วันอาทิตย์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

Mongoloid

            มองโกลอยด์ เป็นหลุ่มเชื้อชาติที่ล้าสมัยของกลุ่มชนพื้นเมืองต่างๆ ในพื้นที่ส่วนใหญ่ของเอเชียอเมริกาและบางภูมิภาคในยุโรปและโอเชียเนย คำนี้มาจากทฤษำีเกี่ยวกับเชื้อชาติทางชีววิทยาที่ปจจุบนพิสูจน์แล้วว่าผิด ในอดีตมีการใขช้คำศัพท์อื่นๆ เช่น "เผ่าพันธ์ุมองโกลอยด์" "ผิวเหลือง" เอเชียติก" และตะวันออก" เป็นคำพ้องความหมาย

           แนวคิดเรื่องการแบ่งแยกมนุษยชาติออกเป็นเผ่าพันธุ์มองโกลอยด์ คอเคซอยด์ และนิโกร ได้รับการแนะนำในช่วงปี 1780 โดยสมาชิกของสำนักประวัติศาสตร์เกิททิงเงน แนวคิดนี้ ได้รับการพัฒนาเพื่อเติมโดยนักวิชาการตะวันตกในบริบทของ อุดมการณ์ "เหยียดเชื้อชาติในยุคอาณานิคม" ด้วยการเพื่อขึ้นของพันธุศาสตร์ สมัยใหม่ แนวคิดเรื่องเผ่าพันธุ์ มนุษย์ที่แตกต่างกันในเชิงชีววิทยาจึงล่าสมัยไปแล้ว ในปี 2019 สมาคมนักมานุษยวิทยาชีววิทยาแห่งอเมริกา ได้กล่าวว่า "ความเชื่อใน "เผ่าพันธุ์"ในฐานะองค์ประกอบทางธรรมชาติของชีววิทยาทยามนุษย์ และโครงสร้างของความไม่เท่าเที่ยมกัน)การเหยียดเชื้อชาติ) ที่เกิดขึ้นจากความเชื่อดังกล่าว คือเป็นองค์ประกอบที่สร้างความเสียหายมากที่สุดในประสบการณ์ของมนุษย์ทั้งในปัจจุบันและในอดีต


        คำว่า "มองโกลอยด์"ได้ถูกนำมาใช้เป็นครั้งที่สอง โดยอ้างถึงผุ้ที่มีอาการดาวน์ซินโดรม ซึ่งปัจจุบันถือกันว่าน่ารังเกียจมาก ผุ้ที่ได้รับผลกระทบมักถูกเรียกว่า "มองโกลอยด์" หรือเรียกอีกอย่างว่า "ความโง่เขลาของชาวมองโกล"

        คำว่า "มองโกลเลียในฐานะคำที่ใช้เรียกเชื้อชาติถูกนำมาใช้ครั้งแรกในปี 1785 โดยคริสดอฟ ไมเนอร์ส นักวิชาการจากมหาวิทยาลัยเกิททิงเงน ซึ่งทันสมัยในขณะนั้น ไม่เนอร์สแบ่งมนุษย์ออกเป็นสองเชื้อชาติ เขาเรียกว่า "ชาวตาตาร์-คอเคเซียน" และ "ชาวมองโกล" โดยเชื้อว่าเชื้อชาติแรกมีความสวยงามส่วนเชื้อชาติหลัง" มีร่างกายและจิตใจอ่อนแอ ไม่ดี และขาดคุณธรรม

       โยอันน์ ฟรีดริช บลูเมนบัด เพื่อร่วมงานของเขาที่ เกิดททิงเงน นำไปใช้ในการแบ่งมนุษยชาติออกเป็น 5 เชื้อชาติ ซึ่งนำมาซึ่ง "ลัทธิเหยียดเชื้อชาติทางวิทยาศาสตร์ไ ในภายหลัง แต่ข้อโต้แย้งของเขานั้นต่อต้านการเหยียดเชื้อชาติโดยพื้นฐาน เนื่องจากเขาเน้นย้ำวามนุษยชาติโดยรวมแล้วก่อตัวเป็นสายพันธุ์เดียวกัน และชี้ให้เห็นว่าการเปลี่ยนผ่านจากเชื้อชาติหนึ่งไปสู่อีกเชื้อชาติหนึ่งนั้นค่อยเป็นค่อยไปมาก จนทำให้ความแตกต่างระหว่างเชื้อชาติที่เขาเสนอนั้น "ไม่แน่นอนอย่างมาก" 

         การอภิปรายเกี่ยวกับเชื้อชาติในหมู่นักวิชากรตะวันตกในช่วงศตวรรษที่ 19 เกิดขึ้นท่ามกลางการโต้เถียงระหว่างนักวิชาการที่เชื่อว่ามีเชื้อสายเดียวและนักวิชาการที่เชื่อว่ามีเชื้อสายหลายเชื้อชาติ โดยนักวิชาการที่เชื่อว่ามีเชื้อสายเดียวสนับสนุนให้มนุษยชาติทั้งหมดมีต้นกำเนิดเดียวกัน ส่วนนักวิชาการที่เชื่อวย่าแต่ละเผ่าพันธุ์มนุษย์มีต้นกำเนิดเฉพาะ นักวิชาการที่เชื่อว่ามีเชื้อสายเดียวสนับสนุนการโต้แย้งของตนโดยอาศยการตีความ เรื่องราว "ในพระคัมภีร์" เกี่ยวกับ อาดัมและเอวา ตามตัวอักษรหรือจาการศึกษาวิจัยทางโลกเนื่องจากนักวิชาการที่ เชื่อว่ามีเชื้อสายหลายเชื้อชาติเน้นย้ำถึงความแตกต่างที่รีบรู้ได้ จึงเป็นที่นิยมในหมุ่นักวิชาการ  ที่เชื่อว่ามีเชื้อสายหลายเชื้อชาติเน้นย้ำถึวความแตกต่างที่รับรู้ได้ จึงเป็นที่นิยมในหมู่นักวิชาการ ที่เชื่อว่า คนผิวขาวเหนือกว่าโดยเฉพาะเจ้าของทาสในสหรัฐอเมริกา...

         ในบทความ เกี่ยวกับความไม่เท่าเทียมกันของผ่าพันธุ์มนุษยตีพิมในปี 1853-55 ซึ่งต่อมามอิทธิพลต่อ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ขุนนางฝรั่งเศส อาเธิร์ เดอ โกบิโน ได้นิยามเผ่าพันธุ์สามเผ่าพันธุ์ที่เขาเรียกว่า "ผิวขาว" ผิวดำ" และ "ผิวเหลือง" เผ่าพันธุ์ผิวเหลืองของเขาสอดคล้องกับ เผ่าพันธุ์มองโกลอยด์ ของนักเขียนท่านอื่นๆ แม้ว่าเขาจะมองว่า เผ่าพันธุ์ผิวขาว เหนือกว่า แต่เขาก็อ้างว่า "เผ่าพันธู์ผิวเหลือง นั้นะรรมดาทั้งทางร่างกายและสติปัญญา แต่มีลัทธิวัตถุนิยมที่เข้มแข็งมากซึ่งทำให้พวกเขาบรรลุผลบางอย่างได้...

       เมื่อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานการณ์ของสหรัฐอเมริกาในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ลีโอนาร์ด ลิเบอรืแมนกล่าว่าแนวคิดที่ว่าโลกทั้งใบประกอบด้วยเชื้อชาติที่แตกต่างกันสามเชื้อชาติ ได้แก่ คอเคซอยด์ มองโกลลอยด์ และนิโกร ดูเหมือนจะน่าเชื่อถือเนื่องจากประวัติศาสตร์การอพยพเข้าสู้สหรัฐอเมริกา โดยผุ้อพยพส่วนใหญ่มาจากสามพื้นที่ ได้แก่ จีนตะวันออกเฉียงใต้ ยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ และ แอฟริกาตะวันตก สิ่งนี้ทำให้มุมองของเชื้อชาติทั้งสามนี้ดู "เป็นจริง เป็นธรรมชาติและหลีกเลี่ยงไม่ได้"

            ปี 1950 ยูเนสโก ได้เผยแพร่คำชี้แจงเรืองคำถามเรื่องเชื้อชาติ ซึ่งประณามการเหยยดเชื้อชาติทุกรูปแบบโดยระบุว่า "หลักคำสอนเรื่องความไม่เท่าเที่ยมกันระหว่างมนุษย์และเชื้อชาติ เป็นหนึ่งในสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 2 และเสนอให้แทนที่คำว่า "เชื้อชาติ" ด้วย "กลุ่มชาิตพันธุ์" เหนืองจาก ข้อผิดพลากร้ายแรง มักเกิดขึ้นเป็นประจำเมืองใช้คำว่า "เชื้อชาติ" ในภาษาพูดทั่วไป

          "ภัยเหลือง" คำนี้บัญญัติขึ้นเพื่อใช้แทนความหวาดกลัวและการดุแคลนคนเอเชียในช่วงร้อยปีของประวัติศาสตร์สหรัฐอเมริกา คำนั้เร่ิมใช้ครั้งแรกในปี 1868 เมื่อสหรัฐอนุญาตให้ชาวจีนหลายหมือนคนเข้ามาทำงานที่สเียงอันตราย เช่น การทำเหมืองแร่ เป็นแรงงานในการสร้างทางรถไฟ และอนุญาตให้คนเหล่านี้ขอสัญชาติและตั้งรกตากในสหรัฐอเมริกาได้ ตรมสนะิสัญญาเบอรลิงเกม และยังได้ออกกฎหมายเพจ เพื่อสนับสนุนชาวจีนเหล่านี้่ให้ตั้งรกรากในสหรัฐฯ ส่วนหนึ่งก็เพราะสหรัฐฯ ต้องการแรงงานมหาศาลในการช่วยสร้างประเทศ

           ช่วงนั้นมีคนจีนทะลักเข้าในสหรัฐฯ เป็นจำนวนมากหลังจากชาวจีนก็มีชาวญี่ปุ่นที่อพยพตามในช่วงปี 1907-1930 ทศวรรษที่ยาวนานนั้นเอง ก็เร่ิมมีกระแสความหวาดกลัวคนเอเชียเพื่อมากขึ้นเรื่อยๆ ชนวน


ส่วนหนึ่งเป็นควาามไม่มั่นใจในความปลอดภัยของคนขาวเองเพราะในเวลาไล่เลี่ยกัน ญี่ปุ่นสามารถเอาชนะในการทำสงครามกับรัสเซีย ในปี 1905 กระแสความหวาดกลัวของคนยุโรปก็เร่ิมส่งมาถึงอเมริกา ท้ายสุดเกิดการต่อต้านและประท้วงโดยคนขาวซึ่งเป็นห่วงว่าคนเหล่านี้จะมาแย่งงานหรือสวัสดิการต่างๆ ที่พวกเขาพึงได้ และต่อต้านไม่ใหั้คนเอเชียได้รับสะทิธิในการถือสัญชาติอเมริกัน การต่อต้านบรรลุผลเมือมีการจำกัดจำนวนคนเอเชียเข้าประเทศภายหลังการสร้างทางรถไฟข้ามประเทศเสร็จสิ้น และมีการออกกฎหมายตั้งเขตที่อยุ่อาศัยเฉพาะคนเอเชียขึ้นมาตามเมืองต่างๆ ด้วย 

          คำว่า "ภัยเหลือง" มาสุ่จุดสุงสุดเมือสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ญุี่ปุ่นถล่มฐานทัพเรือเพิร์ลฮาร์เบอตร์ของสหรัฐฯฯ  และทวีความหวาดกลัวคนเอเซียของคนขาวทั้งหลายก็ว่าได้ จนเป็นที่มาของการตัดสินใจทิ้งระเบิดปรมาณูในเวลาต่อมา หลังสงครามโลกเมือสหรับควบคุมสภานะการณ์ได้ ความหวาดกลัวคนเอเชียจึงเร่ิมซาลง กระทั้งถูกปลุกให้ตื่อนอีกครั้งในสมัยประธานาธิบดีโดนัล ทรัมป์ โดย ใช้เรียก covid 19 ว่า "ไวรัสคนจีน"

        โควิด เปิดจุดอ่อนและด้านลบของปัญหาการเมืองในประเทสนั้นๆ ปรากฎออกมาเด่นชัดใน สหรัฐฯ ไม่มีเรื่องอะไรมากกว่าปัญหาความเหลื่อมล้ำ กดขี่ เหยียดเชื้อชาติสีผิวที่ทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น กรณีของสหรัฐฯ ในสมัยประะานาะิบดีทรัมป์ผุ้ประกาศคำขวัญว่า "อเมริกาก่อน" 

            ที่มา : วิกิพีเดีย

                     https://www.the101.world/us-covid19-war/

           

วันเสาร์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

Emancipation Proclamation...(2)

           การเลือกตั้งประธานาะิบดี ปี 1860 ถือเป็นจุดสิ้นสุดของการครองอำนาจทางการเมืองในอเมริกาของฝ่ายใต้ เนื่องจาก 2 ใน 3 ของจำนวนประะานาะิบดีทั้งหมดล้วนมาจากภาคใต้ นับแต่จอร์จ วอชิงตัน ได้รับเลือกเป็น ปธนคนแรกในปี 1789 ความพ่ายแพ้นี้ทำให้รัฐฝ่ายใต้รุ้สึกุุกบีบคั้นอย่างมา และกลายเป็นจุดแตกหักทางการเมือง โดยเพียงสองเดือนหลังชัยชนะในการเลือกตั้งทั่วประเทศ มลรัฐเซาท์แคโรไลน ซี่งเป็นตัวตั้งตัวตีที่สำคัญในการผลักดันประเด็นเรื่องสิทธิของมลรัฐที่จะปกครองและกำหนดตนเอง ก็ประกาศแยกตัวออกเป็นรัฐแรก ปลพมลรัฐเกษตรกรรมไร่ฝ่้ายอีกหกมลรัฐ ก็ทยอยประกาศแยกตัวออกตามในอีกสองเดือนถัดมา 

            อับราฮัม ลินคอล์๋น เข้าสาบานตนเป็นปรธานาะิบดีคนที่16 ของสหรับในวันที่ 4 มีนาคม 1861 ท่านกล่าวในสุทรพจน์เข้ารับตำแหน่งว่า ภายใต้รัฐะรรมนูญของสหรัฐฯ ความพยายามแยกรัฐออกเป็นอิสระย่อมเป็นโมฆะแต่ก็ให้คำยืนยันว่ารับบาลของตนจะไม่เร่ิมต้นสงครามกลางเมือง ดดยกล่าวต่อ "รัฐทางใไต้" ว่า "ข้าเจ้าไม่มีจุดหมายโดยตรงหรือโดยอ้อมที่จะแทรกแทรงสถาบันการครองทาสที่ยังมีอยุ่ในประเทศสหรัฐ เพราะข้าพเจ้าเชื่อว่าข้าเจ้าไม่มีสิทธิโดยชอบด้วยกฎหมายที่จะทำเช่นนั้นไ ลินคอล์นทำอย่างดีที่สุดที่จะใช้สุนทรพจน์เข้ารับตำแหน่งในการหว่านล้อมเพื่อนร่วมชาติให้หันมาปรองดองกัน ให้เห็นความเป็นครอบครัวอเมริกันครอบครัวเดียวกัน...

            "พวกเราไม่ใช่ศัตรุกัน เราเป็นเพื่อน เราจะเป็นศัตรูกันไม่ได้ ถึงความรุ้สึกจะบอบช้ำไปบ้าง แต่จะให้สิ่งนี้มาทำลายสายใยของมิตรภาพหาได้ไม่ สายพิณที่นาพิศวงของความทรงจำ ที่ดยงเอาทุกสมารภูมิรบและหลุมศพของวีรบุรุษ เข้าไว้กับทุกหัวใจที่ยังมใีชีวิตอยุ่ และหินหน้าเตาไฟของทุกครัวเรือน ทั่วดินแดนอันกว้างใหญ่ไพศาลนี้ จะยังส่งเสียงประสานของความกลมเกลี่ยวแห่งสหาภาพอย่างแน่นอน ยามเมือมันถุกดีดให้ดังขึ้นอีครั้ง โดยเทวทูตที่ดีกว่าแห่งธรรมชาติของเรา.."- อับราฮัม ลินคอล์น, สุนทรพจน์เขารับตำแหน่งครั้งแรก 4 มีนาคม 1861

            อับราอัม ลินคอล์น 12 กุมพาพันธ์ 1809-15 เมษายน 1865 เป็นทนายความนักการเมือง และรัฐบุรุษชาวอเมริกันที่ดำรงตำแหน่ง ประะานาะิบดีคนที่ 16 ของหสรัฐอเมริกตั้งแต่ปี 1861 กระทั้งถูกลอบสังหาร ปี 1865 ลินคอล์นเป็นผุ้นำสหรัญฯ ผ่านสงครามกลางเมือง อเมริกาปกป้องประเทศในฐานะสหภาพ ตามรัฐะรรมนูญ ปราบสมาพันธรัฐกบฎ มีบทบาทสำคัญในการยกเลิกทาส ขยายอำนาจของรับบาลกลางและปรับปรุงเศรษฐกิจสหรัฐฯให้ทันสมัย 

          ลินคอล์น เกิดในครอบครัวยากจน ในกระท่อมไม่ซุงในรัฐเคนตักกี้และเติบโตบนชายแดนโดยเฉพาะในรัฐอินเดียนาเขาศึษาด้วยตนเองและหลายมาเป็นทนายหัวหน้าพรรค "วิง" สมาชิกรัฐสภาอิลินอยซ์ และผุ้แทนสหรัฐฯจากอิลินอยส์ ในปี 1849 เขากลับไปประกอบอาชีพทหนายความที่ประสบความสำเร้๗ในเมืองสปริงฟิลด์ รัฐอิลลินอยส์ในปี 1854 เขาดกรธเคืองต่อพระราชบัญญัติเคนซัส เนแบรสกา ซึ่งเป็นพื้นที่ให้มีการค้าทาส เขาจึงกลับเข้าสุ่วงการเมืองอีกครั้งในไม่ช้าเขาก็กลายเป็นผู้นำของพรรครีพับลิกันใหม่ เขาได้รับความสนใจจากทั่วประเทศในการดีเบตหาเสยงในวุฒิสภาในปี 1858 เพื่อต่อต้านสติเฟน เอ. ดักลาส ลินคอล์นเองสมัครับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีในปี 1860 และได้รับชัยชนะในภาคเหนือ กลุ่มสนับสนุนการมีทาสในภาคใต้มองว่าการเลือตั้งของเขาเป็นภัยคุกคามต่อการค้าทาส 

           สหพันธรัฐอเมริกา เป็นรัฐบาลแยกตัวออกซึ่งสถาปนาในปี 1861  ภายในดินแดนของสหรัฐโดยเจ็ดรับทาส คือ รัฐที่อนุญาตความเป็นทาสทางใต้ซึ่งประกาศแยกตัวออกจากสหรัฐหลังการเลือกตั้งเมื่อปี 1860  ซึ่ง อับราอัม ลินคอล์น ชนะเจ็ดรัฐเหล่านี้สถาปนาชาติใหม่ในเดือนกุมภาพันธ์ 1861 ก่อนลินคอล์นเข้าดำรงตำแหน่งในเดือนมีนาคม หลังสงครามเร่ิมขึ้นในเดือน เมษายน สี่รัฐอัปเปอร์เซาท์ ก็ประกาศแยกตัวออกและเข้าร่วมสาพันธรัฐเช่นกัน ภายหลัง สมาพันธรัฐยอมรับอีกสองรัฐเข้าเป็นสมาชิก คือ รัฐมิสซุรี และรัฐเคนทักกี แม้สองรัฐนี้ไม่ได้ประกาศแยกตัวออกหรือถูกกำลังสมาพันธ์รัฐควบคุมอย่างเป็นทางการ 

          รัฐบาลสหรัฐ (สหภาพ) ปฏิเสธการแยกตัวออกและมองว่าสมาพันธรัฐมิชอบด้วยกฎหมาย สงครามกลางเมืองอเมริกาเร่ิมขึ้นด้วยการเข้าตีค่ายซัมเทอร์ของสมาพันธรัฐ ปี 1861 ซึ่งเป็นค่ายทหารบนทาเรือชาร์ลสตัน รัฐเซาท์แคโรไลนา ถึงปี 1865 หลังการสู้รบอย่างหนัก ซึ่งสวนใหญ่ในดินแดนสมาพันธรัฐกำลังสมาพันธรัฐปราชัยและสมาพันธล่มสลายลง ไ่มีรัฐต่างประเทศใดรับรองสมาพันธรัฐเป็นประเทศเอกราช แต่อังกฤษและฝรั่งเศสให้สภาพคู่สงคราม

          สหรัฐฯ สู้รบกันในสงครามกลางเมืองระหว่างปี 1861-1865 โดยมีการสุ้รบกันใน 23 มลรัฐ และในพื้นที่ที่ขณะนั้นยังไม่มีสถานะเป็นมลรัฐ รวมไปถงพื้นที่ทางน้ำสงครามกลางเมืองอเมริกา สุ้รบกันในพื้นที่นับไม่ถ้วย ตั้งแต่ วาลเวอร์ด, รัฐนิวเม็กซิโก และ ตุลลาโฮมา, รัฐเทนเนสซี ไปจนถึง เซนต์อัลแบนส์, รัฐเวอร์มอนท์ และเฟอร์นานดินา ณ ชารรฝั่งรัฐฟลอลิดา สมารภูมิที่มีชื่อบันทึกอย่าเป้นทางการมีถึง 237 สมรภูมิ คนอเมริกันมากกวา่สามล้านคนเข้าร่วมสุ้รบในสงครามกลางเมือง และมีคนกว่าหกแสนคนล้มตายในสงครามนี้ หรือคิดเป็นร้อยละสอง ของประชากรอเมริกันทั้งหมด

           ต้นปี 1864 ลินคอล์มอบอำนาจสั่งการกองทัพทังหมดให้กับ จอมพล ยูลิสซิส เอส. แกรนด์ โดยแกรนด์ใช้กองทัพโพโทแม็ค เป็นกองบัญชาการ และให้อำนาจบัญชาการกองกำลังทางแนวรบตะวันตกเกือบทังหมดแก่ พลตรี วิลเลียม ที.เชอร์แมน จอมพลแกรนด์มีความเข้าใจแนวคิดของสงครามเบ็ดเสร็จ ทั้งยังเห็นตรงกับลินคอล์นและเชอร์แมนว่า วิะีเดียวทีจะพิชิต่ายสมาพันธรัฐและยุติสงครามได้ ก็คือ การทำลายทังกองกำลัง และฐานทางเศราฐกิจของฝ่ายข้าศึกโดยสิ้นเชิง แต่เน้นย้ำว่าเป้าหมายไม่ใช่พลเรือนของฝ่ายตรงข้าม หากแต่เป็นการเข้ายึดเสบียงอาหาร และทำลายบ้าน เรือนเรือกสวนไร่นา และทางคมนาคมทางรถไฟซึ่งมิแะัั้นทรัพยากรเหล่านี้จะถูกนำไปใช้ทงการสงครามโดยฝ่ายกบฎ

          นายพลโรเบิร์ต อี. ลี ได้รับสารจากนายพลแกรนด์ขอให้ยอมจำนนเสียลียังพยายามสุ้ต่อ และพยายามจะฝ่ากองกำลงของเชอริเดอที่ปิดถนนใกล้กับแอพโพแมตท็อกซ์ คอร์ทเฮ้าส์ ไว้ แต่เมือพบว่าทางเหลือกเดียวที่เหลือคือต้องรบแบบกองโจรในป่า ลีจึงตัดสินใจยอมวางอาวุะ แล้วส่งสารถึงแกรนด์กงทัพเวรอืจิเนียเหนือว่าขอยอมจำนน สงครามกลางเมืองอเมริกาเป็นอันสิ้นสุดลงเมือวันที่ 9 เมษายน ปี 1865 ณ บ้านของ วิลเมอร์ แม็คลีน กองกำลังสมาพันธรัฐที่ยังไม่ยอมทิ้งอาวุธ ก็ทยอยกันยอมจำนนเมืองข่าวการยอมแพ้ของนายพลลีทราบไปถึง

          ในวันที่ 14 เมษายน ปี 1865 ประธานาธิบดีลินคอล์น ถูกผุ้ฝักใฝ่ฝ่ายสมาพันธรัฐลอบยิง ลินคอล์นเสียชีวิตในรุ่งเช้าวันถัดไป และแอนดรุว์ จอห์นสัน กลายเป็นประธานาธิบดีแทนที่ และในวั้นที่ 23 มิถุนายน 1865 นายพลฝ่ายสมาพันธรัฐคนสุดท้ายก็ยอมจำนน

         ราคาของสงคราม 

         สงครามกลางเมืองทำให้มีผุ้บาดเจ็บล้มตายไม่น้อยกว่า ล้านคน คิดเป็นร้อยละสามของประชากรทั้งหมด การสำรวจสำมะโนครัวปี 1860 พบว่าร้อยละ 6 ของชายอเมริกาผิวขาวในรัฐทางเหนือ อายุระหว่าง 13-43 ตายในสงคราม ในภาคใต้อัตรานี้สุงถึงร้อยละ 18 ทหารประมาณ 56,000 คนตายในค่ายนักโทษระหว่างสงครามและผุ้ที่พิการสูญเสียแขนขาประมาณ 60,000 คน

        จากการสำรวจบันทึกโดย นักประวัติศาสตร์ ฝ่ายเหนือมีทหารรวม 359,528 นาย คิดเป็นร้อยละ 15 ของทหารกว่า 2 ล้านนายที่เข้ารับใช้ชาติ โดย

       110,070 ตายในสนามรบ 67,000 หรือเนื่องจากทนพิษบาดแผลไม่ไหว 43,000 

        199,790 ตายเพราะดรคภัยไข้เจ็บ (ร้อยละ 75 เกี่ยวข้องกับสงคราม) 

         24,866 ตายในค่ายกักกันนักโทษของฝ่ายสมาพันธรัฐ

          15,741 ตายเพราะสาเหตุอื่นๆ

         อย่างไรก็ดีนี่เป็นจำนวนที่ต่ำหว่าจำนวนผุ้บาดเจ็บ -เสียชีวิตอย่างเป็นทางการที่ประเมินโดย  US Nation Park Service

           สหภาพ 853,838 

           110,100 ตายในสนามรบ

           224,580 ตายเพราะโรค

           275,154 บาดเจ็บในการปฏิบัติหน้าที่

           211,411 ถูกจับ(รวมถึง 30,192 นาย ที่ตายในฐานะเชลยสงคราม) 

           สมาพันธรัฐอเมริกา 914660 

           94,000 ตายในสนามรบ

           164,000 ตายเพราะโรค

           194,026 บาดเจ็บในกาปฏิบัติหน้าที่ 

           462,634 ถูกจับผรวมถึง 31,000 นาย ที่ตายในฐานะเชลยสงคราม) 

            การประกาศเลิกทาศ เป็นคำสั่งของฝ่ายบริหารที่อับราฮัม ลินคอล์น ประธานาะิบดีสหรัฐ ออกเมืองันที่ 1 มกราคม 1863 ในช่วงสงครมแลางเมืองอเมริกัน โดยใช้อำนาจยามสงครามของตน จึงมิใช่กฎหมายที่รัฐสภาสหรัฐอนุมัติ คำสั่งดังกล่าวประกาศให้เสรีภาพแก่ทาสในรัฐสิบแห่งซึ่งเป็นกบฎอยุ่ขณะนั้น ามีผลต่อทาศ 3.1 ล้านคน จากทั้งหมด 4 ล้านคน ในสหรัฐในเวลานั้น การประกาศดังกล่าวปลดปล่อยทาศทันที่ 50,000 คน และเกือบทั้งหมด จาก 3.1 ล้านคน ได้รับการปลกปล่อยเมืองกองทัีพสหภาพรุกหน้า คำประกาศดังกล่าวมิได้ให้เงินชดเชยแก่เจ้าของทาศ มิได้ประกาศให้สภานะทาสเป็นความผิดต่อกฎหมายและมิได้ทำให้อดีตทาสที่ได้รัยบการปลดปล่อยแล้วได้สถานพลเมือง

           22 กันยายน 1862 ลินคอล์นออกการประกาศเบื้องต้นว่า จนจะสั่งการเลิกทาสในรัฐทุกแห่งของสมาพันธรัฐอเมริกาที่ไม่กลับคืนสุ่การควบคุมของสหภาพภายในวันที่ 1 มกราคม 1863 เนืองจากไม่มีรัฐใดกลับคืนสู่การควบคุมของสหภาพ คำสั่งซึ่งนามและอนุมัติเมือวันที่ 1 มกราคม 1863 จึงมีผลใช้บังคับ ยกเว้นในสถานที่ซึ่งฝ่ายสหภาพกลับเข้าควบคุมได้ป็นส่วนใหญ่แล้ว คำประกาศดังกล่าวทำให้การเลิกทาสตกเป็นเป้าหมายศูนย์กลางของสงคราม(นอกเหนือจากการรวมประเทศ) สร้างความดกระแก่ชาวใต้ยิวขาวซึ่งหวังทำสงครามเชื้อชาติ และนักประชาธิปไตยทางเหนือบางส่วน การะตุ้นกองกำลังที่ต่อต้านระบบทาส และทำให้กำลังในยุโรปที่ต้องการแทรกแซงโดยเข้าช่วยเหลือสมาพันธรัฐอ่อนแอลง

          การแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งที่สิบสาม ซึ่งมีผลใช้บังคับเมืองเดือนะันวาคม 1865 ทำให้ความเป็นทาสกลายเป็นความผิดทางกฎหมาย

          ข้อมูล : ;วิกิพีเดีย

วันศุกร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

Emancipation Proclamation


              การขยายตัวอย่างรวดเร็วมากของดินแดนในอาณัติของสหรัฐ ระหว่างการประกาศอิสรภาพจนถึงช่วงสงครามกลางเมือง เป็นปัจจัยที่ก่อเกิดความขัดแย้ง ระหว่างคตินิยมที่สนับสนุนสถาบัทาส และคตินิยมที่สนับสนุนแผ่นดินที่ปลอดทาส ในครึ่งแรกของศตวรรษที่ 19 สหรัฐได้ที่ดินแดนเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัวภายในระยะเวลาสั้น ๆ ทั้งจากการซื้อ การเจรจา และการสงคราม เร่ิมจากการได้รับโอนพื้นที่ลุยเซียนามาจากนโปเลียนในปี 1803 ต่อมาการออกเสียงให้ผนวกเท็กซัส ซึ่งประกาศตัวเป็นอสระจากเม็กซิโาในปี 1836 เขามาเป็นส่วนหนึ่งของสหรับในปี 1845 กลายเป็นชนวนก่อให้เกิดสงครามเม็กซิโก-อเมริกา ในระหว่างปี 1846-1848 ชัยชนะของอเมริกาในสงคราม เป็นผลให้สหรัฐได้ผนวกดินแดนใหม่ๆ เพิ่มขึ้นอีก แต่การขยายดินแดนอย่างต่อเนื่องก็ก่อให้เกิดปัญหาขัดแย้งไม่รู้จบ ในเรื่องความชอบด้วยกฎหมายของการมีทาศในดิแนดที่ถูกผนวกเข้ามา ซึ่งถือเป็นประเด็นที่ส้่งผลกระทบดดยตรงต่อทิศทางทางเศราฐกิจในพื้นที่ใหม่ โดยก่อนหน้านี้ การประนีประนอมมิสซูรี ปี 1820 ตกลงห้ามการขยายตัวของสถาบ้นทาสไปในพื้อนที่ตอนเหนือของพื้นที่รับโอนหลุยส์เวีนนาที่ยังไม่ได้จัดตั้งเป็นเขตปกครอง งเพื่อแลกเปลี่ยนกับการยอมให้มีการสถาปนามิสซูรีขึ้นเป็นรัฐที่การมีทาสเป็นสิ่งถุกกฎหมาย สำหรับกรณีพิพาทในพื้นที่อันผนวกเข้ามาใหม่หลังสงครามเม็กซิโก-อเมริกันมีการเสนอ เงื่อนไขวิลม็อท โดยเงื่อนไขนี้ต้องการให้ดินแดนใหม่ที่ผนวกเข้าเป็นดินแดนที่ปลดจากสถาบันทาส แต่ในขณะนั้นนักการเมืองจากฝ่ายไใต้ครองที่นั่งมากกว่าในวุฒิสภา เงื่อนไขวิลม็อทจึงถุกสกัดกั้นและได้รับการโหวตให้ตกไป

          การประนีประนอมเกิดขึ้นในปี 1850 โดยมีการแก้ไข รัฐบัญญํติไล่ล่าทาศหลบหนี ให้เข้มงวดขึ้นไป
อีก เพื่อชดเชยกับการยอมให้รัฐแคลิฟอร์เนยที่รับเข้ามาใหฒ่เป็นรัฐปลอดทาส มีการกำหนดโทษกับผู้รักษากฎหมายในมลรัฐใดๆ ที่ไม่ยอมปฏิบัติตามและยังคับใหช้กฎหมายนี ดงนี้นสำหรับรัฐทางฝ่ายเหนือแล้วกฎหมายไล่ล่าทาศหลบหนีฉบับแก้ไขปี 1850 จึงมีนยว่าประชาชนอเมริกันทัี่วๆ ไปก็มีหน้าทต้องให้ความช่วยเหลือนักล่าทาศหลบหนีจากทางใต้ ความรุ้สึกต่อต้านสถาบัทาสในจิตใจคนอเมริกันจึงเพ่ิมขึ้นเป็นวงกว้าง มีผุ้เข้าร่วมการเคลื่อนไหวในเครื่อข่าย Underground Railroad (เป็นคเรือข่ายเส้นทางลับและบ้านพักที่ปลอดภัยซึ่งก่อตั้งขึ้นในสหรัฐฯ ใช้เส้นทางนี้เป็นกลักเพื่อหลบหนีไปยังรัฐที่เป็นอิสระและไปยังแคนาดา) ของขบวนการเลิกทาสเพื่อขึ้นอย่างต่อเนื่อง

           แม้ประชาชนส่วนใหญ่ของสหรัฐ ซึ่งอาศัยกระจุกตัวอยุ่ในพื้นที่ทางตอนเหนือ จะไม่เห็นด้วยกับการคงไว้ซึ่งสถาบันทาส แต่การแทรกแซงโดยตรงจากรัฐสภาให้มีการยกเลิกหรือเพียงแต่จำกัดการขยายตัวของสถาบันทาสไม่ว่าในพื้นที่ใดของสหรัฐ ก้ยังเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนอย่างยิ่ง เนื่องจากแนวคิดทาง

กฎหมายรัฐะรรมฯูญในขณะนั้นยังไม่มีบทคุ้มครองห้ามเหลือปฏิบัติต่อประชาชนอเมริกันด้วยเหตุผลทางสีผิว หรือศาสนา และยังคงถือว่าแต่ละรับมีอำนาจจะกำหนดสิทธิหน้าที่ (ซึ่งรวมถึงสิทธิเลือกตั้ง) ของพลเมืองในรัฐอย่างไรก็ได้ แนวคิดหนึ่งที่ยอมรับอย่างกว้างขวางคือ การถือว่าประเด็นเรื่องสถาบันทาสเป็นเรื่องของอำนาจอธิปไตยของปวงชน มากกว่ที่จะเป็นการเมืองในรัฐสภา และคนท้องถ่ินย่อมมีสิทธิจะโหวตเสียกำหนดเอาเองในพื้นที่ที่ตนอาศัยอหรือท้องที่ซึ่งตนเข้าไปบุกเบิก แนวคิดเรืองอธิปไตยปวงชนนี้ถูกสอดเข้าไปในนธยบายของรัฐบาลกลาง ที่สนับสนุนการขยายการตั้งรกรากของประชกรเข้าในพื้นที่ที่ยังไม่ได้รับการบุกเบิกในทิศตะวันตก ตั้วอย่างที่สำคัญคือ กฎหมายแคนซัส-เนบรสาก ปี 1854 ซึ่งร่างโดย วุฒิสมาชิก สตีเฟน เอ. ดักลาส กฎกมายฉบับนี้มีวัตถุปรสะงค์จะให้คนเข้าไปจับจองพื้นที่ที่ทำินตามแนวทางรถไฟข้ามประเทศที่กำลังก่อสร้าง โดยผนวกเอาแนวคิดเรื่องอธิปไตยของปวงชนไว้ แต่กลับว่านำไปสู่การนองเลือดที่รู้จักกันในชื่อ  "แคนซัสหลังเลือด" Bleeding Kansas เมือนักบุกเบิกอุดมการณ์ " แผ่นดินเสรี" เข้าปะทะกับนักบุกเบิกที่สนับสนุนสถาบันทาสจากรัฐมิสซุรีใกล้เคียง ซึ่งแห่กันเข้ามาในแคนซัสเพียงเพื่อที่จะออกเสียงลงมติรับรัฐะรรมนูญของรัฐ การใช้ความรุนแรงดังกลาวเกิดขึ้นอยุ่นานหลายปี ทำให้มีผุ้เสียชีวิตอยางน้อยหกสิบคน และอาจถึงสองร้อยคนภายในแค่สามเดือนแรก

          "(พวกนิโกร) เป็นพวกที่ถูกถือว่าเป็นมนุษย์ในอันดับที่อ้ยกวามาเป็นเวลากวาหนึ่งศตวรรษท จึงบ่อมเป็นการไม่เหมาะสมในทงใดๆ ที่จะนำพวกนี้มาเปรียบเทียบกับคนผิวขาว ไม่ว่าจะในทางความสัมพันะ์ทางสังคม หรือในทางการเมือง และต่ำชั้นกว่าอย่างไกลลิบ จนถึงขนาดว่าพวกนี้ไม่มีสิทธิใดๆ ที่คนผิวขาวจำเป็นจะต้องเคารพ และพวกนิโกรจึงอาจลดฐานะลงมาเป็นทาาสเพื่อประโยชน์ของคนขาว โดยชอบด้วยความยุติะรรม โและโดยชอบด้วยกฎหมาย"

           คำพิพากษาคดี เคร็ด สก็อตต์ ถุกวิพิากษ์วิจารณ์อย่างรุนแรง ทั้งโดยสือ่ และนักากรเมืองฝ่ายเหนือซึ่งถือว่าคำพิพากษานี้ในคำปราศัย ไครัวเรือนไหนแตกแยกกันเอง ครัวเรือนนั้นจะตั้งอยุ่ไม่ได้" ของคนที่รัฐอิลินอยส์ ในปีเดียวกัน โดยเตือนถึงภัยของคำพิพากษา เดร็ต สก็อตต์ Dred Scott ที่จะเปลี่ยนอเมริกาทั้งประเทศให้กลายเป็นดินแดนที่การมีทาศป็นเรื่องชอบด้วยกฎมหาย และท่านยังทำนายว่าอเมริกาจะไม่แบ่งแยกตลอดไป แต่มีชะตากรรมที่จะต้องเปลี่ยนไปในทางใดทางหนึ่ง ซึ่งหากไม่ใช่ว่าการมีทาศจะหลายเป็นเรื่องถุกฎหมายทั้งประเทศ ก็ต้องเป็นว่าการมีทาสจะต้องไม่มีอยุ่อีกต่อไป นอกจากนี้คำพิพากษา เดรด สก็อต ยังม่ส่วนผลักดันให้ขบวนการ จอห์ บราวน์ที่พยายามติดอาวุธให้กับทาสผิวดำเพื่อให้ก่อจลาจลที่ ฮาร์เปอร์ส เฟอร์รี่ เวอร์จิเนีย ในเดือนตุลาคม 1859

           การเลือกตั้งประะานาะิบดีสหรับปี 1860 เป็นเหตุการณ์สำคัญที่ผลักดันสหรัฐเข้าสุ่สงครามกลางเมือง ประธานาธิบดี เจมส์ บุแคนั้น ในขณะนั้นเป็นชาวอเมริกันทางตอนหนือที่มีความคิดเห็เข้าข้างฝ่ายใต้  โดยเเป็นคนเขียนจดหมายชักจูงให้ตุลาการสมทบแห่งศาลสุงสุดสหรับ โหวตร่วมกับฝ่ายเสียงข้างมากในคณะศาล ให้ เดรด สก็ตต์ แพ้คดี เพื่อให้ศาลเขียนคำพิพากษาปฏิเสะอำนาจของรับบาลกลางในประเด็นที่เกี่ยวกับควาชอบด้วยกฎหมายของสถาบันทาสแบบเด็ดขาด การเข้ากดดันตุลาการในคดี เครด สก็ตต์ ของ ประธานาธิบดี บูแคนั้น กลายเป็นเรื่องอื้ฉาว และก่อเกิดผลสะท้อนกลับเชิงลบทางการเมืองต่อพรรคเดโมแครด เป็นอย่างยิ่ง ความไม่พอใจในคำพิพากษา ของชาวอเมริกันในรัฐทางเหนือ ช่วยให้พรรครีพับลิกัน ได้รับชัชนะใด้ที่นั่งในสภาผุ้แทนเพื่อในการเลือกตั้งกลางเทอม ปี 1858 และเข้าควบคุมได้ทั้งสภาคองเกรสในการเลือกตั้งใหญ่ปี 1860

          ชัยชนะของ อับราฮัม บินคอล์น แห่งพรรครีพับลิกัน เป็นผลจากความระส่ำระสายภายในของพรรเดโมแครต เหนืองจากตัวแทนจากรัฐทางตอนใต้ซึ่งเป็นพวกสนับสนุนสถาบันทาศ และคำพิพากษา เครด สก็ตต์ พากัน "วอล์กเอ้าท์ไ จาการประชุมแห่งชาติของพรรคเดโมแครต เพื่อประท้วงการที่ที่ประชุมปฏิเสธไม่รัีบมติสนับสนุนนดยบายขยายสถาบันทาส โดยการใช้กฎหมายทาส ในทุกพื้นที่ของสหรัฐ สมาชิกของพรรคเดโมแครตจึงแตกออกเป้ฝ่ายเหนือและใต้ ที่มา : วิกิพีเดีย

          

วันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

Antifa

           ขบวนการแอนติฟา ก็เหมือนกับฝ่ายขวาจัดที่ไม่มีการจัดตั้งเป็นองค์กรที่มีโครงสร้างแน่นอน แต่รวม
ตัวกันหลวมๆ เป็นเครือข่ายทั่วโลกผ่านสื่อสังคมออนไลน์โดยสมาชิกส่วนมากเคลื่อหนไหวอยุ่ในสหรัฐฯ สหราชอาณาจักร และเยอรมัน

         ขบวนการแอนติฟาก่อกำเนิดขึ้นครั้งแรกเมือปี 1932 ที่เยรมนี เพื่อเป็นกลุ่มต่อสุ้ติดอาวุธให้กับชวนการซายจัดใช้ต่อกรกับพรรคนาซีที่เติบโตอย่างรวดเร็วในขณะนั้นแต่กลุ่มแอนติฟายุคเริ่มแนกถูกฮิตเลอร์สังยุปไปเมือปี 1933 กระทั่่งได้รับการฟื้นฟูขึ้นมาใหม่ในช่วงทศวรรษ 1980 เพื่อตอสู้กับพวกนาซีใหม่หลังการล่มสลายของกำแพงเบอร์ลิน 

         หลังการก้าวขึ้นมาดำรงตำแหน่งผุ้นำสหรับฯ ของนายโดนัลด์ ทรัมป์ จุดกระแสให้ขบวนการแอนติฟาในอเมริกาเคลื่อนไหวอย่างคึกคักอีกครัง ดดยมีการจับมือกับขบวนการ Black Lives Matter - BLM (ชีวิตคนดำมีค่า และสร้างเครือ่ายกับกลุ่มนิยมอนาธิปไตยอีกหลายกลุ่ม...https://www.bbc.com/thai/international-40985405

         ในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา กลุ่มแอนติฟาในสหรัฐมักเคลื่อนไหวเกี่ยวกับประเด็นความยุติะรรมด้านต่างๆ ในสังคม รวมถึงต่อต้านการเหยียดผิว 

        " เราเชื่อและจะต่อสุ้เพื่อโลกที่ปราศจากฟาสซิสต์ ลัทธิเหยียดเชื้อชาติ ลัทะิเหยียดเพศ ลัทธิรังเกียจเพศทางเลือก ลัทะิต่อต้านยิว ลัทธิต่อต้านอิสลาม และลัทธิคลั่งศาสนา" กลุ่มแอนติฟานิวยอร์กทวีต

        อย่างไรก็ตาม จุดยืนในหลัการของกลุ่มหลายเป็นการต้อต้านการถือกำเนิดของกลุ่มนาซีใหม่ หรือ นีโอนาซี  Neo-Nazi และกลุ่มเชิดชุคนขาว White Superacist หนึ่งในกลุ่มแอติฟาที่เก่าแก่ที่สุดในสหรัฐ กลุ่ม "โรส ซิตี แอนติฟา" ในเมืองพอร์ตแลนด์ รัฐออริกอน ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี 2007 เพื่อปิดเทศกาลดนตรีที่เรยกว่า "แฮมเมอร์เฟสต์ไ ของกลุ่มสกินเฮดสมาชิกลัทะินาซีใหม่

         กลยุทธ์การเคลื่อนไหวของแอนติฟาในสหรัฐส่วนใหญ่มักเป็นการออกไปเคลื่อนไหวพร้อมกับกลุ่มสุดโต่งปีกขวาและจัดม็อบชนม็อบ แต่หลังจาการชนะเลืกตั้งของทรัมป์ในปี 2016 ทำให้กลุ่มปีกขวาเติบโตขึ้นอย่างมาก แอนติฟาจึงหันมาใช้การเผชิญหน้ากับกลุ่มนี้โดยตรง และใช้วิธีการยขัดขืนที่มีการทำลายทรัย์สิน ในเดือน สิงหาคม ปีเดียวกัน อนติฟายังเป็นแนวหหน้าในการเดินขบวนคุ่ขนาน ขณะที่กลุ่มเชิดชูคนขาวและนีโอนาซีเดินขบวนในเมืองชาร์ลอตต์วิลล์รัฐเวอร์จิเนย และมีส่วนร่วมในเหตุทำร้ายร่างกายกลุ่มหัวเอียงขวาเหล่านี้เด้วย หลังจากนั้นมา ทั้งสองฝ่ายยังก่อเหตุยั่วยุและทะเลาะวิวาทกันอีกหลายครั้งรวมถึงเหตุการณืในเมืองพรอ์ตแลนด์และเมืองเบิร์คลีย์ รัฐแคลิฟอร์เนีย

          นอกจากคำพูดจากทรัมป์และเจ้าหน้าที่ใกลบ้ชิดของเขา เจ้าหน้าที่รัีฐบาลกลางหรือจ้าหน้าที่ระดับท้องถ่ินของสหรับต่างระบุว่า เหตุรุนแรงและการทำลายทรัพย์สินในเมืองต่างๆ ทั่วประเทศ เกี่ยวข้องกับหลายกลุ่ม ทั้งฝ่ายขวาและซ้าย รวมถึงกลุ่มแอนติฟาด้วย "กลุ่มก่อการร้ายภายในประเทศกลุ่มต่างๆ ทังจากฝ่ายซ้ายจัดและขวาจัดกระตุ้นและก่อเหตุรุนแรงและปล้นสะดม" มาร์โก รุบิโอ ส,ว,รัฐฟลอริดา ซึ่งเป็นประธาคณะกรรมกาะิการข่าวกรองวุฒิสภาที่รับรายงานสรุปจากเจ้าหน้าที่ข่าวกรองระดับสูง เปิดเผยในเวลาต่อมา

         ขณะที่สำรักข่าวเอบีซีนิวส์ รายงานว่า ข่าวกรองจากกระทรวงความั่นคงแห่งมาตุภุมิโทษวาผุ้ก่อเหตุรุนแรงมาจากทั้ง 2 ขั้วการเมือง 

          ด้านเจ้าหน้าที่ในเมือมินนิโซตา ระบุว่า ข้อมุลทีพวกเขามีอยุ่บ่งชี้ว่า ผุ้ก่อเหตุจลาจลรุนแรง รวมไปถึงกลุ่มชาตินิยมผิวขาว กลุ่มอนาธิปไตยเอียงซ้าย และแม้แต่แก๊งยาเสพติด..https://www.bangkokbiznews.com/world/883309

         จอร์จ ฟลอยด์ ชายผิวดำวัย 46 ปี ผุ้ถูกจับกุมด้วยข้อหาใช้ะนบัตรปลอมราคา 20 เหรียญ เขาตายด้วยการขาดลมหายใจนาน 8 นาที จากการถุกกดคอด้วยเข่านาน 9 นาที ในวันที่ 25 พฤษภาคม 2020 "Please don't shoot me, Mr.Officer. Please, don't shoot me,man.Can you not shoot me, man? ตำรวจไม่ได้ยิงเขา แต่กดเขาไว้ด้วยเข่า และเขาขาดอากาศหายใจตาย

        หลังจากเขาตาย 26 พฤษภาคม ปีเดียวกัน เกิดการชุมนุมประท้วงที่สถานีตำรวจมินนีแอโพลิส เขต 3 ผุ้เดินขบวนได้ปะทะกับเจ้าหน้าที่ตำรวจซึ่งใช้แกํ๊สน้ำตา และกระสุนยาง ในวันที่ 27 ชายคนหนึ่งถุกยิงเสียชีวิตดดยเจ้าของโรงนรับจำนำที่คิดว่าชายผุ้นั้นกำลังขโมยของ.. เป็นเวลาหลายวันหลังการเสียชีวิตของฟลอยด์ ผุ้ประท้วงหลายร้อยคนได้มาชุมนุมที่ทางเข้าบ้านของชอวิน(ตำรวจผุ้วางเขาบนคอฟลอยด์)ทำให้เจ้าหน้าที่ตำรวจเขามาควบคุมเหตุการณ์ วันที่ 28 เจคอบ เฟรย์ นายกเทศมนตรีเมืองมินนีแอโพลิส ได้ประกาศสถานกาณ์ฉุกเฉิน และ ทิม วอลซ์ ผุ้ว่าการรัฐมินนิโซตา ได้รัองของเจ้าหน้าที่จากกองกำลังป้องกันชาติมินนิโซตา จำนวน 500 นายเข้าประจำการ ไม่ทันรุ่งเข้าในวันทัดมา ธุรกิจร้านค้าต่างๆ ในมินนิแอโพลิสเซนต์พอลได้ถุกปล้นและทำลายเพิ่มอีก วันที่่ 31 มีการประท้วองพร้อมกันมากกวา 100 เมืองในสหรัฐและนอกสหรัฐ เพื่อเรียกร้องความยุติะรรมให้กับฟลอยด์ https://th.wikipedia

           ชื่อของ "แอนติฟา" เป็นที่สนใจของคนทั่วโลกทันที เมือประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมปืของสหรัฐ โทษว่ากลุ่มนี่้อยุ่เบื้องหลีงเหตุประท้วงรุนแรงในสหรัฐ และขู่ว่าจะประกาศให้เป็น "กลุ่มก่อการร้าย" อย่างเป็นทางการในระดับเดียวกับ "ไอเอส" และ "อัลกอออดะห์" ทั้งดรเบิร์ต โอ' ไบรอัน ที่ปรึกษาด้านความมั่นคงแห่งชาติของทำเนียบขาวและ บิล ลาร์รัฐมนตรีกระทรวงยุติะรรมสหรัฐ ต่างกล่าวเป็นเสียงเดียวกันว่า "แอนติฟา" เครือข่ายนักเคลื่อนไหวซ้ายจัด เป็นกองกำลังหัวสุดโตรง ที่กระตุ้นให้เกิดการจลาจลระหวางการประท้วงในหลบายเมืองเพื่อรเียกร้องความยุติะรรมให้ "จอร์จ ฟลอยด์"..https://www.bangkokbiznews.com/world/883309

            

วันพุธที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

Black & White

             วิทยาศาสตร์การเหยียดเชื้อชาติ หรือการเหยียดเชื้อชาติทางชีววิทยารเป็น ความเชื่อทาง


วิทยาศาสตร์เทียม ที่ีว่ามนุษย์สามารถแบ่งย่อยออกเป็น taxon (เป็นกลุ่มของประชากรหนึ่งหรือมากกว่าของสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งมีชีวิตหนึ่งๆ ซึ่งนักอนุกรมวิธานมองว่าเป็นหน่วยหนึ่ง แม้ว่าทั้งสองอย่างจะไม่จำเป็น อนุกรมวิธาน ที่แตกต่างกันทางชีววิทยา ที่เรียกว่า "เผ่าพันธ์ไ และมี หลักฐานเชิงประจักษ์ทีสนับสนุนหรือพิสูจน์การเหยีดเชื้อชาติ ความด้อยกวาทางเชื้อชารติห หรือเหนือกว่า ทางเชื้อชาติ ก่อนกลางศตวรรษที่ 20 การเหยียดเชื้อชาตริทางวิทยาศาสตร์ได้รับการยอมรับ การเเบ่งมหนุษย์ออกเป็นหลุ่มที่แยกจากันทางชีววิทยา พร้อมกับการหนดลักษณะทางกายภาพและจิตใจเฉพาะให้กันกลุ่มเหล่านี้ผ่านการสร้างและการใช้แบบจำลองเชิงอธิบาย ทีสอดคล้องกัน เรียกว่า การเหยียดเชื้อชาติความสมจริงทางเชื้อชาติ หรือวิทยาศาสตร์ด้านเชื้อชาติ โดยผุ้ทีสนับสนุนแนวคิดเหล่านี้ แันทามติทางวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ปฏิเสธมุมองนี้ เนืองจากไม่สามารถประนีประนอมกับ การวิจัยทางพันธุกรรม สมัยใหม่ ได้

          การเเหยียดเชื้อชาติทางวิทยาศาสตร์ใช้ผิ ตีคามผิด หรือบิดเบื่อน มนุษยวิทยา (โดยเฉพาะมานุษยวิทยากายภาพ) การวัดกะโหลกศีรษะชีววิทยาวิวัฒนาการและสาขาวิชาอื่นๆ หรือสาขาวิชาเทียมผ่านการเสนอประเภท มานุษยวิทยา เพื่อจำแนกประชกรมนุษย์ออกเป็นเผ่าพันธุ์มนุษย์ที่แยกจากกันทางภายภาพ ซึ่งบางเผ่าพันธุ์อาจกล่าวได้ว่าเหนือกว่าหรือด้อยกว่าเผ่าพันธุ์อื่น การเหยียดเชื้อชาติทางวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องปกติในช่วงระหว่างปี 1600 ถึงสิ้นสุดสงครามโลกครั้งสอง และโดเด่นเป็นพิเศษในงานเขียนทางวิชาการของยุโรปและอเมริกาตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 19 จนถึงต้นศตวรรษที่ 20 ตั้งแต่ครึงหลังของศตวรรษที่ 20 การเหยียดเชื้อชาติทางวิทยาศาสตร์ได้รับการวิพากษ์วิจารณืว่าล้าสมัย แต่ยังคงถูกนำามาใช้เืพ่อสนับสนุนหรือยืนยันมุมมองโลกที่เหยียดเชื้อชาติโดยอาศัยความเชื้อในการมีอยุ่และความสำคัญของหมวดหมู่เชื้อชาติและลำดับชั้นของเผ่าพันธุ์ที่เหนือกวว่าและด้อยกว่า

            หลังจากสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง การเหยีอดเชื้อชาติทางวิทยาศาสตร์ทั้งในทางทฤษำีและการกระทถูกประณามอย่างเป็นทางการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในคำแถลง "ต่อต้านการเหยียดเชื้อชาติของยูเนสโก ในช่วงแรก The Race Question 1950 ซึ่งระบุว่า "ข้อเท็จจริงทางชีววิทยาเกี่ยวกับเชื้อชาติและตำนานเรื่อง "เชื้อชาติ" ควรได้รับการแยกแยะออาจากกัน สำหรับวัตถุประสค์ทางสังคม ตำนานเรือง "เชื้อชาติ" ได้สร้างความเสียหายต่อมนุษย์และสงคมอย่างมหาศาล ในช่วงไม่กีปี ตำนานนี้ได้คร่ชีวิตมนุษย์ไปจำนวนมากและก่อให้เกิดควาททุกข์ทรามนอย่างไม่รู้จบ  ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา การพัฒนาในพันธุศาตร์วิวัมนาการของมนุษย์และมานุษย์วิทยากายภาพ ได้นไปสู่ฉันทามติใหม่ในหมู่บรรดานักมานุษยวิทยาว่า เชื้อชาติที่ว่า เชื้อชาติมนุษย์เป็นปรากฎการณ์ทางสังคมและการเมืองมากกว่าทางชีววิทยา

          คำว่า การเหยียดเชื้อชาติทางวิทยาศสตร์มักใช้ในเชิงลบเมือนำไปใช้กับทฤษฎีที่ทันสมัยกว่า เช่น ทฤษฎีใน "เดอะ เบล เคลิบ" 1994 นักวิจารณืไโต้แย้งว่าผลงานดังกล่าวต้งสมมติฐานข้อสรุปที่เหยียดเชื้อชาติ เช่น ความเชื่อมดยงทางพันธุกรรมระหว่างเชื้อชาติและสติปัญญาซึ่งไม่มีหลักฐานยืนยัน สื่อสิ่งทพิมพ) ที่คำนึงถึงเชื่อชาติมักถุกมองว่าเป็นแพลตฟอร์มของการเหยียดเชื้อชาติทางวิทยาศาสตร์นืองจากสิ่งพิมพ์เหล่านี้เผยแพร่การตีควาาที่แปลกแยกของวิวัฒนาการมนุษย์สติปัญญาชาติพันธุ์วิทยาภาษาตำนานโบราณคดีและเชื้อชาติ

           โทมัส เจฟเฟอร์สัน เป็นนักการเมือง นักวิทยาศาสตร์ และเจ้าของทาสชาวอเมริกัน ผลงานของเขา
ต่อลั้ทธิเหยียดเชื้อชาติทางวิทยาศาสตร์ได้รับกรบันทึกดดยนักประวัติศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์  และนักวิชาการหลายคน ตามบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร "McGill Journal of Medicine: หนึ่งในนักทฤษำีเชื่อชาติก่อนยุคดาร์วินที่มีอิทะิพลมากที่สุด การเรียกร้องงของเจฟเฟอร์สัน ให้วิทยาศาสตร์กำหนด "ความต่อยกว่า" ที่ชัดเจนของคนอเมริกันเชื้อสายแอฟริกันเป็นขั้นตอนที่สำคัญอย่างยิ่งในวิวัฒนาการของลัทธิเหยียดเชื้อชาติทางวิทยาศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ เขียนลงใน "เดอะ นิวยอร์ก ไทม์" ว่า ไนฐานะนักวิทยาศาสตร์ เจฟเฟอร์สันคาดเดาว่าความดำอาจมาจาก "สีของเลือด" และสรุปว่าคนดำ "ด้อยกวาคนขาวในด้านร่างกายและจิตใจ ในบันทึกเกี่ยวกับรัฐเวอร์จิเนียไ เจฟเฟอร์สันบรรยายถึงความดำดังนี้ อย่างไรก็ตาม ในปี 1791 เจฟเฟอร์สันต้องประเมินความสงคสัยก่อนหน้านี้ของเขาอีกครั้งว่าคนผิวสีมีความสามารถทางสติปัญญาหรอืไม่ เมือเขาได้รับจดหมายและปฏิทินจากเบนจามิน แบนเหนเกอร์ นักคณิตศาสตร์ผิวสีที่มีการศึกษา เจฟเฟอร์สันรู้สักยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้ค้นพบหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่พิสูจน์การามีอยู่ของสติปัญญาของคนผิวสี จึงเขียนจดหมายถึง แบนเเนเกอร์ ดังนี้

           "ไม่มีใครอย่ากเห็นหลักฐานอย่างที่คุณแสดงให้เห้มากไปกวาแันวาะรรมชาติได้มอบพรสวรรค์ที่เท่าเทียมกับมนุษยืผิวสีอื่นๆ ให้แก่พี่น้องผิวสีของเรา และการขาดพรสวรรค์เหล่านี้ก็เป็นผลมาจากสภาพความเป็นอยู่ที่เสื่อมดทรมของพวกเขาทั้งในแอฟริกาและอเมริกาเท่านั้น แันสามารถพูดได้อย่างเต็มปากว่ไม่มีใครอยากเห็นระบบที่ดีเร่ิมต้นขึ้นเพื่อยกระดับสภาพร่างกายและจิตใจของพวกเขาให้สุงขึ้นอย่างที่ควรจะเป็น เร็วเท่ากับความโง่เขลาของการดำรงอยู่ปัจจุบันของพวกเขาและสถารการณ์อื่นๆ ที่ไม่สามารถละเลยได้"

           ชาร์ลส์ ดาร์วิน 1809-1882 เป็นนักธรรมชาติวิทยานักะรณีวิทยาและนักชีววิทยา ชาวอังกฤษ เป็นที่รุ้จักกันอย่างกว้างขวางสำหรับผลงานของเขาในด้านชีววิทยาวิวัฒนาการข้อเสนอของเขาที่วาสิ่งมีชีวิต
ทุกสายพันธุ์สืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษร่วมกันเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปและถือเป็นแนวคิดทางวิทยาศาสตร์พื้้นฐานในปัจจุบัน ดาร์วินได้รับการอะิบายว่าเป็นหนึ่งในบุคคลที่มีอิทธิพลมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษย์และได้รับเกี่ยรติโดยการฝังศพในเวสต์มินสเอตร์แอป

         ดาร์วินเป้นคนสายกลางในการอภิปรายเกี่ยวกับเชื้อชาติในศตวรรษที่ 19 เขาไม่ใช่พวกเหยียดผิว เขาเป้นผุ้ต่อต้านการค้าทาสอย่างแข็งกร้าว แต่เขาคิดว่ามีเชื่อชาติที่แตกต่างกันซึ่งสามารถจัดลำดับขั้นได้

        นักประวัติศาสตร์ เขียนไว้ว่า แม้ว่าลัทธิดาร์วินจะไม่ใช่้แหล่งที่มาหลักของอุดมกาณ์อันก้าวร้าวและการเหยีดเชื้อชาติที่ยึดมั่นในหลักการในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 แต่ก็กลายมาเป็นเครื่องมือของนักทฤษำีเกี่ยวกับเชื่อชาติและการต่อสู้...อารมณ์ของลัทธิดาร์วินช่วยรักษาความเชื่อในความเหนือกว่าทางเื ้อชาติของชาวแองโกล-แซซอน วึ่งเป็นสิ่งที่นักคิดขาวอเมริกันหลายคนหมุกมุ่นในช่วงครึ่งหลัีงของศตวรรษที่ 19 การวัดระดับการครอบครองโลกที่ "เผ่าพันธ์" บรรลุแล้วดูเหมือนจะพิสูจน์ให้เห็นว่าเผ่าพันธุ์นี้เหมาะสมที่สุด"

          ชาตินิยมของลาปูแลเอร์เดอร์ 

          ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 แนวคิดเรื่องเชื้อชาติทางวิทยาศาสตร์ได้รวมแนวคิดเร่องการปรับปรุงพันู์ของกรีก-โรมัน เข้ากับแนวคิดเรื่อง การแรับแรุงพันู์โดยสมัครใจของฟรานซิส กัลตันเพื่อผลิตดครงการของรัฐบาลที่บีบบังคับและต่อต้านผุ้อพยพ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากวาทกรรมและเหตุการณ์ทาง สังคม-การเมืองอื่นๆ การเหยียดเชื้อชาติในสภาบันดังกล่าวเกิดขึ้นผ่าน การศึกษา ลักษณะร่างกาย ซึ่งบอกลักษณะจากลักษณะทางกายภาพ การศึกษากะโหลกศีรษะจากลักษณะทางกายภาพ การศึกษากะโหลกศีรษะและธครงกระดูก ดังนั้น กะโหลกศีรษะและธครงกระดูกของคนผิวดำและคนผิว สีอื่นๆ จึงถุกจัดแสดงไว้ระหว่างลิงและคนผิวขาว

          ในปี 1906 คนแคระได้รับการจัดแสดงในฐานะ "ส่วนที่ขาดหายไป" ในสวนสัตว์บรองซ์ นครนิวยอร์ก ร่วมกับลิงและสัตว์ต่างๆ นักทฤษฎีที่มีอิทธิพลมากที่สุดได้แก่ นักมานุษยวิทยา ผุ้เสนอแนวคิดเรื่อง "สังคมวิทยาแบบมนุษยนิยม" และ "โจฮาน กอทเฟรน เฮอร์เดอร์" 1744-1803 ผุ้ซึ่งนำ "เชื้อชาติ"มาใช้กับทฤษฎี ชาตินิยม จึงทำให้เกิดแนวคิด "ชาตินิยมทางชาติพันธู์" ขึ้นเป็นครั้งแรกในปี 1882 "เออเนส รีแนน" โต้แย้ง เฮอร์เดอร์ ด้วยลัทธิชาติพันธู์หรือเชื้อชาติ วาทกรรมทางวิทยาศาสตร์ทีเหยียดเชื้อชาติได้ตั้งสมมติฐานถึงการดำรงอยุ่ของ "เผ่าพันธุ์ประจำชาติ" เช่น Deutsche Volk ใน เยอรมัน และ "เผ่าพันธุ์ฝรั่งเศส" ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของ "เผ่าพันธ์อารยันไ ที่มีมายาวนานหลายพันปี เพื่อสนับสนุนให้มี
ขอบเขต ทางภูมิรัฐศาสตร์ ขนานไปกับขอบเขตทางเชื้อชาติ

          การเหยียดเชื่อชาติทางวิทยาศาตร์ยังคงดำเนินต่อไปจนถึงต้นศตวรรษที่ 20 และในไม่ช้าการทดสอบ IQ intelligence testing ก็กลายเป็นแหล่งข้อมุลใหม่สำหรับการเปรียบเทียบเชื้อชาติ ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง การเหยียดเชื่อชาติทางวิทยาศาสตร์ยังงเป็นเรื่องปกติ ในสาขา มานุษยวิทยาและถูกมช้เป็นข้ออ้างสหรับ การปรับปรุงพันธุ์ การบังคับทำหนัน กฎหมายต่อต้านการผสมข้ามพันธ์ และข้อจำกัดด้านการย้ายถ่ินฐาน ในยุดรป และสหรัฐอเมริกาอาชญากรรมสงครามและอาชญากรรมต่อมนุษยชาติของนาซีเยอรมันทำให้การเหยียดเชื่อชาติทางวิทยศาสตร์เสื่อมถอยลง

         แม้แนวคิดเหยยดเชื้อชาติ จะถูกชุมชนวิทยาศาสตร์ปฏิเสธเป็นส่วนใหญ่ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่นักวิจัยบางคนยังคงเสนอทฤษำเกี่ยวกับความเหนือกว่าทางเชื้อชาติในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมา ผุ้เชียนเหล่านี้เองมองว่างานของตเป็นงานวิทยาศาสตร์ แต่ก็อาจโต้แย้งกับคำว่า เหยียดเชื้อชาติและอาจชอบใข้คำเข่น "ความสมจริงทางเชื้อชาติ" หรือไการเหยียดเชื้อชาติ"มากกวา ในปี 2018 นักข่าววิทยาศาสตร์และนักเขียนชาวอังกฤษ แสดงความกังวลอย่างมากเีก่ยวกับการกลับมาของแนคิดเหล่านี้ในกระแสหลัก 

          แถลงการณืของสมาคมพันธูศาสตร์มนุษย์แห่งอเมริกา ASHG ในปี 2018 แสดงความกังวลต่อไการกลับมาอีกครังของกลุ่มที่ปฏิสเะคุณค่าของความหลบากหลายทางพันธุกรรม และใช้แนวคิดทางพันธุกรรมที่เสื่อมเสียชื่อเสียงหรือบิดเบือนเพื่อสนัีบสนุนข้ออ้างที่หลอกลวงเกี่ยวกับอำนาจสุงสุดของคนผิวขาว"สมาคมพันธุศาสตร์มนุษย์แห่งอเมริกาประณามเรื่องนี้ว่าเป็น ไการใช้พันธุกรรมในทางที่ผิดเพื่อหล่อเลี้ยงอุดมการณืเหยีดเชื้อชาติ" และเน้นย้ำถึงข้อผิดพลาดเชิงข้อเท็จจริงหลายประการที่เป็นพื้นฐานของข้ออ้างของอำนาจสุงสุดของคนผิวขาว คำชีแจงยืนยันว่าพันธุ์ศาสตร์ "แสดงให้เห็นว่ามนุษย์ไม่สามารถแบ่งออกเป็นหมวดหมู่ย่อยทางชีววิทยาได้" และ "เผยให้เห็นว่าแนวคิดเรื่อง "ความบริสุทธ์ทางเชื้อชาติ" นั้นไม่มีความหมายทางวิทยาศาสตร์"



             ที่มา : wikipedia

          

วันอังคารที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

Alt-right

             " Alt-right "ย่อมาจาก อัลเตอร์เนทีฟ ไรท์ ขบวนการ ขวาจัดที่ชัดเจนซึ่งเกิดขึ้นในช่วงทศวรรษที่
2010 ทั้งเอาแนวคิดขวาจัดของกลุ่มต่างๆ ที่เก่ากว่ามาใช้แะและสร้างความแปลกใหม่ เมื่อ alt-right เป็นที่รู้ักในวงกว้างในปี 2016 สื่อพยายามทำคยวามเข้าใจ นักวิจารณืบางคนใช้คำนี้เพี่อเรียกรวมๆ สำหรับทุกคนที่พวกเขาคิดว่าเป็นขวาจัด นักวิชาการหลายคนตั้งขอ้สังเกตว่า ทั้งในสื่อสิ่งพิมพ์และสือ่กระจายเสียง alt-right ถูกนำไปใช้เพื่ออธิบายทุกอย่างตั้งแตพวกนาซีหัวรุนแรงไปจนถึงพรรครีพับลิกันกระแสหลักในสหรับอเมริกา และกลุ่มชาตินิยมขวาจัดในยุโรป" ดังนั้น เนื่องจกาคคำนี้ ถุกคิดขึ้นโดยชาตินิยมมผิวขาวเอง แทนที่จะเป็นผุ้สังเกตการณ์ทางวิชาการหรือโดยฝ่ายตรงข้าม นักข่าวหลายคนจึงหลีกเลี่ยงที่จะใช้คำนี้  นักรัฐศาสตร์ ที่เชียวชาญด้านขวาจัดของสหรัฐฯไม่เห็นด้วยกับคำจำกัดความนี้ ดดยระบุว่าการใช้คำว่า "white superacist" แทน "alt-right" นั้นทำให้ "อัล-ไรท์" แตกต่างจากขบวนการขวาจัดอื่นๆ 

           กลุ่มขวาจัดในอดีตมีอุดมการณืที่หลากหลาย แนวคิดเรืออำนาจสุงสุดของคนผิวขาว เป็นแนวคิดที่มีอิทธิพลเหนือวาทกรรทางการเมืองของสหรัฐอเมริกาตลอดช่วงศตวรรษที่ 19 และต้นศตวรรษที่ 20 หลังสงครามดลกครั้งที่ 2 แนวคิดนี้ ถุกปฏิเสธมากขึ้นเรื่อยๆ และภูกผลักใสไปอยุ่ในจกลุ่มขวาจัดของสเปกตรัมการเมืองของประเทศ แต่ยังมีกลุ่มขวาจัดที่ยังคงแนวคิดดังกล่าวไว้อาทิ พรรคนาซีอเมริกัน ของ จอร์จ ลินคอล์น ร็อคเวลล์ และพรรค เนชั่นแนว อลิแอนด์ ของ วิลเลียม ลูเธอร์ เพียร์ ยังคงถูกละเลย ในช่วงทศวรรษท 1990  อำนาจสุงสุดของคนผิวขาวถูกจำกัดอยู่แค่ กลุ่ม นีโอนาซีและกลุ่มคูคลักซ์แคลน(KKK) แม้ว่่านักอุดมการณ์ของแนวคิดนี้ต้องการให้แนวคิดนี้กลับคือุ่กระแสหลักก็ตาม ในทศวรรรษนั้น กลุ่มคนผิวขาวที่ถือว่าตนเองเหนือกว่าคนอื่นหลายกลุ่มได้ปรับปรุงแนวคิดของตน ใหม่ในรูปแบบของ "ชาตินิยมผิวขาว" โดยพวกเขาไม่ได้พยายามครอบงำกลุ่มคนที่ไม่ใช่คนผิวขาวแต่กลับพยายามล้อบบี้เพื่อผลประโยชน์ของชาวอเมริกันเชื่อสายยุดรปในลักษณเดียวกับที่กลุ่มสิทธิมนุษยชนล็อบบี้เพื่อสิทธิของชาวแอฟริกันอเมริกันและชาวฮิสแปนิกอเมริกัน แม้วากลุ่มคนผิวขาวที่ถือว่าตนเองเหนือกว่าคนอื่นมักจะแยกตัวออกจากแนวคิดคนผิวขาวที่ถือว่าตนเองเหนือกวาคนอื่น แต่ความรู้สึกที่าตนเหนือกว่า คนอื่นยังคงแพร่หลายในงานเขียนของพวกชาตินิยมผิวขาว

          ชาตินิยมผิวขาวในอเมริกาเชื่อวาสหรํฐฯ ถูกสร้างขึ้นเป็นชาติโดยเฉพาะสำรหับคนผิวขาวเชื้อสายยุโรปและควรให้คงอยุ่เช่นนั้นต่อไป หลายคนเรียกร้องให้ก่อตั้งรัฐชาติเป็นคนผิวขาวอยางชัดเจน นักอุดมการ์ชาตินิยมผิวขาวหลายคน เช่น จาเร็ต เทย์เลอร์ ปีเตอร์ ไบรเมโลว์ และเควิน บี. แมคโดนัลด์ พยายามแยกตัวจากภาพลักษณ์ของนีโอนาซีและกลุ่ม KKK ซึ่งใช้ความรุนแรงและสกินเฮด โดยพยายามสร้างภาพลักษณ์็ของความน่าเคารพนับถือ ซึ่งต่อมา ฮอว์ลีย์เรียกอุดมการณ์ของพวกเขาว่า "ชาตินิยมผิวขาวชั้นสูง" ซึ่งมีอิทธิพลต่อกลุ่มขวาจัด เทอร์เลอร์กลายเป็นบุคคลที่ได้รับการยกย่องในกลุ่มขวาจัด

           ประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู บุช รีพัีบลิกัน ในช่วงทศวรรษท 2000 ชาตินิยมผิวขาวมุ่งเป้าไปที่การวิพากษืวิจารณืกลุ่มอนุรักษณ์นิยมมากกว่ากลุ่มเสรีนิยม โดยกล่าวหาว่าพวกเขาทรยศตอชาวอเมราิกันผิวขาว ในช่วงเวลาดังกล่าว พวกเขาใช้ทฤษำีสมคบคิดที่สร้าขึ้นโดย ชบวนการแพทริออต ตั้งแต่ทศวรรษ 1990 มากขึ้นเนื่อยๆ ทางออนไลน์ ขบวนการชาตินิยมขาวและขบวนการแพทริออตก็บรรจบกันมากขึ้นเรื่อยๆ  หลังจากบารัค โอบามาผุ้สมัคพรรคเดโมแครต ได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดีในปี 2008 ซึ่งทำให้เขาเป็นประธานาธิบดีผิวสีคนแรกของประเทศ มุมาองของฝ่ายขวาต่างๆ รวมถึงกลุ่มคนผิวขาวที่ถือว่าตนเองเหนือกวา่ แพทริออต และกลุ่มทีปาร์ตี้ เร่ิมที่จะรวมตัวกันมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งส่วนหสึ่งเป็นผลจากความรุ้สึกไม่เป็นมิตรทางเชื้อชาติต่อ โอบามา

         ในช่วงที่ Tea Party เติบโตขึ้นและแคมเปยหาเสียงชิงตำแหน่งประธานาธิบดี ของ "มิทท์ โรมนี่" ในปี 2012 "เกิดการเปี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมและเศรษฐกิจที่สร้างเงือนไขสำหรับการเปลี่ยนแปลงขนานกันในวงการการเมืองฝ่ายขวา" รวมถึงการเปลี่ยนแปลงทางประชากรการเพ่ิมขึ้นของอินเทอร์เหน็ตและโซเชียลมีเดียที่ให้เวทีสำคัญแก่เสียงฝ่ายขวาสุดโต่งที่เคยถูก "ผู้เฝ้าประตูฝ่ายอนุรักษ์นิยมที่รับผิดชอบ" ปิดกั้น ความลบ้มเหลวที่รับรู้ได้ของสงครามต่อต้านการก่อการร้ายที่นำโดยกลุ่ม นีโอคอนเซอร์ เวทีฟ คำตัดสิน ของศาลฎีกา ที่ทำให้เการแต่งงานของเพศเดียวกัน ถูกกฎหมาย และบ่อนทำลายความอนุรักษ์นิยมทางสังคม ภาวะ เศรษฐกิจถดถอย ครั้งใหญ่ในปี 2008 ที่สร้างผลกระทบต่อตลาดเสรีของกลุ่มอนุรักษ์นิยม และผุ้ชายที่มีความเชื่อบางอย่างเกี่ยวกับบทบาทางเพศ "รู้สึกว่าพื้นที่ของผุ้ชายโดยทั่วไปกำลังถูกกัดกร่อน" และเผชิญกับการแข่งขันในเศราฐกิจจาก "ผุ้หญิงที่มีการศึกษาสุงไ ปัจจัยทั้งหมดเหล่านี้ยังนำปสู่ "การพังทลายขอรั่วกั้นทางปัญญาและการเมืองของฝ่ายขวา"

         กลุ่ม Alt-right ได้นำแนวคิดขวาจัดดหลายแนวคิดที่เก่าแก่กว่ามาใช้ หนึ่งในนั้นคือ Nouvell Droite ซึ่งเป็นชวนการขวาัดที่ถือกำเนิดในฝร่งเศสในช่วงทศวรรษ 1960 ก่อนที่จะแพร่กระจายไปประเทศต่างๆ ในยุโรป โดยนำทัศนคติเกี่ยวกับการแสวงหาการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนะรรมในระยะยาวผ่านกลยุทธ์"เมตาการเมือง" มาใช้ จึงมีความคล้ายคลคึงกับลัทธิอัตลักษณ์ ยุโรป ซึ่งดึงเอาแนวคิด กลุ่มนี้มาใข้ด้วยเช่นกัน กลุ่ม alt-right ยังแสดงให้เห็นความคล้ายคลึงกับ ขบวนการ peleoconservative ที่เกิดขึ้นในสหรัฐฯในช่วงทศวรรษท 1980 ทั้งคู่ต่อต้าน นีโอคอนเชอร์วาติซึม และแสดงจุดยืนที่ตล้ายคลึงกันเกี่ยวกับการจำกัดการย้ายถ่อนฐานและการสนับสนุนนโยบายต่างระเทสที่เป็นชาตินิยมอย่าเปิดเผย แม้วาต่างจากกลุ่ม "อัล-ไรท์" กลุ่ม ปาลีโอ คอนเซอร์วาทีฟ มักจะมีแนวคิดที่ใกล้ชิดกับศาสนาคริสต์และต้องการปฏิรูปขบวนการอนุรักษนิยมแทนที่จะทำลายมัน นักอนุรักษ์นิยมแบบโบราณบางกลุ่ม เช่น ซามูเอล ที. ฟรานซิส กลายเป็นคนที่ใกล้ชิดกับชาตินิยมของคนผิวขาวเป็นพิเศษ...

2014-2017 ในอินเตอร์เน็ต คำว่า "อังเตอร์เนทีฟ ไรท์" ของสเปนเซอร์ถูกนำมาใช้และย่อเป็น "อัลท์-ไรท์" ซึ่งยังคงความเกี่ยวข้องของวลีเดิมไว้ เป็นการผสมผสานระหว่างความแปลกแยกและการมองโลกในแง่ดีที่ฝัีงอยู่ในการแสดงออกถึงการยอมรับแนวทาง "ทางเลือก" อย่างภาคภูมิใจแต่ได้ทำให้ทั้งสองอย่างนี้กระชับขึ้น #alt-right ถูกสร้างขึ้นดดยคำนึงถึงการประชาสัมพันธ์ ข่วยให้ชาตินิยมผิวขาวสามารถบรรเทาภาพลักษณ์ของตนเองและช่วยดึงดูดผุ้ที่เปลี่ยนจากสายอนุรักษ์นิยมเข้ามา ชาตินิยมผิวขาวจำนวนมากหัสมาใช้คำนี้เพื่อหลีกเลี่ยงความเมหายเชิงลบของคำวา "ชาตินิยมผิวขาว" สเปนซอร์คิดว่าในจุดนี้ " alt-right" ได้กลายเป็น "ธงของการเมืองอัตลักษณ์ผิวขาว"

            มิถนายน 2015 โดนัล ทรัมป์ ประกาสแผนรณรงค์หาสียงเพื่อเป็นผุ้ได้รับการเสนอชื่อจากพรรครีพับลิกันในการเลือตกั้งประธานาธิบดี ปี 2016 ซึ่งดึงดุดความสนใจจากกลุ่มขวาจัด ตลอดจนชาตินยิมผิวขาวดดยทีวไป นีโอสาซี กลุ่ม KKK และกลุ่มแพทริออำต พวกเขาสนัีบสนุนการรณรงค์หาเสียงของทรัมป์ อย่างแข็งขัน ซึ่งจุดยืนนี้ทำให้กลุ่มขวาจัดมีพลังและเปิดโอกาศให้พวเขาเข้าถึงผุ้คนได้มากขึ้น มีผุ้ตั้งข้อสังเกตว่า "แนวโน้มทางการเมืองของบทรัมป์เองก็สอดคล้องกันจุดยืนของกลุ่มขวาจัดในประเด็นต่างๆ เช่นการย้ายถ่ินฐานและการต่อต้านโลกาภิวัตน์" ซึ่งทำให้มีเม็ดเงินหมุนเวียน อย่างไรก็ตามกลุ่มขวาออกมาโต้แย่้งสื่อ ความว่า ระหว่างทรัมป์และกลุ่มขวาจัด ในทางอุดมการณื กลุ่มขวาจัดยังคงอยุ่"ทางขวาของทรัมป์มากฎ และตัวทรัมป์เองก็ไม่เข้าใจการเคลื่อนไหวนี้ มากนัก กลุ่มขวาจัดจำนวนมากยอมรับวาทรัมป์ไม่ได้แชร์การเป็นชาตินิยมผิวขาวจากพวกเขาและจะไม่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดตาที่พวกเขาต้องการ ถึงกระนั้นพวกเขากก็ยังเห็นด้วยกับทัศนคติที่เปข็งกร่าวของเขาต่อผุ้อพยพการเรียกร้องให้ห้ามชาวมุสลิมเข้าประเทศสหรับอเมริกา และการสร้างกำแพง ตามแนวชายแดนกับเม็กซิโกเพื่อลดการอพยพที่ผิดกฎหมาย พวกเขาของคุณที่เขาเปลี่ยนการสนทนาในระดับชาติไปทางขวา"...

           ข้อมูล : วิกิพีเดีย 

วันจันทร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

left - right

           คำว่าฝ่ายซ้าย ฝ่ายขวาในทางการเมือง เร่ิมใช้มาต้้งแต่ยุคการปกิวัติฝรั่งเศส ที่มีการจัดที่นี่ประชุมในสภาสมัชชาแห่งชาติโดยผู้สนับสนุนเจ้าในระบอบเก่านั้งอยู่ทางขวามือของประะาน อันเป็นผุ้ที่สนับสนุนลำดับชั้น ประเพณีและนักบวช 

           ในช่วงคริสต์สตวรรษที 19 ชนชั้นทางสังคมในโลกตะวันตกเปลี่ยนจากอภิชนและชนชั้นขุนนาง รวมไปถึงชนชั้นกลางที่ขยายตัวเร่ิมหันเข้าสุ่ระบบทุนนิยม การเปลี่ยนแปลงนี้เกิดจากขบวนการฝ่ายขงาอย่างพรรคอนุรักนิยม ในสหราชอาณาจักรหหันออกจากความล้มเหลวของพาณิชยนิยม

          ฝ่ายขวา หมายถึง ทัศนะที่วาะเบียบสังคมและลำดับชั้นทางสังคมบางอย่างเป็นสิงหลีกเลี่ยงไม่ได้ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เป็นปกติ หรือเป็นสิ่งพึงปรารถนา ปกติแล้วบุคคลสนับสนุนฐานะดังกล่าวบนพื้นฐานของกฎหมายธรรมชาติ หลักวิชาเศรษฐศาสตร์ หรือ ประเพณี ลำดับชั้นและความไม่เสมอภาคอาจถูกมองว่าเป็นผลลัพธ์ตามะรรมชาติของความแตกต่างทางสังคมที่มีมแต่เดิม หรือการแข่งขันในเศราฐกิจแบบตลาด คำว่าฝ่ายขวาโดยทั่วไปหมายความถึงพรรคการเมืองหรือระบบการเมืองอนุรักษนิยมหรือพวก



ปฏิกิริยา 

          คำว่าขวาเดิมที่ใช้กับอนุรักษนิยมเดิม นิยมเจ้า และพวกปฏิกิริยา ส่วนขวาจัดหมายถึง ลัทธิฟาสซิสต์ นาซี และกลุ่มที่เชื่อว่าชนชาติหนึ่งสุงส่งกว่าชาติอื่นๆ ในขณะเดียวกันฝ่ายขวาจัดนั้นไม่ได้มีจุดยืนทางเศราฐกิจแบบ "ขวา"เสมอไป เนืองจากฝ่ายขวาเศราบกิจโดยทั่วไปถือว่าเป็นพวกเสรีนิยม แบบคลาสสิกที่ต่างจากระแสขวาฝ่ายขวาจัดที่มีแนวคิดแทรกแซงทางเศราฐกิจ และสังคมนิยม เป็นเหตุผลที่ว่านิยามการเมือง "ฝ่ายขวาไ นั้นกำกวม และมีการแยกระหว่างฝ่ายขวาทางสังคมที่เน้นอนุรักษ์นิยม และขวาทางเศราฐกิจความเสรี คำวาฝ่ายขวาหมายถึงพวกชาิตนิยม พวกหที่คัดค้านการเข้าเมืองโดยให้สงเสริมคนพื้นเมือง อนุรักษนิยมทางศาสนา และใช้กับขบวนการฝ่ายขวาที่ตอต้านทุนนิยมที่มีต้ำกำเนิดจากลัทะิฟาสซิสต์ ส่วนในสหรัฐฯ ฝ่ายขวาหมายถึงทั้งอนุรักษนยิมทางเศราฐกิจ และสังคม

         ฝ่ายซ้าย คือฐานะหรือกิจกรรมทืางการเมืองที่ยอรับหรือสนับสนุนความเสมอภาคทางสังคม มักคัดค้านลำดับชั้นทางสังคมและความไม่เสมอภาคทางสังคม ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับความกังวลต่อผุ้ที่ในสังคมถูกมองว่าด้อยโอกาสเมืองเที่ยกับผุ้อื่นและความเชื่อที่มีความไม่เสมอภาคอย่างไม่มีเหตุผลจำต้องลดหรือเลิก การใช้คำว่า "ซ้าย" โดดเด่นขึ้นหลังการฟื้นฟูพระมหากษัตริย์ฝรังเศษ ปี 1815 เมื่อใช้กับ "กลุ่มอิสระ"คำว่า "ฝ่าย" wing ใช้กับ "ซ้ายและขวาไ ในปลายคริสต์ศตวรรษ 19 โดยทั่วไปมีเจตนาดูถูก และ "ฝ่ายซ้าย" ใช้กับผุ้ที่มีมุมมองทางศาสนาหรือการเมืองแบบนอกคอก 

         คำนี้ภายหลังใชักับหลายขบวนการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งลัทะิสาะารณรัฐนิยมระหวางการปฏิวัติฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ตามด้วยสังคมนิยมคอมมิวนิสต์และอนาธิปไตย ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 นับแต่นั้น คำว่า "ฝ่ายซ้ายไใช้กับขบวนการสิทธิพลเมือ ขบวนการนิยมสิทธิสตรี ขบวนการต่อต้านสงครามและขบวนการสิ่งแวดล้อม ตลอดจนพรรคการเมืองต่างๆ  ที่มา : วิกิพีเดีย

         "...วิกฤติเศรษฐกิจ ปี 2008 ว่าได้พัฒนาจาการต่อต้านการปกครองแบบประชาธิไตยและการสร้างวาทกรรมโจมตีฝ่ายตรงข้ามของผู้นำประชานิยมขวาจัดที่ปรากฎในอดีตมาสู่ความเป็นปฏิปักษ์ต่อแนวคิดเสรีนิยมทางการเมืองและเศรษฐกิจ ตอลดจนการต้อต้านกระแสโลกาภิวัตน์ โดยแสดงให้มวลชนเห้ฯวาสิ่งเหล่านี้เข้ามากัดกร่อคุณค่าประชาธิปไตยในสังคม ดังนั้นผุ้นำฝ่ายขวาในช่วงสมัยนั้นจึงมักจะสนับสนุนนโยบายกีดกันทางเศราฐกิจ และมีแนวโน้มจะปฏิเสธการเปิดรับผุ้อพยพลี้ภัยขนาดใหญ่จากประเทอื่น ซึ่งเกิดจากภาวะเกลียดกลัวมุสลิม และการเชื่อมโยงมุสลิมกับการก่อการ้ายด้วย ระบอบสประชานิยมขวาจัดในยุดรปและสหรัฐฯ จะมีการใช้วาทศิลป์เพื่อโน้เมน้าวความคิดของประชาชนให้มีความรุ้สึกร่วมกันถึงภัยคุกคามอัตลักษณ์ของคนในชาาติจากกระแสความหลากหลายทางวัฒนธรรม ที่เข้ามาพร้อมกับการเคลือ่นไหวเพื่อเรียกร้องสิทธิเสรีภาพของกลุ่มคนที่มิใช่คนชาติ 

           สำหรับระบอบประชานิยมขวาจัด ที่เกิดขึ้นในสมัยโดนัลด์ ทรัมป์ ถือเป็นส่วนหนึ่งของกระแสฝ่ายขวาที่ขยายตัว จากสมัยดังกล่าว อันกระตุ้นให้กระแสการเหยียดเชื้อชาติกลับมารุ่งเรืองในสหรัฐฯ เร่ิมต้นจากการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งในปี 2016 ทรัมป์สร้างเสียงสนับสนุนด้วยการเสนอทิศทางนดยบายที่อิงกับอุดมการณืฝ่ายขวา เพื่อเป็นทางออกให้ประชาชนที่กำลังเดือดร้อนจาการดำเนินงานของรัฐบาล ทรัมป์กล่าวว่าสหรัฐฯ ควรให้ความสำคัญกับนดยบายที่สร้างประโยชน์แก่ประเทศและคนอเมริกันเป็นอันดับแรก หรือที่เรียกว่่า นโยบาย "อเมริกันเฟริส์" โดยทรัป์ประกาศว่า Americanism ต่างหากที่เป็นความเชื่อของเราไม่ใช่ Globalism "สะท้อนว่ารัฐบาลของทรัป์จะดำเินินนดยบายตามหลักประชานิยามเพื่อประโยชน์แก่คอนในชาติ ทรัป์จึง-ม่สนับสนุนนโยบายที่เกื่อหนุนกระแสโลกาภิวัตน์ 

         ผลจากงานวิจัยหนึ่ง ได้มีการวิเคราะห์ว่าช่วงก่อนที่ทรัมป์จะขึ้นมามีอำนาจนั้น กระแสนิยมฝ่ายขวาเข้ามามีอิทธิพลในการเมืองภายในประเทศสหรัฐฯ ได้อย่างไร โดยเน้นทำงานวิจัยในพื้นที่ชนบทของมลรัฐลุยเซียนาที่มีคนผิวชาวอาศัยอยู่ในตชุมชนเล็กๆ เขามีข้อถกเถียงว่า คนอเมริกันผิวขาวชนชั้นแรงงานและนายทุนขนาดย่อมเร่ิมไม่พอใจการดำเนินนโยบายฟื้นฟูเศราฐกิจของรัฐบาลโอบามาที่เข้ามาสร้างข้อจำกัดและมาตรการต่างๆ เช่น การจำกันค่าแรง มาตรการรัดเข็มขัด ซึ่งพวกเขามองว่ายิ่งสร้างควยามไม่เท่าเทียมทางเศรษฐกิจของประเทศเพราะนโยบายเหล่รนีั้นเป็นการตัดโอกาสมีส่วนร่วใในกิจกรรมทางเศราฐกิจของประชาชน ทำให้พวกเขาไม่ได้รับรายได้เท่าที่พึงจะได้รับ ทั้งๆ ที่คนมีกรรมสิทธิ์เหนือพื้นที่ทำกินและเป็นเจ้าของประเทศนี้เอง คนกลุ่มนี้จึงต้องการเรียกร้องเสรีภาพในระบบเศรษฐกิจและต้องการมีวิถีชีวิตแบบอเมริกัน อันแสดงถึงอัตลักษณ์ร่วมกันระหว่างคนอเมริกัน และบรรลุเป้าหมายของ "อิมริกันดรีม"มากกว่าการให้ความสำคัญกับกลุ่มเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องสิทธิของ LGBT สตรี และนกลุ่น้อยเสียอีก ดังนั้ อุดมการณ์ประชานิยมฝ่ายขวาของทรัพมป์จึงสอดคลอ้งกับความต้องการของกลุ่มชนชั้นแรงงานและชนชั้นกลางผิวขาวที่จะให้คนขาวกลับมาเป็นใหญ่อีกครั้ง ทำให้ประชาชนกลุ่มขวาจัดเร่ิมเคลื่อนไหวทางการเมืองเพื่อสนับสนุนทรัมป์ และกลายมาเป็นฐานเสียงสำคัญให้ทรัมป์ขึ้นมาเป็นประธานาธิบดีในเวลาต่อมา

           ที่มา : https://digital.car.chula.ac.th/chulaetd/7356/

Midwest

            "มิดเวสต์" เป็นหนึ่งในสี่ภูมิภาคสำมะโนประชากรของสำนักงานสำมะโนประชากรแห่งสหรัฐอเมริกาเรียก ภุมิภาคนี้ว่า ภุมิภาคตอนกลา...