วันศุกร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

Emancipation Proclamation


              การขยายตัวอย่างรวดเร็วมากของดินแดนในอาณัติของสหรัฐ ระหว่างการประกาศอิสรภาพจนถึงช่วงสงครามกลางเมือง เป็นปัจจัยที่ก่อเกิดความขัดแย้ง ระหว่างคตินิยมที่สนับสนุนสถาบัทาส และคตินิยมที่สนับสนุนแผ่นดินที่ปลอดทาส ในครึ่งแรกของศตวรรษที่ 19 สหรัฐได้ที่ดินแดนเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัวภายในระยะเวลาสั้น ๆ ทั้งจากการซื้อ การเจรจา และการสงคราม เร่ิมจากการได้รับโอนพื้นที่ลุยเซียนามาจากนโปเลียนในปี 1803 ต่อมาการออกเสียงให้ผนวกเท็กซัส ซึ่งประกาศตัวเป็นอสระจากเม็กซิโาในปี 1836 เขามาเป็นส่วนหนึ่งของสหรับในปี 1845 กลายเป็นชนวนก่อให้เกิดสงครามเม็กซิโก-อเมริกา ในระหว่างปี 1846-1848 ชัยชนะของอเมริกาในสงคราม เป็นผลให้สหรัฐได้ผนวกดินแดนใหม่ๆ เพิ่มขึ้นอีก แต่การขยายดินแดนอย่างต่อเนื่องก็ก่อให้เกิดปัญหาขัดแย้งไม่รู้จบ ในเรื่องความชอบด้วยกฎหมายของการมีทาศในดิแนดที่ถูกผนวกเข้ามา ซึ่งถือเป็นประเด็นที่ส้่งผลกระทบดดยตรงต่อทิศทางทางเศราฐกิจในพื้นที่ใหม่ โดยก่อนหน้านี้ การประนีประนอมมิสซูรี ปี 1820 ตกลงห้ามการขยายตัวของสถาบ้นทาสไปในพื้อนที่ตอนเหนือของพื้นที่รับโอนหลุยส์เวีนนาที่ยังไม่ได้จัดตั้งเป็นเขตปกครอง งเพื่อแลกเปลี่ยนกับการยอมให้มีการสถาปนามิสซูรีขึ้นเป็นรัฐที่การมีทาสเป็นสิ่งถุกกฎหมาย สำหรับกรณีพิพาทในพื้นที่อันผนวกเข้ามาใหม่หลังสงครามเม็กซิโก-อเมริกันมีการเสนอ เงื่อนไขวิลม็อท โดยเงื่อนไขนี้ต้องการให้ดินแดนใหม่ที่ผนวกเข้าเป็นดินแดนที่ปลดจากสถาบันทาส แต่ในขณะนั้นนักการเมืองจากฝ่ายไใต้ครองที่นั่งมากกว่าในวุฒิสภา เงื่อนไขวิลม็อทจึงถุกสกัดกั้นและได้รับการโหวตให้ตกไป

          การประนีประนอมเกิดขึ้นในปี 1850 โดยมีการแก้ไข รัฐบัญญํติไล่ล่าทาศหลบหนี ให้เข้มงวดขึ้นไป
อีก เพื่อชดเชยกับการยอมให้รัฐแคลิฟอร์เนยที่รับเข้ามาใหฒ่เป็นรัฐปลอดทาส มีการกำหนดโทษกับผู้รักษากฎหมายในมลรัฐใดๆ ที่ไม่ยอมปฏิบัติตามและยังคับใหช้กฎหมายนี ดงนี้นสำหรับรัฐทางฝ่ายเหนือแล้วกฎหมายไล่ล่าทาศหลบหนีฉบับแก้ไขปี 1850 จึงมีนยว่าประชาชนอเมริกันทัี่วๆ ไปก็มีหน้าทต้องให้ความช่วยเหลือนักล่าทาศหลบหนีจากทางใต้ ความรุ้สึกต่อต้านสถาบัทาสในจิตใจคนอเมริกันจึงเพ่ิมขึ้นเป็นวงกว้าง มีผุ้เข้าร่วมการเคลื่อนไหวในเครื่อข่าย Underground Railroad (เป็นคเรือข่ายเส้นทางลับและบ้านพักที่ปลอดภัยซึ่งก่อตั้งขึ้นในสหรัฐฯ ใช้เส้นทางนี้เป็นกลักเพื่อหลบหนีไปยังรัฐที่เป็นอิสระและไปยังแคนาดา) ของขบวนการเลิกทาสเพื่อขึ้นอย่างต่อเนื่อง

           แม้ประชาชนส่วนใหญ่ของสหรัฐ ซึ่งอาศัยกระจุกตัวอยุ่ในพื้นที่ทางตอนเหนือ จะไม่เห็นด้วยกับการคงไว้ซึ่งสถาบันทาส แต่การแทรกแซงโดยตรงจากรัฐสภาให้มีการยกเลิกหรือเพียงแต่จำกัดการขยายตัวของสถาบันทาสไม่ว่าในพื้นที่ใดของสหรัฐ ก้ยังเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนอย่างยิ่ง เนื่องจากแนวคิดทาง

กฎหมายรัฐะรรมฯูญในขณะนั้นยังไม่มีบทคุ้มครองห้ามเหลือปฏิบัติต่อประชาชนอเมริกันด้วยเหตุผลทางสีผิว หรือศาสนา และยังคงถือว่าแต่ละรับมีอำนาจจะกำหนดสิทธิหน้าที่ (ซึ่งรวมถึงสิทธิเลือกตั้ง) ของพลเมืองในรัฐอย่างไรก็ได้ แนวคิดหนึ่งที่ยอมรับอย่างกว้างขวางคือ การถือว่าประเด็นเรื่องสถาบันทาสเป็นเรื่องของอำนาจอธิปไตยของปวงชน มากกว่ที่จะเป็นการเมืองในรัฐสภา และคนท้องถ่ินย่อมมีสิทธิจะโหวตเสียกำหนดเอาเองในพื้นที่ที่ตนอาศัยอหรือท้องที่ซึ่งตนเข้าไปบุกเบิก แนวคิดเรืองอธิปไตยปวงชนนี้ถูกสอดเข้าไปในนธยบายของรัฐบาลกลาง ที่สนับสนุนการขยายการตั้งรกรากของประชกรเข้าในพื้นที่ที่ยังไม่ได้รับการบุกเบิกในทิศตะวันตก ตั้วอย่างที่สำคัญคือ กฎหมายแคนซัส-เนบรสาก ปี 1854 ซึ่งร่างโดย วุฒิสมาชิก สตีเฟน เอ. ดักลาส กฎกมายฉบับนี้มีวัตถุปรสะงค์จะให้คนเข้าไปจับจองพื้นที่ที่ทำินตามแนวทางรถไฟข้ามประเทศที่กำลังก่อสร้าง โดยผนวกเอาแนวคิดเรื่องอธิปไตยของปวงชนไว้ แต่กลับว่านำไปสู่การนองเลือดที่รู้จักกันในชื่อ  "แคนซัสหลังเลือด" Bleeding Kansas เมือนักบุกเบิกอุดมการณ์ " แผ่นดินเสรี" เข้าปะทะกับนักบุกเบิกที่สนับสนุนสถาบันทาสจากรัฐมิสซุรีใกล้เคียง ซึ่งแห่กันเข้ามาในแคนซัสเพียงเพื่อที่จะออกเสียงลงมติรับรัฐะรรมนูญของรัฐ การใช้ความรุนแรงดังกลาวเกิดขึ้นอยุ่นานหลายปี ทำให้มีผุ้เสียชีวิตอยางน้อยหกสิบคน และอาจถึงสองร้อยคนภายในแค่สามเดือนแรก

          "(พวกนิโกร) เป็นพวกที่ถูกถือว่าเป็นมนุษย์ในอันดับที่อ้ยกวามาเป็นเวลากวาหนึ่งศตวรรษท จึงบ่อมเป็นการไม่เหมาะสมในทงใดๆ ที่จะนำพวกนี้มาเปรียบเทียบกับคนผิวขาว ไม่ว่าจะในทางความสัมพันะ์ทางสังคม หรือในทางการเมือง และต่ำชั้นกว่าอย่างไกลลิบ จนถึงขนาดว่าพวกนี้ไม่มีสิทธิใดๆ ที่คนผิวขาวจำเป็นจะต้องเคารพ และพวกนิโกรจึงอาจลดฐานะลงมาเป็นทาาสเพื่อประโยชน์ของคนขาว โดยชอบด้วยความยุติะรรม โและโดยชอบด้วยกฎหมาย"

           คำพิพากษาคดี เคร็ด สก็อตต์ ถุกวิพิากษ์วิจารณ์อย่างรุนแรง ทั้งโดยสือ่ และนักากรเมืองฝ่ายเหนือซึ่งถือว่าคำพิพากษานี้ในคำปราศัย ไครัวเรือนไหนแตกแยกกันเอง ครัวเรือนนั้นจะตั้งอยุ่ไม่ได้" ของคนที่รัฐอิลินอยส์ ในปีเดียวกัน โดยเตือนถึงภัยของคำพิพากษา เดร็ต สก็อตต์ Dred Scott ที่จะเปลี่ยนอเมริกาทั้งประเทศให้กลายเป็นดินแดนที่การมีทาศป็นเรื่องชอบด้วยกฎมหาย และท่านยังทำนายว่าอเมริกาจะไม่แบ่งแยกตลอดไป แต่มีชะตากรรมที่จะต้องเปลี่ยนไปในทางใดทางหนึ่ง ซึ่งหากไม่ใช่ว่าการมีทาศจะหลายเป็นเรื่องถุกฎหมายทั้งประเทศ ก็ต้องเป็นว่าการมีทาสจะต้องไม่มีอยุ่อีกต่อไป นอกจากนี้คำพิพากษา เดรด สก็อต ยังม่ส่วนผลักดันให้ขบวนการ จอห์ บราวน์ที่พยายามติดอาวุธให้กับทาสผิวดำเพื่อให้ก่อจลาจลที่ ฮาร์เปอร์ส เฟอร์รี่ เวอร์จิเนีย ในเดือนตุลาคม 1859

           การเลือกตั้งประะานาะิบดีสหรับปี 1860 เป็นเหตุการณ์สำคัญที่ผลักดันสหรัฐเข้าสุ่สงครามกลางเมือง ประธานาธิบดี เจมส์ บุแคนั้น ในขณะนั้นเป็นชาวอเมริกันทางตอนหนือที่มีความคิดเห็เข้าข้างฝ่ายใต้  โดยเเป็นคนเขียนจดหมายชักจูงให้ตุลาการสมทบแห่งศาลสุงสุดสหรับ โหวตร่วมกับฝ่ายเสียงข้างมากในคณะศาล ให้ เดรด สก็ตต์ แพ้คดี เพื่อให้ศาลเขียนคำพิพากษาปฏิเสะอำนาจของรับบาลกลางในประเด็นที่เกี่ยวกับควาชอบด้วยกฎหมายของสถาบันทาสแบบเด็ดขาด การเข้ากดดันตุลาการในคดี เครด สก็ตต์ ของ ประธานาธิบดี บูแคนั้น กลายเป็นเรื่องอื้ฉาว และก่อเกิดผลสะท้อนกลับเชิงลบทางการเมืองต่อพรรคเดโมแครด เป็นอย่างยิ่ง ความไม่พอใจในคำพิพากษา ของชาวอเมริกันในรัฐทางเหนือ ช่วยให้พรรครีพับลิกัน ได้รับชัชนะใด้ที่นั่งในสภาผุ้แทนเพื่อในการเลือกตั้งกลางเทอม ปี 1858 และเข้าควบคุมได้ทั้งสภาคองเกรสในการเลือกตั้งใหญ่ปี 1860

          ชัยชนะของ อับราฮัม บินคอล์น แห่งพรรครีพับลิกัน เป็นผลจากความระส่ำระสายภายในของพรรเดโมแครต เหนืองจากตัวแทนจากรัฐทางตอนใต้ซึ่งเป็นพวกสนับสนุนสถาบันทาศ และคำพิพากษา เครด สก็ตต์ พากัน "วอล์กเอ้าท์ไ จาการประชุมแห่งชาติของพรรคเดโมแครต เพื่อประท้วงการที่ที่ประชุมปฏิเสธไม่รัีบมติสนับสนุนนดยบายขยายสถาบันทาส โดยการใช้กฎหมายทาส ในทุกพื้นที่ของสหรัฐ สมาชิกของพรรคเดโมแครตจึงแตกออกเป้ฝ่ายเหนือและใต้ ที่มา : วิกิพีเดีย

          

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Midwest

            "มิดเวสต์" เป็นหนึ่งในสี่ภูมิภาคสำมะโนประชากรของสำนักงานสำมะโนประชากรแห่งสหรัฐอเมริกาเรียก ภุมิภาคนี้ว่า ภุมิภาคตอนกลา...