต์ พากัน "วอล์กเอ้าท์ไ จาการประชุมแห่งชาติของพรรคเดโมแครต เพื่อประท้วงการที่ที่ประชุมปฏิเสธไม่รัีบมติสนับสนุนนดยบายขยายสถาบันทาส โดยการใช้กฎหมายทาส ในทุกพื้นที่ของสหรัฐ สมาชิกของพรรคเดโมแครตจึงแตกออกเป้ฝ่ายเหนือและใต้ ที่มา : วิกิพีเดีย

          

วันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

Antifa

           ขบวนการแอนติฟา ก็เหมือนกับฝ่ายขวาจัดที่ไม่มีการจัดตั้งเป็นองค์กรที่มีโครงสร้างแน่นอน แต่รวม
ตัวกันหลวมๆ เป็นเครือข่ายทั่วโลกผ่านสื่อสังคมออนไลน์โดยสมาชิกส่วนมากเคลื่อหนไหวอยุ่ในสหรัฐฯ สหราชอาณาจักร และเยอรมัน

         ขบวนการแอนติฟาก่อกำเนิดขึ้นครั้งแรกเมือปี 1932 ที่เยรมนี เพื่อเป็นกลุ่มต่อสุ้ติดอาวุธให้กับชวนการซายจัดใช้ต่อกรกับพรรคนาซีที่เติบโตอย่างรวดเร็วในขณะนั้นแต่กลุ่มแอนติฟายุคเริ่มแนกถูกฮิตเลอร์สังยุปไปเมือปี 1933 กระทั่่งได้รับการฟื้นฟูขึ้นมาใหม่ในช่วงทศวรรษ 1980 เพื่อตอสู้กับพวกนาซีใหม่หลังการล่มสลายของกำแพงเบอร์ลิน 

         หลังการก้าวขึ้นมาดำรงตำแหน่งผุ้นำสหรับฯ ของนายโดนัลด์ ทรัมป์ จุดกระแสให้ขบวนการแอนติฟาในอเมริกาเคลื่อนไหวอย่างคึกคักอีกครัง ดดยมีการจับมือกับขบวนการ Black Lives Matter - BLM (ชีวิตคนดำมีค่า และสร้างเครือ่ายกับกลุ่มนิยมอนาธิปไตยอีกหลายกลุ่ม...https://www.bbc.com/thai/international-40985405

         ในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา กลุ่มแอนติฟาในสหรัฐมักเคลื่อนไหวเกี่ยวกับประเด็นความยุติะรรมด้านต่างๆ ในสังคม รวมถึงต่อต้านการเหยียดผิว 

        " เราเชื่อและจะต่อสุ้เพื่อโลกที่ปราศจากฟาสซิสต์ ลัทธิเหยียดเชื้อชาติ ลัทะิเหยียดเพศ ลัทธิรังเกียจเพศทางเลือก ลัทะิต่อต้านยิว ลัทธิต่อต้านอิสลาม และลัทธิคลั่งศาสนา" กลุ่มแอนติฟานิวยอร์กทวีต

        อย่างไรก็ตาม จุดยืนในหลัการของกลุ่มหลายเป็นการต้อต้านการถือกำเนิดของกลุ่มนาซีใหม่ หรือ นีโอนาซี  Neo-Nazi และกลุ่มเชิดชุคนขาว White Superacist หนึ่งในกลุ่มแอติฟาที่เก่าแก่ที่สุดในสหรัฐ กลุ่ม "โรส ซิตี แอนติฟา" ในเมืองพอร์ตแลนด์ รัฐออริกอน ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี 2007 เพื่อปิดเทศกาลดนตรีที่เรยกว่า "แฮมเมอร์เฟสต์ไ ของกลุ่มสกินเฮดสมาชิกลัทะินาซีใหม่

         กลยุทธ์การเคลื่อนไหวของแอนติฟาในสหรัฐส่วนใหญ่มักเป็นการออกไปเคลื่อนไหวพร้อมกับกลุ่มสุดโต่งปีกขวาและจัดม็อบชนม็อบ แต่หลังจาการชนะเลืกตั้งของทรัมป์ในปี 2016 ทำให้กลุ่มปีกขวาเติบโตขึ้นอย่างมาก แอนติฟาจึงหันมาใช้การเผชิญหน้ากับกลุ่มนี้โดยตรง และใช้วิธีการยขัดขืนที่มีการทำลายทรัย์สิน ในเดือน สิงหาคม ปีเดียวกัน อนติฟายังเป็นแนวหหน้าในการเดินขบวนคุ่ขนาน ขณะที่กลุ่มเชิดชูคนขาวและนีโอนาซีเดินขบวนในเมืองชาร์ลอตต์วิลล์รัฐเวอร์จิเนย และมีส่วนร่วมในเหตุทำร้ายร่างกายกลุ่มหัวเอียงขวาเหล่านี้เด้วย หลังจากนั้นมา ทั้งสองฝ่ายยังก่อเหตุยั่วยุและทะเลาะวิวาทกันอีกหลายครั้งรวมถึงเหตุการณืในเมืองพรอ์ตแลนด์และเมืองเบิร์คลีย์ รัฐแคลิฟอร์เนีย

          นอกจากคำพูดจากทรัมป์และเจ้าหน้าที่ใกลบ้ชิดของเขา เจ้าหน้าที่รัีฐบาลกลางหรือจ้าหน้าที่ระดับท้องถ่ินของสหรับต่างระบุว่า เหตุรุนแรงและการทำลายทรัพย์สินในเมืองต่างๆ ทั่วประเทศ เกี่ยวข้องกับหลายกลุ่ม ทั้งฝ่ายขวาและซ้าย รวมถึงกลุ่มแอนติฟาด้วย "กลุ่มก่อการร้ายภายในประเทศกลุ่มต่างๆ ทังจากฝ่ายซ้ายจัดและขวาจัดกระตุ้นและก่อเหตุรุนแรงและปล้นสะดม" มาร์โก รุบิโอ ส,ว,รัฐฟลอริดา ซึ่งเป็นประธาคณะกรรมกาะิการข่าวกรองวุฒิสภาที่รับรายงานสรุปจากเจ้าหน้าที่ข่าวกรองระดับสูง เปิดเผยในเวลาต่อมา

         ขณะที่สำรักข่าวเอบีซีนิวส์ รายงานว่า ข่าวกรองจากกระทรวงความั่นคงแห่งมาตุภุมิโทษวาผุ้ก่อเหตุรุนแรงมาจากทั้ง 2 ขั้วการเมือง 

          ด้านเจ้าหน้าที่ในเมือมินนิโซตา ระบุว่า ข้อมุลทีพวกเขามีอยุ่บ่งชี้ว่า ผุ้ก่อเหตุจลาจลรุนแรง รวมไปถึงกลุ่มชาตินิยมผิวขาว กลุ่มอนาธิปไตยเอียงซ้าย และแม้แต่แก๊งยาเสพติด..https://www.bangkokbiznews.com/world/883309

         จอร์จ ฟลอยด์ ชายผิวดำวัย 46 ปี ผุ้ถูกจับกุมด้วยข้อหาใช้ะนบัตรปลอมราคา 20 เหรียญ เขาตายด้วยการขาดลมหายใจนาน 8 นาที จากการถุกกดคอด้วยเข่านาน 9 นาที ในวันที่ 25 พฤษภาคม 2020 "Please don't shoot me, Mr.Officer. Please, don't shoot me,man.Can you not shoot me, man? ตำรวจไม่ได้ยิงเขา แต่กดเขาไว้ด้วยเข่า และเขาขาดอากาศหายใจตาย

        หลังจากเขาตาย 26 พฤษภาคม ปีเดียวกัน เกิดการชุมนุมประท้วงที่สถานีตำรวจมินนีแอโพลิส เขต 3 ผุ้เดินขบวนได้ปะทะกับเจ้าหน้าที่ตำรวจซึ่งใช้แกํ๊สน้ำตา และกระสุนยาง ในวันที่ 27 ชายคนหนึ่งถุกยิงเสียชีวิตดดยเจ้าของโรงนรับจำนำที่คิดว่าชายผุ้นั้นกำลังขโมยของ.. เป็นเวลาหลายวันหลังการเสียชีวิตของฟลอยด์ ผุ้ประท้วงหลายร้อยคนได้มาชุมนุมที่ทางเข้าบ้านของชอวิน(ตำรวจผุ้วางเขาบนคอฟลอยด์)ทำให้เจ้าหน้าที่ตำรวจเขามาควบคุมเหตุการณ์ วันที่ 28 เจคอบ เฟรย์ นายกเทศมนตรีเมืองมินนีแอโพลิส ได้ประกาศสถานกาณ์ฉุกเฉิน และ ทิม วอลซ์ ผุ้ว่าการรัฐมินนิโซตา ได้รัองของเจ้าหน้าที่จากกองกำลังป้องกันชาติมินนิโซตา จำนวน 500 นายเข้าประจำการ ไม่ทันรุ่งเข้าในวันทัดมา ธุรกิจร้านค้าต่างๆ ในมินนิแอโพลิสเซนต์พอลได้ถุกปล้นและทำลายเพิ่มอีก วันที่่ 31 มีการประท้วองพร้อมกันมากกวา 100 เมืองในสหรัฐและนอกสหรัฐ เพื่อเรียกร้องความยุติะรรมให้กับฟลอยด์ https://th.wikipedia

           ชื่อของ "แอนติฟา" เป็นที่สนใจของคนทั่วโลกทันที เมือประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมปืของสหรัฐ โทษว่ากลุ่มนี่้อยุ่เบื้องหลีงเหตุประท้วงรุนแรงในสหรัฐ และขู่ว่าจะประกาศให้เป็น "กลุ่มก่อการร้าย" อย่างเป็นทางการในระดับเดียวกับ "ไอเอส" และ "อัลกอออดะห์" ทั้งดรเบิร์ต โอ' ไบรอัน ที่ปรึกษาด้านความมั่นคงแห่งชาติของทำเนียบขาวและ บิล ลาร์รัฐมนตรีกระทรวงยุติะรรมสหรัฐ ต่างกล่าวเป็นเสียงเดียวกันว่า "แอนติฟา" เครือข่ายนักเคลื่อนไหวซ้ายจัด เป็นกองกำลังหัวสุดโตรง ที่กระตุ้นให้เกิดการจลาจลระหวางการประท้วงในหลบายเมืองเพื่อรเียกร้องความยุติะรรมให้ "จอร์จ ฟลอยด์"..https://www.bangkokbiznews.com/world/883309

            

วันพุธที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

Black & White

             วิทยาศาสตร์การเหยียดเชื้อชาติ หรือการเหยียดเชื้อชาติทางชีววิทยารเป็น ความเชื่อทาง


วิทยาศาสตร์เทียม ที่ีว่ามนุษย์สามารถแบ่งย่อยออกเป็น taxon (เป็นกลุ่มของประชากรหนึ่งหรือมากกว่าของสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งมีชีวิตหนึ่งๆ ซึ่งนักอนุกรมวิธานมองว่าเป็นหน่วยหนึ่ง แม้ว่าทั้งสองอย่างจะไม่จำเป็น อนุกรมวิธาน ที่แตกต่างกันทางชีววิทยา ที่เรียกว่า "เผ่าพันธ์ไ และมี หลักฐานเชิงประจักษ์ทีสนับสนุนหรือพิสูจน์การเหยีดเชื้อชาติ ความด้อยกวาทางเชื้อชารติห หรือเหนือกว่า ทางเชื้อชาติ ก่อนกลางศตวรรษที่ 20 การเหยียดเชื้อชาตริทางวิทยาศาสตร์ได้รับการยอมรับ การเเบ่งมหนุษย์ออกเป็นหลุ่มที่แยกจากันทางชีววิทยา พร้อมกับการหนดลักษณะทางกายภาพและจิตใจเฉพาะให้กันกลุ่มเหล่านี้ผ่านการสร้างและการใช้แบบจำลองเชิงอธิบาย ทีสอดคล้องกัน เรียกว่า การเหยียดเชื้อชาติความสมจริงทางเชื้อชาติ หรือวิทยาศาสตร์ด้านเชื้อชาติ โดยผุ้ทีสนับสนุนแนวคิดเหล่านี้ แันทามติทางวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ปฏิเสธมุมองนี้ เนืองจากไม่สามารถประนีประนอมกับ การวิจัยทางพันธุกรรม สมัยใหม่ ได้

          การเเหยียดเชื้อชาติทางวิทยาศาสตร์ใช้ผิ ตีคามผิด หรือบิดเบื่อน มนุษยวิทยา (โดยเฉพาะมานุษยวิทยากายภาพ) การวัดกะโหลกศีรษะชีววิทยาวิวัฒนาการและสาขาวิชาอื่นๆ หรือสาขาวิชาเทียมผ่านการเสนอประเภท มานุษยวิทยา เพื่อจำแนกประชกรมนุษย์ออกเป็นเผ่าพันธุ์มนุษย์ที่แยกจากกันทางภายภาพ ซึ่งบางเผ่าพันธุ์อาจกล่าวได้ว่าเหนือกว่าหรือด้อยกว่าเผ่าพันธุ์อื่น การเหยียดเชื้อชาติทางวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องปกติในช่วงระหว่างปี 1600 ถึงสิ้นสุดสงครามโลกครั้งสอง และโดเด่นเป็นพิเศษในงานเขียนทางวิชาการของยุโรปและอเมริกาตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 19 จนถึงต้นศตวรรษที่ 20 ตั้งแต่ครึงหลังของศตวรรษที่ 20 การเหยียดเชื้อชาติทางวิทยาศาสตร์ได้รับการวิพากษ์วิจารณืว่าล้าสมัย แต่ยังคงถูกนำามาใช้เืพ่อสนับสนุนหรือยืนยันมุมมองโลกที่เหยียดเชื้อชาติโดยอาศัยความเชื้อในการมีอยุ่และความสำคัญของหมวดหมู่เชื้อชาติและลำดับชั้นของเผ่าพันธุ์ที่เหนือกวว่าและด้อยกว่า

            หลังจากสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง การเหยีอดเชื้อชาติทางวิทยาศาสตร์ทั้งในทางทฤษำีและการกระทถูกประณามอย่างเป็นทางการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในคำแถลง "ต่อต้านการเหยียดเชื้อชาติของยูเนสโก ในช่วงแรก The Race Question 1950 ซึ่งระบุว่า "ข้อเท็จจริงทางชีววิทยาเกี่ยวกับเชื้อชาติและตำนานเรื่อง "เชื้อชาติ" ควรได้รับการแยกแยะออาจากกัน สำหรับวัตถุประสค์ทางสังคม ตำนานเรือง "เชื้อชาติ" ได้สร้างความเสียหายต่อมนุษย์และสงคมอย่างมหาศาล ในช่วงไม่กีปี ตำนานนี้ได้คร่ชีวิตมนุษย์ไปจำนวนมากและก่อให้เกิดควาททุกข์ทรามนอย่างไม่รู้จบ  ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา การพัฒนาในพันธุศาตร์วิวัมนาการของมนุษย์และมานุษย์วิทยากายภาพ ได้นไปสู่ฉันทามติใหม่ในหมู่บรรดานักมานุษยวิทยาว่า เชื้อชาติที่ว่า เชื้อชาติมนุษย์เป็นปรากฎการณ์ทางสังคมและการเมืองมากกว่าทางชีววิทยา

          คำว่า การเหยียดเชื้อชาติทางวิทยาศสตร์มักใช้ในเชิงลบเมือนำไปใช้กับทฤษฎีที่ทันสมัยกว่า เช่น ทฤษฎีใน "เดอะ เบล เคลิบ" 1994 นักวิจารณืไโต้แย้งว่าผลงานดังกล่าวต้งสมมติฐานข้อสรุปที่เหยียดเชื้อชาติ เช่น ความเชื่อมดยงทางพันธุกรรมระหว่างเชื้อชาติและสติปัญญาซึ่งไม่มีหลักฐานยืนยัน สื่อสิ่งทพิมพ) ที่คำนึงถึงเชื่อชาติมักถุกมองว่าเป็นแพลตฟอร์มของการเหยียดเชื้อชาติทางวิทยาศาสตร์นืองจากสิ่งพิมพ์เหล่านี้เผยแพร่การตีควาาที่แปลกแยกของวิวัฒนาการมนุษย์สติปัญญาชาติพันธุ์วิทยาภาษาตำนานโบราณคดีและเชื้อชาติ

           โทมัส เจฟเฟอร์สัน เป็นนักการเมือง นักวิทยาศาสตร์ และเจ้าของทาสชาวอเมริกัน ผลงานของเขา
ต่อลั้ทธิเหยียดเชื้อชาติทางวิทยาศาสตร์ได้รับกรบันทึกดดยนักประวัติศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์  และนักวิชาการหลายคน ตามบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร "McGill Journal of Medicine: หนึ่งในนักทฤษำีเชื่อชาติก่อนยุคดาร์วินที่มีอิทะิพลมากที่สุด การเรียกร้องงของเจฟเฟอร์สัน ให้วิทยาศาสตร์กำหนด "ความต่อยกว่า" ที่ชัดเจนของคนอเมริกันเชื้อสายแอฟริกันเป็นขั้นตอนที่สำคัญอย่างยิ่งในวิวัฒนาการของลัทธิเหยียดเชื้อชาติทางวิทยาศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ เขียนลงใน "เดอะ นิวยอร์ก ไทม์" ว่า ไนฐานะนักวิทยาศาสตร์ เจฟเฟอร์สันคาดเดาว่าความดำอาจมาจาก "สีของเลือด" และสรุปว่าคนดำ "ด้อยกวาคนขาวในด้านร่างกายและจิตใจ ในบันทึกเกี่ยวกับรัฐเวอร์จิเนียไ เจฟเฟอร์สันบรรยายถึงความดำดังนี้ อย่างไรก็ตาม ในปี 1791 เจฟเฟอร์สันต้องประเมินความสงคสัยก่อนหน้านี้ของเขาอีกครั้งว่าคนผิวสีมีความสามารถทางสติปัญญาหรอืไม่ เมือเขาได้รับจดหมายและปฏิทินจากเบนจามิน แบนเหนเกอร์ นักคณิตศาสตร์ผิวสีที่มีการศึกษา เจฟเฟอร์สันรู้สักยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้ค้นพบหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่พิสูจน์การามีอยู่ของสติปัญญาของคนผิวสี จึงเขียนจดหมายถึง แบนเเนเกอร์ ดังนี้

           "ไม่มีใครอย่ากเห็นหลักฐานอย่างที่คุณแสดงให้เห้มากไปกวาแันวาะรรมชาติได้มอบพรสวรรค์ที่เท่าเทียมกับมนุษยืผิวสีอื่นๆ ให้แก่พี่น้องผิวสีของเรา และการขาดพรสวรรค์เหล่านี้ก็เป็นผลมาจากสภาพความเป็นอยู่ที่เสื่อมดทรมของพวกเขาทั้งในแอฟริกาและอเมริกาเท่านั้น แันสามารถพูดได้อย่างเต็มปากว่ไม่มีใครอยากเห็นระบบที่ดีเร่ิมต้นขึ้นเพื่อยกระดับสภาพร่างกายและจิตใจของพวกเขาให้สุงขึ้นอย่างที่ควรจะเป็น เร็วเท่ากับความโง่เขลาของการดำรงอยู่ปัจจุบันของพวกเขาและสถารการณ์อื่นๆ ที่ไม่สามารถละเลยได้"

           ชาร์ลส์ ดาร์วิน 1809-1882 เป็นนักธรรมชาติวิทยานักะรณีวิทยาและนักชีววิทยา ชาวอังกฤษ เป็นที่รุ้จักกันอย่างกว้างขวางสำหรับผลงานของเขาในด้านชีววิทยาวิวัฒนาการข้อเสนอของเขาที่วาสิ่งมีชีวิต
ทุกสายพันธุ์สืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษร่วมกันเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปและถือเป็นแนวคิดทางวิทยาศาสตร์พื้้นฐานในปัจจุบัน ดาร์วินได้รับการอะิบายว่าเป็นหนึ่งในบุคคลที่มีอิทธิพลมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษย์และได้รับเกี่ยรติโดยการฝังศพในเวสต์มินสเอตร์แอป

         ดาร์วินเป้นคนสายกลางในการอภิปรายเกี่ยวกับเชื้อชาติในศตวรรษที่ 19 เขาไม่ใช่พวกเหยียดผิว เขาเป้นผุ้ต่อต้านการค้าทาสอย่างแข็งกร้าว แต่เขาคิดว่ามีเชื่อชาติที่แตกต่างกันซึ่งสามารถจัดลำดับขั้นได้

        นักประวัติศาสตร์ เขียนไว้ว่า แม้ว่าลัทธิดาร์วินจะไม่ใช่้แหล่งที่มาหลักของอุดมกาณ์อันก้าวร้าวและการเหยีดเชื้อชาติที่ยึดมั่นในหลักการในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 แต่ก็กลายมาเป็นเครื่องมือของนักทฤษำีเกี่ยวกับเชื่อชาติและการต่อสู้...อารมณ์ของลัทธิดาร์วินช่วยรักษาความเชื่อในความเหนือกว่าทางเื ้อชาติของชาวแองโกล-แซซอน วึ่งเป็นสิ่งที่นักคิดขาวอเมริกันหลายคนหมุกมุ่นในช่วงครึ่งหลัีงของศตวรรษที่ 19 การวัดระดับการครอบครองโลกที่ "เผ่าพันธ์" บรรลุแล้วดูเหมือนจะพิสูจน์ให้เห็นว่าเผ่าพันธุ์นี้เหมาะสมที่สุด"

          ชาตินิยมของลาปูแลเอร์เดอร์ 

          ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 แนวคิดเรื่องเชื้อชาติทางวิทยาศาสตร์ได้รวมแนวคิดเร่องการปรับปรุงพันู์ของกรีก-โรมัน เข้ากับแนวคิดเรื่อง การแรับแรุงพันู์โดยสมัครใจของฟรานซิส กัลตันเพื่อผลิตดครงการของรัฐบาลที่บีบบังคับและต่อต้านผุ้อพยพ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากวาทกรรมและเหตุการณ์ทาง สังคม-การเมืองอื่นๆ การเหยียดเชื้อชาติในสภาบันดังกล่าวเกิดขึ้นผ่าน การศึกษา ลักษณะร่างกาย ซึ่งบอกลักษณะจากลักษณะทางกายภาพ การศึกษากะโหลกศีรษะจากลักษณะทางกายภาพ การศึกษากะโหลกศีรษะและธครงกระดูก ดังนั้น กะโหลกศีรษะและธครงกระดูกของคนผิวดำและคนผิว สีอื่นๆ จึงถุกจัดแสดงไว้ระหว่างลิงและคนผิวขาว

          ในปี 1906 คนแคระได้รับการจัดแสดงในฐานะ "ส่วนที่ขาดหายไป" ในสวนสัตว์บรองซ์ นครนิวยอร์ก ร่วมกับลิงและสัตว์ต่างๆ นักทฤษฎีที่มีอิทธิพลมากที่สุดได้แก่ นักมานุษยวิทยา ผุ้เสนอแนวคิดเรื่อง "สังคมวิทยาแบบมนุษยนิยม" และ "โจฮาน กอทเฟรน เฮอร์เดอร์" 1744-1803 ผุ้ซึ่งนำ "เชื้อชาติ"มาใช้กับทฤษฎี ชาตินิยม จึงทำให้เกิดแนวคิด "ชาตินิยมทางชาติพันธู์" ขึ้นเป็นครั้งแรกในปี 1882 "เออเนส รีแนน" โต้แย้ง เฮอร์เดอร์ ด้วยลัทธิชาติพันธู์หรือเชื้อชาติ วาทกรรมทางวิทยาศาสตร์ทีเหยียดเชื้อชาติได้ตั้งสมมติฐานถึงการดำรงอยุ่ของ "เผ่าพันธุ์ประจำชาติ" เช่น Deutsche Volk ใน เยอรมัน และ "เผ่าพันธุ์ฝรั่งเศส" ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของ "เผ่าพันธ์อารยันไ ที่มีมายาวนานหลายพันปี เพื่อสนับสนุนให้มี
ขอบเขต ทางภูมิรัฐศาสตร์ ขนานไปกับขอบเขตทางเชื้อชาติ

          การเหยียดเชื่อชาติทางวิทยาศาตร์ยังคงดำเนินต่อไปจนถึงต้นศตวรรษที่ 20 และในไม่ช้าการทดสอบ IQ intelligence testing ก็กลายเป็นแหล่งข้อมุลใหม่สำหรับการเปรียบเทียบเชื้อชาติ ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง การเหยียดเชื่อชาติทางวิทยาศาสตร์ยังงเป็นเรื่องปกติ ในสาขา มานุษยวิทยาและถูกมช้เป็นข้ออ้างสหรับ การปรับปรุงพันธุ์ การบังคับทำหนัน กฎหมายต่อต้านการผสมข้ามพันธ์ และข้อจำกัดด้านการย้ายถ่ินฐาน ในยุดรป และสหรัฐอเมริกาอาชญากรรมสงครามและอาชญากรรมต่อมนุษยชาติของนาซีเยอรมันทำให้การเหยียดเชื่อชาติทางวิทยศาสตร์เสื่อมถอยลง

         แม้แนวคิดเหยยดเชื้อชาติ จะถูกชุมชนวิทยาศาสตร์ปฏิเสธเป็นส่วนใหญ่ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่นักวิจัยบางคนยังคงเสนอทฤษำเกี่ยวกับความเหนือกว่าทางเชื้อชาติในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมา ผุ้เชียนเหล่านี้เองมองว่างานของตเป็นงานวิทยาศาสตร์ แต่ก็อาจโต้แย้งกับคำว่า เหยียดเชื้อชาติและอาจชอบใข้คำเข่น "ความสมจริงทางเชื้อชาติ" หรือไการเหยียดเชื้อชาติ"มากกวา ในปี 2018 นักข่าววิทยาศาสตร์และนักเขียนชาวอังกฤษ แสดงความกังวลอย่างมากเีก่ยวกับการกลับมาของแนคิดเหล่านี้ในกระแสหลัก 

          แถลงการณืของสมาคมพันธูศาสตร์มนุษย์แห่งอเมริกา ASHG ในปี 2018 แสดงความกังวลต่อไการกลับมาอีกครังของกลุ่มที่ปฏิสเะคุณค่าของความหลบากหลายทางพันธุกรรม และใช้แนวคิดทางพันธุกรรมที่เสื่อมเสียชื่อเสียงหรือบิดเบือนเพื่อสนัีบสนุนข้ออ้างที่หลอกลวงเกี่ยวกับอำนาจสุงสุดของคนผิวขาว"สมาคมพันธุศาสตร์มนุษย์แห่งอเมริกาประณามเรื่องนี้ว่าเป็น ไการใช้พันธุกรรมในทางที่ผิดเพื่อหล่อเลี้ยงอุดมการณืเหยีดเชื้อชาติ" และเน้นย้ำถึงข้อผิดพลาดเชิงข้อเท็จจริงหลายประการที่เป็นพื้นฐานของข้ออ้างของอำนาจสุงสุดของคนผิวขาว คำชีแจงยืนยันว่าพันธุ์ศาสตร์ "แสดงให้เห็นว่ามนุษย์ไม่สามารถแบ่งออกเป็นหมวดหมู่ย่อยทางชีววิทยาได้" และ "เผยให้เห็นว่าแนวคิดเรื่อง "ความบริสุทธ์ทางเชื้อชาติ" นั้นไม่มีความหมายทางวิทยาศาสตร์"



             ที่มา : wikipedia

          

วันอังคารที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

Alt-right

             " Alt-right "ย่อมาจาก อัลเตอร์เนทีฟ ไรท์ ขบวนการ ขวาจัดที่ชัดเจนซึ่งเกิดขึ้นในช่วงทศวรรษที่
2010 ทั้งเอาแนวคิดขวาจัดของกลุ่มต่างๆ ที่เก่ากว่ามาใช้แะและสร้างความแปลกใหม่ เมื่อ alt-right เป็นที่รู้ักในวงกว้างในปี 2016 สื่อพยายามทำคยวามเข้าใจ นักวิจารณืบางคนใช้คำนี้เพี่อเรียกรวมๆ สำหรับทุกคนที่พวกเขาคิดว่าเป็นขวาจัด นักวิชาการหลายคนตั้งขอ้สังเกตว่า ทั้งในสื่อสิ่งพิมพ์และสือ่กระจายเสียง alt-right ถูกนำไปใช้เพื่ออธิบายทุกอย่างตั้งแตพวกนาซีหัวรุนแรงไปจนถึงพรรครีพับลิกันกระแสหลักในสหรับอเมริกา และกลุ่มชาตินิยมขวาจัดในยุโรป" ดังนั้น เนื่องจกาคคำนี้ ถุกคิดขึ้นโดยชาตินิยมมผิวขาวเอง แทนที่จะเป็นผุ้สังเกตการณ์ทางวิชาการหรือโดยฝ่ายตรงข้าม นักข่าวหลายคนจึงหลีกเลี่ยงที่จะใช้คำนี้  นักรัฐศาสตร์ ที่เชียวชาญด้านขวาจัดของสหรัฐฯไม่เห็นด้วยกับคำจำกัดความนี้ ดดยระบุว่าการใช้คำว่า "white superacist" แทน "alt-right" นั้นทำให้ "อัล-ไรท์" แตกต่างจากขบวนการขวาจัดอื่นๆ 

           กลุ่มขวาจัดในอดีตมีอุดมการณืที่หลากหลาย แนวคิดเรืออำนาจสุงสุดของคนผิวขาว เป็นแนวคิดที่มีอิทธิพลเหนือวาทกรรทางการเมืองของสหรัฐอเมริกาตลอดช่วงศตวรรษที่ 19 และต้นศตวรรษที่ 20 หลังสงครามดลกครั้งที่ 2 แนวคิดนี้ ถุกปฏิเสธมากขึ้นเรื่อยๆ และภูกผลักใสไปอยุ่ในจกลุ่มขวาจัดของสเปกตรัมการเมืองของประเทศ แต่ยังมีกลุ่มขวาจัดที่ยังคงแนวคิดดังกล่าวไว้อาทิ พรรคนาซีอเมริกัน ของ จอร์จ ลินคอล์น ร็อคเวลล์ และพรรค เนชั่นแนว อลิแอนด์ ของ วิลเลียม ลูเธอร์ เพียร์ ยังคงถูกละเลย ในช่วงทศวรรษท 1990  อำนาจสุงสุดของคนผิวขาวถูกจำกัดอยู่แค่ กลุ่ม นีโอนาซีและกลุ่มคูคลักซ์แคลน(KKK) แม้ว่่านักอุดมการณ์ของแนวคิดนี้ต้องการให้แนวคิดนี้กลับคือุ่กระแสหลักก็ตาม ในทศวรรรษนั้น กลุ่มคนผิวขาวที่ถือว่าตนเองเหนือกว่าคนอื่นหลายกลุ่มได้ปรับปรุงแนวคิดของตน ใหม่ในรูปแบบของ "ชาตินิยมผิวขาว" โดยพวกเขาไม่ได้พยายามครอบงำกลุ่มคนที่ไม่ใช่คนผิวขาวแต่กลับพยายามล้อบบี้เพื่อผลประโยชน์ของชาวอเมริกันเชื่อสายยุดรปในลักษณเดียวกับที่กลุ่มสิทธิมนุษยชนล็อบบี้เพื่อสิทธิของชาวแอฟริกันอเมริกันและชาวฮิสแปนิกอเมริกัน แม้วากลุ่มคนผิวขาวที่ถือว่าตนเองเหนือกว่าคนอื่นมักจะแยกตัวออกจากแนวคิดคนผิวขาวที่ถือว่าตนเองเหนือกวาคนอื่น แต่ความรู้สึกที่าตนเหนือกว่า คนอื่นยังคงแพร่หลายในงานเขียนของพวกชาตินิยมผิวขาว

          ชาตินิยมผิวขาวในอเมริกาเชื่อวาสหรํฐฯ ถูกสร้างขึ้นเป็นชาติโดยเฉพาะสำรหับคนผิวขาวเชื้อสายยุโรปและควรให้คงอยุ่เช่นนั้นต่อไป หลายคนเรียกร้องให้ก่อตั้งรัฐชาติเป็นคนผิวขาวอยางชัดเจน นักอุดมการ์ชาตินิยมผิวขาวหลายคน เช่น จาเร็ต เทย์เลอร์ ปีเตอร์ ไบรเมโลว์ และเควิน บี. แมคโดนัลด์ พยายามแยกตัวจากภาพลักษณ์ของนีโอนาซีและกลุ่ม KKK ซึ่งใช้ความรุนแรงและสกินเฮด โดยพยายามสร้างภาพลักษณ์็ของความน่าเคารพนับถือ ซึ่งต่อมา ฮอว์ลีย์เรียกอุดมการณ์ของพวกเขาว่า "ชาตินิยมผิวขาวชั้นสูง" ซึ่งมีอิทธิพลต่อกลุ่มขวาจัด เทอร์เลอร์กลายเป็นบุคคลที่ได้รับการยกย่องในกลุ่มขวาจัด

           ประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู บุช รีพัีบลิกัน ในช่วงทศวรรษท 2000 ชาตินิยมผิวขาวมุ่งเป้าไปที่การวิพากษืวิจารณืกลุ่มอนุรักษณ์นิยมมากกว่ากลุ่มเสรีนิยม โดยกล่าวหาว่าพวกเขาทรยศตอชาวอเมราิกันผิวขาว ในช่วงเวลาดังกล่าว พวกเขาใช้ทฤษำีสมคบคิดที่สร้าขึ้นโดย ชบวนการแพทริออต ตั้งแต่ทศวรรษ 1990 มากขึ้นเนื่อยๆ ทางออนไลน์ ขบวนการชาตินิยมขาวและขบวนการแพทริออตก็บรรจบกันมากขึ้นเรื่อยๆ  หลังจากบารัค โอบามาผุ้สมัคพรรคเดโมแครต ได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดีในปี 2008 ซึ่งทำให้เขาเป็นประธานาธิบดีผิวสีคนแรกของประเทศ มุมาองของฝ่ายขวาต่างๆ รวมถึงกลุ่มคนผิวขาวที่ถือว่าตนเองเหนือกวา่ แพทริออต และกลุ่มทีปาร์ตี้ เร่ิมที่จะรวมตัวกันมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งส่วนหสึ่งเป็นผลจากความรุ้สึกไม่เป็นมิตรทางเชื้อชาติต่อ โอบามา

         ในช่วงที่ Tea Party เติบโตขึ้นและแคมเปยหาเสียงชิงตำแหน่งประธานาธิบดี ของ "มิทท์ โรมนี่" ในปี 2012 "เกิดการเปี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมและเศรษฐกิจที่สร้างเงือนไขสำหรับการเปลี่ยนแปลงขนานกันในวงการการเมืองฝ่ายขวา" รวมถึงการเปลี่ยนแปลงทางประชากรการเพ่ิมขึ้นของอินเทอร์เหน็ตและโซเชียลมีเดียที่ให้เวทีสำคัญแก่เสียงฝ่ายขวาสุดโต่งที่เคยถูก "ผู้เฝ้าประตูฝ่ายอนุรักษ์นิยมที่รับผิดชอบ" ปิดกั้น ความลบ้มเหลวที่รับรู้ได้ของสงครามต่อต้านการก่อการร้ายที่นำโดยกลุ่ม นีโอคอนเซอร์ เวทีฟ คำตัดสิน ของศาลฎีกา ที่ทำให้เการแต่งงานของเพศเดียวกัน ถูกกฎหมาย และบ่อนทำลายความอนุรักษ์นิยมทางสังคม ภาวะ เศรษฐกิจถดถอย ครั้งใหญ่ในปี 2008 ที่สร้างผลกระทบต่อตลาดเสรีของกลุ่มอนุรักษ์นิยม และผุ้ชายที่มีความเชื่อบางอย่างเกี่ยวกับบทบาทางเพศ "รู้สึกว่าพื้นที่ของผุ้ชายโดยทั่วไปกำลังถูกกัดกร่อน" และเผชิญกับการแข่งขันในเศราฐกิจจาก "ผุ้หญิงที่มีการศึกษาสุงไ ปัจจัยทั้งหมดเหล่านี้ยังนำปสู่ "การพังทลายขอรั่วกั้นทางปัญญาและการเมืองของฝ่ายขวา"

         กลุ่ม Alt-right ได้นำแนวคิดขวาจัดดหลายแนวคิดที่เก่าแก่กว่ามาใช้ หนึ่งในนั้นคือ Nouvell Droite ซึ่งเป็นชวนการขวาัดที่ถือกำเนิดในฝร่งเศสในช่วงทศวรรษ 1960 ก่อนที่จะแพร่กระจายไปประเทศต่างๆ ในยุโรป โดยนำทัศนคติเกี่ยวกับการแสวงหาการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนะรรมในระยะยาวผ่านกลยุทธ์"เมตาการเมือง" มาใช้ จึงมีความคล้ายคลคึงกับลัทธิอัตลักษณ์ ยุโรป ซึ่งดึงเอาแนวคิด กลุ่มนี้มาใข้ด้วยเช่นกัน กลุ่ม alt-right ยังแสดงให้เห็นความคล้ายคลึงกับ ขบวนการ peleoconservative ที่เกิดขึ้นในสหรัฐฯในช่วงทศวรรษท 1980 ทั้งคู่ต่อต้าน นีโอคอนเชอร์วาติซึม และแสดงจุดยืนที่ตล้ายคลึงกันเกี่ยวกับการจำกัดการย้ายถ่อนฐานและการสนับสนุนนโยบายต่างระเทสที่เป็นชาตินิยมอย่าเปิดเผย แม้วาต่างจากกลุ่ม "อัล-ไรท์" กลุ่ม ปาลีโอ คอนเซอร์วาทีฟ มักจะมีแนวคิดที่ใกล้ชิดกับศาสนาคริสต์และต้องการปฏิรูปขบวนการอนุรักษนิยมแทนที่จะทำลายมัน นักอนุรักษ์นิยมแบบโบราณบางกลุ่ม เช่น ซามูเอล ที. ฟรานซิส กลายเป็นคนที่ใกล้ชิดกับชาตินิยมของคนผิวขาวเป็นพิเศษ...

2014-2017 ในอินเตอร์เน็ต คำว่า "อังเตอร์เนทีฟ ไรท์" ของสเปนเซอร์ถูกนำมาใช้และย่อเป็น "อัลท์-ไรท์" ซึ่งยังคงความเกี่ยวข้องของวลีเดิมไว้ เป็นการผสมผสานระหว่างความแปลกแยกและการมองโลกในแง่ดีที่ฝัีงอยู่ในการแสดงออกถึงการยอมรับแนวทาง "ทางเลือก" อย่างภาคภูมิใจแต่ได้ทำให้ทั้งสองอย่างนี้กระชับขึ้น #alt-right ถูกสร้างขึ้นดดยคำนึงถึงการประชาสัมพันธ์ ข่วยให้ชาตินิยมผิวขาวสามารถบรรเทาภาพลักษณ์ของตนเองและช่วยดึงดูดผุ้ที่เปลี่ยนจากสายอนุรักษ์นิยมเข้ามา ชาตินิยมผิวขาวจำนวนมากหัสมาใช้คำนี้เพื่อหลีกเลี่ยงความเมหายเชิงลบของคำวา "ชาตินิยมผิวขาว" สเปนซอร์คิดว่าในจุดนี้ " alt-right" ได้กลายเป็น "ธงของการเมืองอัตลักษณ์ผิวขาว"

            มิถนายน 2015 โดนัล ทรัมป์ ประกาสแผนรณรงค์หาสียงเพื่อเป็นผุ้ได้รับการเสนอชื่อจากพรรครีพับลิกันในการเลือตกั้งประธานาธิบดี ปี 2016 ซึ่งดึงดุดความสนใจจากกลุ่มขวาจัด ตลอดจนชาตินยิมผิวขาวดดยทีวไป นีโอสาซี กลุ่ม KKK และกลุ่มแพทริออำต พวกเขาสนัีบสนุนการรณรงค์หาเสียงของทรัมป์ อย่างแข็งขัน ซึ่งจุดยืนนี้ทำให้กลุ่มขวาจัดมีพลังและเปิดโอกาศให้พวเขาเข้าถึงผุ้คนได้มากขึ้น มีผุ้ตั้งข้อสังเกตว่า "แนวโน้มทางการเมืองของบทรัมป์เองก็สอดคล้องกันจุดยืนของกลุ่มขวาจัดในประเด็นต่างๆ เช่นการย้ายถ่ินฐานและการต่อต้านโลกาภิวัตน์" ซึ่งทำให้มีเม็ดเงินหมุนเวียน อย่างไรก็ตามกลุ่มขวาออกมาโต้แย่้งสื่อ ความว่า ระหว่างทรัมป์และกลุ่มขวาจัด ในทางอุดมการณื กลุ่มขวาจัดยังคงอยุ่"ทางขวาของทรัมป์มากฎ และตัวทรัมป์เองก็ไม่เข้าใจการเคลื่อนไหวนี้ มากนัก กลุ่มขวาจัดจำนวนมากยอมรับวาทรัมป์ไม่ได้แชร์การเป็นชาตินิยมผิวขาวจากพวกเขาและจะไม่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดตาที่พวกเขาต้องการ ถึงกระนั้นพวกเขากก็ยังเห็นด้วยกับทัศนคติที่เปข็งกร่าวของเขาต่อผุ้อพยพการเรียกร้องให้ห้ามชาวมุสลิมเข้าประเทศสหรับอเมริกา และการสร้างกำแพง ตามแนวชายแดนกับเม็กซิโกเพื่อลดการอพยพที่ผิดกฎหมาย พวกเขาของคุณที่เขาเปลี่ยนการสนทนาในระดับชาติไปทางขวา"...

           ข้อมูล : วิกิพีเดีย 

วันจันทร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

left - right

           คำว่าฝ่ายซ้าย ฝ่ายขวาในทางการเมือง เร่ิมใช้มาต้้งแต่ยุคการปกิวัติฝรั่งเศส ที่มีการจัดที่นี่ประชุมในสภาสมัชชาแห่งชาติโดยผู้สนับสนุนเจ้าในระบอบเก่านั้งอยู่ทางขวามือของประะาน อันเป็นผุ้ที่สนับสนุนลำดับชั้น ประเพณีและนักบวช 

           ในช่วงคริสต์สตวรรษที 19 ชนชั้นทางสังคมในโลกตะวันตกเปลี่ยนจากอภิชนและชนชั้นขุนนาง รวมไปถึงชนชั้นกลางที่ขยายตัวเร่ิมหันเข้าสุ่ระบบทุนนิยม การเปลี่ยนแปลงนี้เกิดจากขบวนการฝ่ายขงาอย่างพรรคอนุรักนิยม ในสหราชอาณาจักรหหันออกจากความล้มเหลวของพาณิชยนิยม

          ฝ่ายขวา หมายถึง ทัศนะที่วาะเบียบสังคมและลำดับชั้นทางสังคมบางอย่างเป็นสิงหลีกเลี่ยงไม่ได้ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เป็นปกติ หรือเป็นสิ่งพึงปรารถนา ปกติแล้วบุคคลสนับสนุนฐานะดังกล่าวบนพื้นฐานของกฎหมายธรรมชาติ หลักวิชาเศรษฐศาสตร์ หรือ ประเพณี ลำดับชั้นและความไม่เสมอภาคอาจถูกมองว่าเป็นผลลัพธ์ตามะรรมชาติของความแตกต่างทางสังคมที่มีมแต่เดิม หรือการแข่งขันในเศราฐกิจแบบตลาด คำว่าฝ่ายขวาโดยทั่วไปหมายความถึงพรรคการเมืองหรือระบบการเมืองอนุรักษนิยมหรือพวก



ปฏิกิริยา 

          คำว่าขวาเดิมที่ใช้กับอนุรักษนิยมเดิม นิยมเจ้า และพวกปฏิกิริยา ส่วนขวาจัดหมายถึง ลัทธิฟาสซิสต์ นาซี และกลุ่มที่เชื่อว่าชนชาติหนึ่งสุงส่งกว่าชาติอื่นๆ ในขณะเดียวกันฝ่ายขวาจัดนั้นไม่ได้มีจุดยืนทางเศราฐกิจแบบ "ขวา"เสมอไป เนืองจากฝ่ายขวาเศราบกิจโดยทั่วไปถือว่าเป็นพวกเสรีนิยม แบบคลาสสิกที่ต่างจากระแสขวาฝ่ายขวาจัดที่มีแนวคิดแทรกแซงทางเศราฐกิจ และสังคมนิยม เป็นเหตุผลที่ว่านิยามการเมือง "ฝ่ายขวาไ นั้นกำกวม และมีการแยกระหว่างฝ่ายขวาทางสังคมที่เน้นอนุรักษ์นิยม และขวาทางเศราฐกิจความเสรี คำวาฝ่ายขวาหมายถึงพวกชาิตนิยม พวกหที่คัดค้านการเข้าเมืองโดยให้สงเสริมคนพื้นเมือง อนุรักษนิยมทางศาสนา และใช้กับขบวนการฝ่ายขวาที่ตอต้านทุนนิยมที่มีต้ำกำเนิดจากลัทะิฟาสซิสต์ ส่วนในสหรัฐฯ ฝ่ายขวาหมายถึงทั้งอนุรักษนยิมทางเศราฐกิจ และสังคม

         ฝ่ายซ้าย คือฐานะหรือกิจกรรมทืางการเมืองที่ยอรับหรือสนับสนุนความเสมอภาคทางสังคม มักคัดค้านลำดับชั้นทางสังคมและความไม่เสมอภาคทางสังคม ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับความกังวลต่อผุ้ที่ในสังคมถูกมองว่าด้อยโอกาสเมืองเที่ยกับผุ้อื่นและความเชื่อที่มีความไม่เสมอภาคอย่างไม่มีเหตุผลจำต้องลดหรือเลิก การใช้คำว่า "ซ้าย" โดดเด่นขึ้นหลังการฟื้นฟูพระมหากษัตริย์ฝรังเศษ ปี 1815 เมื่อใช้กับ "กลุ่มอิสระ"คำว่า "ฝ่าย" wing ใช้กับ "ซ้ายและขวาไ ในปลายคริสต์ศตวรรษ 19 โดยทั่วไปมีเจตนาดูถูก และ "ฝ่ายซ้าย" ใช้กับผุ้ที่มีมุมมองทางศาสนาหรือการเมืองแบบนอกคอก 

         คำนี้ภายหลังใชักับหลายขบวนการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งลัทะิสาะารณรัฐนิยมระหวางการปฏิวัติฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ตามด้วยสังคมนิยมคอมมิวนิสต์และอนาธิปไตย ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 นับแต่นั้น คำว่า "ฝ่ายซ้ายไใช้กับขบวนการสิทธิพลเมือ ขบวนการนิยมสิทธิสตรี ขบวนการต่อต้านสงครามและขบวนการสิ่งแวดล้อม ตลอดจนพรรคการเมืองต่างๆ  ที่มา : วิกิพีเดีย

         "...วิกฤติเศรษฐกิจ ปี 2008 ว่าได้พัฒนาจาการต่อต้านการปกครองแบบประชาธิไตยและการสร้างวาทกรรมโจมตีฝ่ายตรงข้ามของผู้นำประชานิยมขวาจัดที่ปรากฎในอดีตมาสู่ความเป็นปฏิปักษ์ต่อแนวคิดเสรีนิยมทางการเมืองและเศรษฐกิจ ตอลดจนการต้อต้านกระแสโลกาภิวัตน์ โดยแสดงให้มวลชนเห้ฯวาสิ่งเหล่านี้เข้ามากัดกร่อคุณค่าประชาธิปไตยในสังคม ดังนั้นผุ้นำฝ่ายขวาในช่วงสมัยนั้นจึงมักจะสนับสนุนนโยบายกีดกันทางเศราฐกิจ และมีแนวโน้มจะปฏิเสธการเปิดรับผุ้อพยพลี้ภัยขนาดใหญ่จากประเทอื่น ซึ่งเกิดจากภาวะเกลียดกลัวมุสลิม และการเชื่อมโยงมุสลิมกับการก่อการ้ายด้วย ระบอบสประชานิยมขวาจัดในยุดรปและสหรัฐฯ จะมีการใช้วาทศิลป์เพื่อโน้เมน้าวความคิดของประชาชนให้มีความรุ้สึกร่วมกันถึงภัยคุกคามอัตลักษณ์ของคนในชาาติจากกระแสความหลากหลายทางวัฒนธรรม ที่เข้ามาพร้อมกับการเคลือ่นไหวเพื่อเรียกร้องสิทธิเสรีภาพของกลุ่มคนที่มิใช่คนชาติ 

           สำหรับระบอบประชานิยมขวาจัด ที่เกิดขึ้นในสมัยโดนัลด์ ทรัมป์ ถือเป็นส่วนหนึ่งของกระแสฝ่ายขวาที่ขยายตัว จากสมัยดังกล่าว อันกระตุ้นให้กระแสการเหยียดเชื้อชาติกลับมารุ่งเรืองในสหรัฐฯ เร่ิมต้นจากการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งในปี 2016 ทรัมป์สร้างเสียงสนับสนุนด้วยการเสนอทิศทางนดยบายที่อิงกับอุดมการณืฝ่ายขวา เพื่อเป็นทางออกให้ประชาชนที่กำลังเดือดร้อนจาการดำเนินงานของรัฐบาล ทรัมป์กล่าวว่าสหรัฐฯ ควรให้ความสำคัญกับนดยบายที่สร้างประโยชน์แก่ประเทศและคนอเมริกันเป็นอันดับแรก หรือที่เรียกว่่า นโยบาย "อเมริกันเฟริส์" โดยทรัป์ประกาศว่า Americanism ต่างหากที่เป็นความเชื่อของเราไม่ใช่ Globalism "สะท้อนว่ารัฐบาลของทรัป์จะดำเินินนดยบายตามหลักประชานิยามเพื่อประโยชน์แก่คอนในชาติ ทรัป์จึง-ม่สนับสนุนนโยบายที่เกื่อหนุนกระแสโลกาภิวัตน์ 

         ผลจากงานวิจัยหนึ่ง ได้มีการวิเคราะห์ว่าช่วงก่อนที่ทรัมป์จะขึ้นมามีอำนาจนั้น กระแสนิยมฝ่ายขวาเข้ามามีอิทธิพลในการเมืองภายในประเทศสหรัฐฯ ได้อย่างไร โดยเน้นทำงานวิจัยในพื้นที่ชนบทของมลรัฐลุยเซียนาที่มีคนผิวชาวอาศัยอยู่ในตชุมชนเล็กๆ เขามีข้อถกเถียงว่า คนอเมริกันผิวขาวชนชั้นแรงงานและนายทุนขนาดย่อมเร่ิมไม่พอใจการดำเนินนโยบายฟื้นฟูเศราฐกิจของรัฐบาลโอบามาที่เข้ามาสร้างข้อจำกัดและมาตรการต่างๆ เช่น การจำกันค่าแรง มาตรการรัดเข็มขัด ซึ่งพวกเขามองว่ายิ่งสร้างควยามไม่เท่าเทียมทางเศรษฐกิจของประเทศเพราะนโยบายเหล่รนีั้นเป็นการตัดโอกาสมีส่วนร่วใในกิจกรรมทางเศราฐกิจของประชาชน ทำให้พวกเขาไม่ได้รับรายได้เท่าที่พึงจะได้รับ ทั้งๆ ที่คนมีกรรมสิทธิ์เหนือพื้นที่ทำกินและเป็นเจ้าของประเทศนี้เอง คนกลุ่มนี้จึงต้องการเรียกร้องเสรีภาพในระบบเศรษฐกิจและต้องการมีวิถีชีวิตแบบอเมริกัน อันแสดงถึงอัตลักษณ์ร่วมกันระหว่างคนอเมริกัน และบรรลุเป้าหมายของ "อิมริกันดรีม"มากกว่าการให้ความสำคัญกับกลุ่มเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องสิทธิของ LGBT สตรี และนกลุ่น้อยเสียอีก ดังนั้ อุดมการณ์ประชานิยมฝ่ายขวาของทรัพมป์จึงสอดคลอ้งกับความต้องการของกลุ่มชนชั้นแรงงานและชนชั้นกลางผิวขาวที่จะให้คนขาวกลับมาเป็นใหญ่อีกครั้ง ทำให้ประชาชนกลุ่มขวาจัดเร่ิมเคลื่อนไหวทางการเมืองเพื่อสนับสนุนทรัมป์ และกลายมาเป็นฐานเสียงสำคัญให้ทรัมป์ขึ้นมาเป็นประธานาธิบดีในเวลาต่อมา

           ที่มา : https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/7356/

วันอาทิตย์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2567

Path to the President

          การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ

           ขั้นตอนการเลือกตั้งและการประชุมคอคัส กลุ่มคนที่มีแนวคิดคล้ายคลึงกันจะสังกันพรรคการเมืองเดียวกัน เป็นที่มาของการเลือกตั้งขั้นต้นและการประชุมคอคัส ผุ้สมัครรับเลือกตั้งจากแต่ละพรรคเดินสายหาเสียงทั่วประเศเพื่อให้ได้รับการสนับสนุนจากสมาชิกพรรคของตน การประชุมขั้นต้นและการประชุมคอคัสซึ่งเป็น การลงคะแนนเสียงที่สำคัญเร่ิมต้นเดือนกุมภาพันธ์ การประชุมนี้นำไปสู่การเลือกตัวแทนซึ่งจะไปเข้าร่วมการประชุมใหญ่ระดับ ประเทศของพรรครัฐที่ได้รับความสนใจมากคือ ไอโอวา นิวฉฮมป์เชียร์ เนวาดาและเซาท์แคโรไรนา ซึ่งผลการเลือกตั้งแทนของัฐเหล่ารนี้มักจะชี้ว่าใครจะได้รับเสนอชื่อเป็นผุ้ สมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดี ในการประชุม "คอคัส" สมาชิกพรรคเลือกผุ้สมัครรับเลือกตั้งที่ดีที่สุดจาการอภิปรายและออกคะแนนเสียงหลายครั้ง ในการเลือกตั้งขั้นต้นสมาชิกพรรคออกเสียงเลือกผุ้สมัครรับเลือกตั้งที่ดีที่สุดเพื่อเป็นตัวแทนพรรคในการเลือกตั้งทั่วไป

          การประชุมใหญ่พรรคการเมือง แต่ละพรรคการเมืองจัดการประชุมใหญ่เพื่อเลือกตัวแทนผุ้สมัตรชิงตำแหน่งประะานาะิบดีเพียงคนเดียว ตัวแทนระดับรัฐจากการประชุมขั้นต้นและการประชุมคอคัสที่ได้รับเลือกจาก ปรชาชนจะให้การ "รับรอง" ผุ้ลงสมัตรรับเลือกตั้งประธานาธิบดีที่พวกเขาชื่นชอบ และเมือการปรุชุมใหญ่สิ้นสุดลงพรรคการเมืองก็จะออกประกาสอย่างเป็นทางการ ว่า พรรคได้เสนอชื่อบุคคลใดเป็นตัวแทนของพรรคลงสมัครชิงตำแหนงประธนาธิบดี ระหว่างการประชุมนั้นตัวแทนผุ้สมัครชิงตำแหน่ง


ประธานาธิบดี จะเลือกคุ่หุูชิงตำแหน่ง (ผู้สมัครชิงตำแหน่งรองประธานาธิบดี)ผุ้สมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดีจากพรรคต่างๆ ลงพื้นที่เรียกคะแนนเสียงจากประชาชนทั่วประเทศ

        การเลือกตั้งทั่วไป ประชาชนทุกรัฐทั่วประเทศลงคะแนนเสียงเลือกผู้สมัครชิงตำแหน่งประธานาธิดีและรองประธานาธิบดีเพียงเสียงเดียว เมื่อคนอเมริกันไปคูหาเลือกตั้งในเดือนพฤศจิกายน พวกเขาจะเลือกผุ้สมัครชิงตำแหนงประธานาธิบดีพร้มผุ้สมัครดำรงตำแหน่งรองประธานาธิบดีคนที่ตนชื่นชอบ แต่จริงไ แล้วพวกเขากำลังลงคะแนนเสียงในบุคคลกลุ่มหนึ่งที่เรียกว่ "ผุ้เบือกตั้งประธานาธิบดี" หากผู้สมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดีคนใดได้รับคะแนนเสียงส่วนใหญ่จากประชาชนในรัฐ(ยกเว้นรัฐเมนและเนแบรสกา) ผุ้สมัครคนน้นจะได้คะแนนผุ้เลือกต้ง (electoral vote) ทั้งหมดของรับนั้นๆ ผู้สมัครชิงตำแหน่งประธานาะิบดีที่ได้รับคะแนนเสียงจากผุ้เลือกตั้งมากทีุ่ดจะได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดี

          คณะผุ้เลือกตั้งประะานาธิบดีสหรัฐฯ เป็นกระบวนการที่ "ผู้เือกตั้ง" หรือตัวแทนจากแต่ละรัฐซึ่งจะมีจำนวนเป็นสัดส่วนกับจำนวนประชากรของรัฐลงคะแนนเลือกตั้งประธานาธิบดี แต่ละรัฐมีจำนวนผุ้เลือกตั้งประธานาะิบดีเท่ากับจำนวนตัวแทนของรับในสภาครองเกรสผู้่เลือกตั้งทั้งหมดมีจำนวน 538 คน ซึ่งได้รับเลือกตามนโยบายของแต่ละรัฐ ผุ้เลือกตังประธานาธิบดีแต่ละคนจะลงคะแนนเสียง 1 เสียงหลังการเลือกตั้งทั่วไป และผุ้สมัครที่ได้รับคะแนนเสียงเกินกึ่งหนึ่ง (270 เสียง) จะชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดี ประธานาธิบดีและรองประธานาะิบดีที่ได้รับการเลือกตั้งสาบานตนเข้ารับตำแหน่งในเดือนมกราคม

        ที่มา : https://th.usembassy.gov/th/summary-of-the-u-s-presidential-election-process-th/electoral-college-th/

          รัฐะรรมนูญสหัรัฐฯ ให้อำนาจบางประการแก่รัฐบาลระดับประเทศ(หรือรับบาลกลาง) และสงวนสิทธิแห่งอำนาจอื่นๆ สำหรับรับแต่ละรับและประชาชน รัฐะรรมนูญกำหนดให้แต่ละรัฐมีรัฐบาลปกครองในรูปแบบสาธารณรัฐ และให้ประชาชนใช้อำนาจของตนผ่านผุ้แทนที่มาจาการเลือกตั้ง รวมถึงห้ามรัฐละเมิดสิทธิบางประการ แต่นอกเหนือากนั้นแล้ว รัฐบาลต่างๆ ยังคงมีอำนาจค่อนข้างมาก

         รัฐบาลกลางจัดขึ้นในปีที่ลงท้ายด้วยเลขคุ่ในวันอังคารหลังวันจันทร์แรกของเดือนพฤศจิกายน โดย

          การเลือประธานาธิบดีจัดขึ้นทุก 4 ปี โดยหลังจาการเลือตั้งประธานาธิบดีจะมีขึ้นในวันที่ 3 พฤศจิกายน 

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผุ้แทนราษฎรทั้ง 435 คนจัดขึ้นทุก 2 ปี 

          สมาชิกวุฒิสภามีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 6 ปี โดยมีการจัดระยะเวลาการดำรงตำแหน่งเพื่อให้มีการเลือกตั้งหนึ่งในสาม(หรือกาจเพ่ิมอีก 1 ที่นั่ง) ของจำนวนที่นั่งในสภา 100 ที่นั่งทก2ปี

         หากวุฒิสมาชิกเสียชีวิตหรือกลายเป็นคนไร้ความสามารถระหวางดำรงตำแหน่ง บางรัฐอาจจัดการเลือกตั้งพิเศษเพื่อหากบุคคลมาดำรงตำแหน่งแทนวุฒิสมาชิกที่ได้รับเลือกตั้งใหม่จะอยุ่ในตำแหน่งจนสิ้นวาระเดิมของวุฒิสมาชิกคนก่อน ในขณะ ที่บางรัฐมีกฎหมายระบุให้ผุ้ว่าการรับสามารถแต่งตั้งบุคคลมาทำหน้าที่แทนจนสิ้นสุดวาระเดิม หรือจนกว่าจะสามารถจัดการเลือกพิเศษเพื่อหาวุฒิสมาชิกคนใหม่ได้

           ผู้ว่าการรัฐส่วนใหญ่ดำรงตำแหน่งคราวละ 2 ปี ยกเว้นผุ้ว่าการรัฐนิวแฮมป์เชียร์และรัฐเวอร์มอนด์ 

           การเลือกตั้งกลางเทอม เป็นการเลือกตั้งที่เกิดขึ้นเมือประธานาธิบดีดำรงตำแน่งมาได้ครึ่งวาระเพื่อเลือกตั้งสมาชิกสภาพผุ้แทนราษฎร วุฒิสมาชิก และผุ้ว่าการรัฐ..

           ในช่วงฤดูร้อนของปีที่มีการเลือกตั้งประธานาธิบดีพรรครีพับลิกัน และ พรรคเดโมแครตต่างจัดการประชุมใหญ่ของพรรคเพื่อกำหนดแนวนโยบายขงอพรรค และเสนอชื่อผุ้สมัครชิงตำแหน่งประธานาะิบดีและรองประธานาธิบดีในนามพรรค ปัจจุบันผุ้ที่จะเสนอชื่อคือผุ้ที่ได้คะแนนเสียงส่วนใหญ่จากตัวแทน ภายในพรรค และก่อนที่จะเร่ิมการประชุมใหญ่ของพรรคก็เป็นทีทราบว่า ผุ้ใดจะได้รับเสนอชื่อเป็นผุ้สมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดีแต่ละรับ(รวมถึงดิสตริกออฟโคลัมเบียและดินแดนของสหรัฐฯหลายแห่ง) จะได้รับจัดสรรวาจะมีจำนวนตัวแทนเท่าใด ตัวแทนส่วนใหญ่จะ "สัญญาฎ ว่่าจะสนับสนุน ผุ้สมัครคนใดคนหนึ่งอย่างน้อยที่สุดในกาลงะแนนรอบแรก เป็นเวลาหลายปีที่การประชุมพรรคไม่มีความจำเป็นต้องลงคะแนนเกิน 1 รอบในการเสนอชือผู้สมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดี

            Swing State รัฐที่พรรคการเมืองได้รับคะแนนสนับสนุนสุสีกันเหล่านั้น เรือกว่า สวิก สเตรท เป็นรัฐที่ประชกรมีความคิดทางการเมืองแตกต่างกันในจำนวนที่ใกล้เคียงกัน ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา รัฐเหล่านี้สนับสนุนผุ้สมัครจากพรรคเดโมแครตและพรรครีพับลิกันสลับกันไปมา จึงเป็นสมรภุมิที่ผุ้สมัครต่างทุมสรรพกำลังการประชาสัมพันธ์ และทีมงานในการหาเสียง

           รัฐที่โดยทั่วไปถือว่าเป็น สวิง เสตรท ได้แก่ แอริโซนา ฟลอริดา มิแกร เพนชิลเวเนีย และวิสคอนซิน ขณะที่ผุ้เชี่ยวชาญบางคนเห้ซา นอกจารัฐเหล่านี้แล้วยังมีนิวแฮมเชียร์ นอร์ทแคโรไลนา และรับอื่นๆ อีกจำนวนหนึ่ง 

           คณะผู้เลือกตั้งประะานาะิบดี รัฐะรรมนูญสหรัฐฯ มีบทบัญญัติเกี่ยวกับกระบวนการของคณะผุ้เลือกตั้งประธานาธิบดี ซึ่งเป็นระบบที่สร้างสมดุลระหว่างคะแนนเสยงที่มาจากประชานและการออกเสียงโดยสภาคองเกรส จำนวนของคณะผุ้เลือกตั้งในแต่ละรัฐจะเท่ากับจำนวนสมาชิกสภาคองเกรส(ทั้งสภาผุ้แทนราษำรและวุฒิสภา) ของรัฐนั้นๆ ปัจจุบันมีผุ้เลือกต้งทั้งหมด 538 คน ซึ่งในจำนวนนี้มี 3 คนที่มาจากกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ในแต่ละรัฐ พรรคการเมืองจะกำหนดรายชือบุคคลที่อาจจะมาเป็นผุ้เลือกตั้งของพรรคตนเอง 

         หลังผุ้มีสิทธิออกเสียงกาบัตรเลือกตั้งประธานาธิบดี คะแนนเสียของพวกเขาจะรวมกันภายในรัฐ โดยใน 48 รัฐและกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ผุ้สมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดีที่ได้รับคะแนนเสียงจากประชาชนมากที่สุด จะได้รับคะแนนจากคณะผุ้เลือกตั้งทั้งหมดของรับนั้น ในขณะที่จำนวนคณะผุ้เลือกตั้งของรับเมนและเนแบรสกาจะเป็นไปตามสัดส่วนจากคะแนนเสียงของประชาชน ผุ้สมัครจะต้องได้รับคะแนนเสียงจากคณะผุ้เลือกตั้งอย่างน้อย 270 คน หรือมากกว่าครึ่งหนึ่งของคะแนนเสียงทั้งหมดจึงจะชนะการเลือกตั้ง การรณรงค์หาเสียงในทุกรฐเป็นส่ิงสำคัญสำหรับผุ้สมัคร แม้ในรัฐที่มีจำนวนประชกาน้อยและจำนวนคะแนนเสียงของคณะผุ้เลือกตั้งน้อย เพื่อให้ได้คะแนนเสียงของคณะผุ้เลือกตั้งรวม 270 เสียง

       
 ผลอย่างหนึ่งของระบบ "winner-take-all ผู้ชนะได้รับคะแนนเสียงของผุ้เลือกตั้งทั้งหมด คือ แม้ผุ้สมัตรคนใดจะได้คะแนนเสียงของประชาชนทั่วประเทศมากที่สุด แต่ก้อาจจะแพ้การเลือกตั้งได้ ซึ่งมีเหตุการณ์ลักษณะนี้เกิดขึ้นมาแล้วหลายครั้ง

        โดยมาากแล้วจะมีการประกาศตัวเต็งประธานาะิบดีหลังปิดหีลเลือกตังในคือวันเลือกตั้งเดือนพฤศจิกายน แต่คณะผุ้เลือกตั้งประธานาธิบดีจะมารวมตัวกันในรัฐของตน และลงคะแนนเสียงในกลางเดือนธันวาคม จากนั้นสภาคองเกรสจะนับคะแนนในเดือนมกราคม หากไม่มีผุ้สมัครคนใดได้รับเสียงส่วนใหญ่จากคณะผุ้เชือกตั้ง สภาพผู้แทนราษภรจะออกเสียงประะานาะิบดีจาากผุ้สมัคที่ได้รับคะแนนเสียงสูงสุด 3 คนแรก และวุฒิสภาจะเลือกรองประธานาธิบดีจากผู้สมัคร 1 ใน 2 คนที่เหลือ

           การสาบานตนเข้ารับตำแหน่ง ในวันสาบานตนเข้ารับตำแหน่ง ว่าที่ประธานาะิบดีและว่าที่รองประธานาธิบดีจะหล่าวคำสาบานตนและดำรงตำแหน่งอย่างเป็นทางการ พิธีสาบานตนนี้จะจัดขึ้นทุก 4 ปี ในวันที่ 20 มกราคม (หากตรงกับวันอาทิตย์จะเลือนเป็นวันที่ 21 มกราคมแทน) ที่อาคารรัฐสภาสหรัฐอเมริกา  กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. โดยว่าที่รองประธานาธิบดีจะสาบานตนเข้ารับตำแหน่งก่อน ต่อมาในช่วงเที่ยงว่่าที่ประธานาะิบดีจะกล่าวคำสาบานตนตามที่ระบุไว้ในรัฐะรรมนูญสหรัฐฯ.... ที่มา : https://thaipublica.org/2020/10/us-election-how-american-elect-president/

           

วันเสาร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2567

Elephant and donkey

           ระบบพรรคการเมืองสหรัฐฯ เป็นระบบสองพรรคืหลัก คือ พรรครีพับลิกัน Republican Party และ


พรรคเดโมแครต Democratic Party 

         ปัจจบัน พรรครีพพับลิกันมีแนวนโยบายแบบ "อนุรักนิยม" หนุนนดยบายสร้างเสริมเศราฐกิจมุ่งเก็บภาษีต่ำ การทหารที่เข้มแข็ง และสนับสนุนสิทธิการครอบครองผืน ค่านิยมสังคมแบบดั้งเดิม และต่อต้านการทำแท้ง พรรครีพับลิกัน ่อตั้งเมือปี 1854 ด้วยจุดประสงค์ตอต้านการชยายระบบทาศ โดยอับราฮัม ลินคอล์นตัวแทนที่สองของพรรคในการชิงประธานาธิบดีได้รับชัียชนะในปี 1860 ส่งงลใฟ้สฟรัฐญยังคงสภานภาพเป็น "สหภาพ" และยกเลิกทาสได้สำเร็จ หลังจากที่พรรคทางเหนือชนะในสงครามกลางเมือง พรรครีพับลิกันก็ครองอำนาจมาอยางยาวนานถึง 70 ปี ซึ่งในระหว่างนั้น รีพับลิกัน ได้สนับสนุนให้รัฐบาลกลางมีอำนาจมากขึ้น แต่อำนาจไม่อาจอยู่ได้ตลอดไป ภาวะเศราฐกิจที่ตกต่ำอย่างหนัก ไทใไ้รีพับลิกันสูญเสียฐานอำนาจเพราะุถูกมองว่าดำเนินนดยบายเอื้อกลุ่มทุนมากเกินไป จนนำมาสู่วิกฤตเศรากิจ เป็นเหตุให้ 50 ปีต่อมา เดโมแครตจึงครองอนาจปกครองประเทศเป็นส่วนใหญ่

           ช้างอนุรักษณ์นิยมม เดิมที่แนวนโยบายพรรครีพับลิกันมีความเป็นเสรีนิยม เสริมความก้าวหน้าทางเศราฐกิจและเทคโนโลยีการขยรายอาณานิคม และการส่งเสริมสิทธิของชาวแอฟริกันอเมริกัน แต่หลังสฦูญเสียฐานอำนาจให้้เดโมแครต รีพับลิกันหันสุ่แนวทาง "อนุรักษ์นิยม" ตอบโต้การขยายอำนาจนของรัฐบาลกลางภายใต้การนำของเดโมเเครต

           การเปลี่ยนนโยบายคนละขั้ยของทั้งสองพรรคนี้เองทไใ้ฐานเสียงก็ปลี่ยนไปด้วย ดดยกลุ่มผิวสีหันไปหนุนเดโมแครต และคนอเมริกันผิวขาวหันมาหนุนพรรครีพับลิกัน กระทั้งปี 1980 โรนัลด์เรแกร ชนะการเลื่อกตั้งด้วยเสียงข้างมาก นับแต่นั้น พรรครีพับลิกันและเดโมแครต สลับกันครองอำนาจเรื่อยมา กระทั้ง โดนัลด์ ทรัมป์ ดำรงตำแหน่ง สนับสนุนการลดทอนอำนาจรัฐบาลกลาง ซึ่งเป็นแนวทางนโยบายดั้งเดิมของรีพับลิกัน ส่งผลให้จุดยืนของพรรคเอียงขวาไปทางอนุรักษ์นิยมมากขึ้น

           สัญลักษณ์ของพรรครีพับลิกันคือ "ช้าง" ที่มานัต้องย้อนกลับไปสมัยประธานนาะิบดีอับราฮัมลินคอร์นเขาได้เห็นภาพช้างบนป้ายโฆษณาร้านรองเท้า จากหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่ง ที่หนุนพรรครีพับลิกัน อีกทั้งมีภาพช้างใช้งวงชูธง สือถึงชัยชนะของกองทัพรัฐบาล ลินคอล์น ที่สามารถเอาชนะฝ่ายใต้ในสงครามกลางเมืองได้ จึงมีการนำภาพ "ช้าง" มาเป็นสัญลักษณ์พรรคในเวลต่อมา ซึ่งสื่อถึงความยิ่งใหญ่กว่าสัตว์ใดๆ 

           


ในปี 1874 โธมัน แนสต์ นักเขียนการ์ตุนล้อเลียนการเมืองจากนิตยสารการเมืองรายสัปดาห์ชือ Haper ชือ The Third Term  Panic เป็นรูปช้างที่ำดลังออกอาละวาดบุกเก็บเกี่ยวคะแนนเสียงและให้สัตว์อืนๆ กลัว พรรครีพับลิกันจึงเลือกเอาการ์ตูนของเขาทาเป็นสัญลักษณ์ของพรรคอยางเป็นทางการ

            เดโมแครต พรรคฝ่ายตรงข้าม ทั้งทางการเมืองและอุดมคติ คือ พรรคเดโมแครต ปัจจุบัน สมาชิกพรรคส่วนใหญ่มีแนวคิดทางการเมืองเป็นกลาง หรือ moderate  กับกลุ่มหัวก้าวหน้า หรือ proressive ปรัชญาการเมืองของพรรคคือ "เสรีนิยมสมัยใหม่" ที่สนับสนุนความเท่าเทียมทางสังคมและเศษบกิไปพร้อมๆ กัน รับบาลต้องช่วยเหลือเรื่องความเป็นอยู่ของประชาชน การยกระดับความเท่าเทียมทางโอกาสไม่ว่าบุคคลนั้นจะเกิดในครอบครัวอย่างไร

           หากย้อนไปในอดต เดโมแครตไม่ได้เป็นสายเสรีนิยมตั้งแต่เร่ิม บิดาผุ้่ก่อตั้งอเมริกา โธมัส เจฟเฟอร์สัน และ เจมส์ แมดิสัน ได้ก่อตั้งพรรค "เดโมแครต-รีพับลิกัน" ซึ่งเป็นพรรคการเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ซึ่งต่อมาคือพรรคเดโมแครต ทั้งคุ้ต้องการที่จะลดบทบาทรัฐบาลกลาง โดยให้ประชาชนมีสวนร่วมในระบอบประชาธิปไตยมากขึ้น ดังเช่นพรรคการเมืองอื่นๆ ในโลก เมื่อความเห็นในพรรคไม่ลงรอยกัน ภายในจึงแบ่งเป็นฝักฝ่ายกระทังปี 1831 ประะานาะิบดีแดนดรูว์ แจ็คสัน ได้สานต่อแนวคิดที่ต้องการให้รับบาลกลางมีบทบาทน้อลงไปอีก และเพิ่มจำนวนผุ้ใีสิทธิเลือก้งให้ชายผิวขาวทั้งหมด จากเดิมจำกัดเฉพาะเจ้าของที่ดินเท่านั้น แต่คนแอฟริกันอเมริกันยังไม่มีสิทธิเลือกตั้งอีกนานถึง 41 ขณะที่ผุ้หยิงอเมริกันต้องรอนานกวาถึง 91 ปี จึงมีสิทธิเลือกตั้ง

           แต่พรรคเดโมแครตเกิดการแตกแยกภายในอย่างหนักในช่วงสงครามกลางเมืองเมือสมาชิกฝั่งเหนือและฝีั่งไต้เห็นไม่ตรงกัน เรื่องระบบทาสและสหพันธรัฐ จนเมือรัฐทางใต้พายแพ้สงครามกลางเมืองในปี 2408 สภานะของพรรคเดโมแครตในระดับประเทศก็ตกต่ำลงไปหลายชั่วอายุคน ก่อนพ่ายแพ้การเือกตั้งให้พรรครีพับลิกัน ภายใต้การนำของ อับลาฮัม ลินคอร์น

          ลาแห่งเสรีนิยม ปี 1932 จากการนำของประธานาธิบดี แฟรงคลอน รุสเวลท์ พรรคเดโมแครตกลับมายุึดอำนาจได้อักครั้ง ซึ่ตรงกับสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 และมีแนวทางสนับสนุนแนวคิดแบบเสรีนิยมก้าวหน้าหนุนความยุติธรรมให้เกิดในสังคมจากนั้นเป็นต้นมา 

         หลายปีที่ผ่านมา เดโมแครตและรัพับลิกันผลัดกันขึ้นนำประเทศอยู่ตลอด จนกระทั้งถึงยุค "บารัค โอบามาไ เป็นผุ้นำผิวสีคนแรกจากพรรคเดโมแครต และเพิ่มบทบาทของรับบาลในด้านสาะารณสุข ภายใต้นโยบาย "โอบามาแคร์" ที่ต้องการให้ "คนอเมริกันทุกคนเข้าถึงประกันสุขภาพได้อย่างเท่าเทียม"

          "ลา" เป็นสัญลักษณ์มาตังแต่สมัยที่อแนดรูว์ แจ็คสัน ตัวแทนพรรคเดโมแครตลงชิงประะานาธิบดีในช่วงปี 1828 และคู่แข่งได้เรียกเขาว่าแอนดรูว์คนโง่ พร้อมนำรูปลามาเป็นตัวล้อเลียนในเรื่องความโง่ แต่อแนดรุว์ไม่สนใจ และยังนำรูปลามาใช้ในป้ายหาเสียง จนกระทั่งชนะการเลือกตั้งในปีเดียวกัน จึงได้นำ "ลา" มาเป็นสัญลักษณ์พรรคตั้งแต่นั้นมา

          ในปี 1870 นิตยสารการเมืองรายสัปดาห์ชื่อ Harper ตีพิมพ์ภาพวาดผลงานล้อากรเมือง ชือเจ้าลาโง่เตะสิงดตที่ตายแล้ว Alive Jackass kicking a dead lion ของ โธมัส แนสต์ นักเขียนการ์ตูนล้อการเมือง ซึค่งเขาวาดเพื่อเสียดสีพรรคเดโมแครต ดดยเป็นภาพลากำลังเตะสิงโตที่ตายแล้วเพื่อแสดงให้เห็นถึงความดื้อและโง่เขลา แต่พรรคเดอมแครต มองว่า ลาเป็นสัตว์ที่แลาด และกล้าหายไม่ยอมแพ้ จึงถุกนำมาใช้เป็นสัญบักษณ์แบบไม่เป็นทางการจากนั้นเป็นต้นมา 

                ที่มา : https://siamrath.co.th/n/416243

                         https://www.tnnthailand.com/news/uselection2020/59275/

                  

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...