และบุคคลสำคัญอื่นๆ เพื่อวัตถุประสงค์ทางการเมือง เช่นการยึดอำนาจ การก่อการปฏิวัติ การดึงความสนใจไปที่สาเหตุ การแก้แค้น หรือการบ่อนทำลายระบอบการปกครองหรือผุ้วิพากษ์วิจารณ์ การสังหารโดยมีแรงจูงใจทางการเมืองดัลกล่าวเกิดขึ้นในทุกสวนของโลกและในทุกช่วงของประวัติศาสตร์
คำว่า "การลอบสังหารมาจากคำว่า "นิชารี อิสมาอิลียะห์ไ ขบวนการทางศาสนาและการเมืองที่เกิดขึ้นระหว่างศตวรรษที่ 11-13 ในกลุ่มอสิมาอิลียะห์ ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของศาสนาอิสลามนิกายชีอะห์ ซึ่งเป็นขบวนการทางศาสนาและการเมืองที่เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 11 ชาว นิชารี ซึ่งมีฐานอำนาจอยุ่ในเทือกเขา เอลบัรซ์ซึ่งปัจจุบันอยุ่ในบริเวณทางตอนเหนือของอิหหร่รานขาดกำลังทหารที่จะเผชิญหน้ากับฝ่ายตรงข้ามในภูมิภาค เขาใช้วิธีการแทรกซึมเพื่อโจมตีบุคคลสำคัญทางทหารและการเมืองภายในจัรวรรดิทั้งสอง
นักรบครูเสด ชาวยุโรปได้ยินและตีความตำแหน่งเหียวกับชาวนิซารีในยุคแรกอย่างผิดๆ แล้วนำเรื่องราวเหล่านี้กลับไปยังบ้านเกิดของพวกขา ความเข้าใจผิดสอบประการนี้ ซึ่งน่าจะมีต้นต่อมาจากศัตรูของชาวนิซารี คือ ชาวนิซารีเป็นพวกคลั้งไคล์ภายใต้การปกครองของ "ชายชราแห่งภูเขา" ผุ้ลักลับและพวกเขาใช้กัญชาเพื่อสร้างภาพนิมิตแห่งสวรรค์ก่อนจะออกเดินทางไปสุ่การพลีชีพ คำว่า hashishi ในภาษาอาหรับ ("ผุ้บริโภคกัญชา) ซึ่งเป็นคำ ที่ใช้ในการดูถูกเหยียดหยาม ชาวนิซารีกลายเป็นรากศัพท์ของคำ่า่มือสังหารในภาษาอังกฤษและคำที่มีความหมายใกล้เคียงกันในภาษาอื่นๆ ของยุูโรป นักฆ่าได้รับความหมายว่าเป็นนักห่าที่ไม่ลดละ
เป้าหมายการลอบสังหาร หัวหน้ารัฐบาล เชน ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรีและพระมหากษัตริย์ มักตกเป็นเป้าหมายของการลอบสังหาร ประธานาะิบดี สหรัฐฯ 4 คน ถูกลอบสังหาร และ 12 คนตกเป็นเป้าหมายของการลอบสังหารที่ไม่ประสบความสำเร็จในปี 1914 การลอยสังหารอาร์ชดยุค ฟรันซ์ เฟอร์ดิมานด์ รัชทายาทแห่งออสเตรีย-ฮังการี ทำให้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ภายหลังการลอบสังหารไม่กี่สัปดาห์
เหยือการ่ลอบสังหารในศตวรรษที่ 20 กว่ายี่สิบคนทั่วโลก เหยื่อสังหารได้แก่ รัฐมนตรี สมาชิกสภานิติยัญญัติ ผุ้พิพากษา และเจ้าหน้าที่รัฐอื่นๆ สมาชิกของกองทหารหรือตำรวจ สมชิกของพรรคการเมืองและกลุ่มการเมือล และผุ้นำทางศาสนา และผุ้มีชื่อเสียงของขบวนการทางสังคมและการเมือง
แม้ว่าการฆาตกรรมจะถูกใช้น้อยลงในฐานะเครื่องมือทางการเมืองในศตวรรษที่ 21 แต่ก็ยังมีเหตุการณ์ที่มีความหมายบางประการ เช่น ในปี 2003 นายกรัฐมนตรีเซอร์เบีย ถูกสังหารโดยมือปืนที่มีความเชื่อมโยงกับกลุ่มอาชญากร และระบอบการปกครองของอดีตรัฐมนตรีของเลบบานอน "ราวิค อัล ฮารีรี่" ถูกสังหารด้วยระเบิดรถยนตืใสนปี 2005 เชื่อกันอย่างกว้างขวางว่าซีเรีย มีความรับผิดชอบต่อการบอลสังหาร ฮารีรี่ และในความไม่สงบที่เกิดขึ้้ตามมากองทหารซีเรียถูกบังคับให้ยุติการยึดครองเลบานอนที่กิเวบานานเกือบสามทศวรรษ, เบนาซิร บุโต อดีตนายกรัฐมนตรีของประกีสถาน ถุกสังหารในเหตุระเบิดฆ่าตัวตายปี 2007, ประธานาธิบดีเฮติ "โจวีนีล มอยซ์ ถูกยิงเสียชีวิตที่บ้านของเขา 2021 โดยทหารรับจ้าง โคลอมเบีย กรกฎาคม 2022 อดีตนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น ชินโซ อาเบะ ถูกยิงเสียชีวิตในงานหาเสียงของนักการเมืองพรรคเสรีนิยมประชาธิปไตย เช่นกัน
ฝ่ายตรงข้ามของประธานาะิบดี "วลาติมีร์ ปูตินแห่ง รัสเซีย ตกเป็นเหยื่อของการลอบสังหารบ่อยครั้งในปี 2006 นักข่าวสืบสวนสองสวน แอนนา โพลิคอฟสกายา ถูกยิงเสียชีวิตในอาคารอพาร์ตเมนต์ของเธอในมอสโกว เธอเป็นหนึ่งในนักข่าวกว่าสองโหลที่ถูกลอบสังหารในช่วงที่ปูตินดำรงตำแหน่ง ผุ้เสียชีวิตเกือบหนึ่งในสี่มาจาหนังสือพิมพ์อิสระ Novaya Gazeta ในปี 2021 ดมิทรี มุราดอฟ บรรณธิการบริหารหนังสือพิมพ์ดังกล่าว ได้รับรางวัง โนเบลสาขาสันติภาพ สำหรับ "ความพยายามในการปกป้องเสรีภาพในการแสดงออก" นักการเมืองฝ่ายค้าน บอริส เนมต์ซอฟ ถุกยิงเสียชีวิตในจุดที่เครมลินมองเห็น ในปี 2015 และ อเล็กเซย์ นาวัลนี นักรณรงค์ต่อต้านการทุจริตถุกวางยาพิษ ปี 2020 ด้วย โนวิช็อก ซึ่งเป็นสารพิษที่โซเวียตคิดค้นขึ้น นาวัลนี ป่วยหนักและต้องใจ้เวบาหนึ่งเดือนในการพักฟื้นที่เยอรมัน แต่ถูกจำคุกทันทีเมือกลับถึงรัสเซีย นอกจากนักข่าวและผุ้นำฝ่ายค้านแล้ว เจ้าหน้าที่ข่าวกรองรัสเซียที่แปรพักตร์ไปอยู่กับตะวันตกก็ตกเป็นเป้าหมายด้วยเช่นกัน อดีต เจ้าหน้าที่ หน่วยข่าวกรองของรัฐบาลกลาง อเล็กซานเดอร์ ลิทวิเนนโก ถูกวางยาพิษโพโลเนียม-210 จะเสียชีวิต ในปี 2006 ขณะกำลังดื่มชาในดรงแรมในลอนดอน และอดีตเจ้าหน้าที่ หน่วยข่าวกรองทหารรัสเซียเชอร์เกย์ สคริปาล ถุกวางยาพิษ 2018 พร้อมกับลุกสาวของเขาในการโจมตีด้วย โนวิช็อก ที่เมือง ซอลส์บรี ประเทศอังกฤษแม้ว่าครอบครัวเขาจะฟื้นตัวได้ในที่สุด แต่หญิงชาวอังกฤษซึ่งสัมผัสกับภาชนะที่ใช้ขนส่งก็ล้มป่วยและเสียชีวิต แรงจูงใจในการลอบสังหารนั้นแตกต่างกันไป (และมักจะซับซ้อนและหลากหลาย) ในบางกรณี นักฆ๋าต้องการบัคับให้เกิดการเแลี่ยนแปลงในความเป็นผุ้นำหรือรุปแบบของรัฐบาล การลอบสังหารดังกล่าวมักเกิดขึ้นระกว่างการ รัฐประหารทางทหาร เช่นกรณีการโค่นล้มประานาธิบดี โง ดินห์ เดียม ในเวียดนามใต้ ปี 1963 และ โทมัส ซังการา ในบูร์กินาฟาโซปี 1987 นักฆ่าอาจต้องการอำนาจ หรือกาจมุ่งไปที่การเปลี่ยนแปลงรัฐบาลในลักษณะที่พวกเขาเชื่อว่าเป็นประโยชน์ต่อสังคม (หรือทั้งสองอย่างป ในบางครัง ชาวกรีก และดรมันโบราณ ใช้การสังหารทรราชหรือการสังหารทรราชหรือเผด็จการเพื่อประโยชน์สาธารณะ
การสังหารอีกประเภหนึ่ง มักเรียกว่า "การโฆษณาชวนเชื่อโดยการกระทำ" ออกแบบมาเพื่อสร้างกระแสให้กับดลกทัศน์นักอนาธิปไตยบางคน ในศตวรรษทีี 19 เป็นผุ้สนบสนุนการฆาตกรรมเชิงสัญลักษณ์
ดังกล่าวซึ่งพวกเขาหวังว่่าจะแสดงให้เห็นถึงความเปราะบางของรัฐบาลและสร้างแรงบันดาลใจให้เกิดการกบฎ นักอนาธิปไตยสังหารผุ้ปกครองหลายคนในยุดรปในช่วงปลายศตวรรษทีี 19 (รวมทั้งในอิตาลี สเปน และฝรั่งเศส) ช่นเดียวกับประธานาะิบดี วิลเลียมแม็กคินลีย์แห่งสหรัฐอเมริกาสในปี 1901 องค์กร ก่อการร้ายและกึ่งทหารจำนวนหนึ่งใช้การลอบสังหารผเช่นเดียวกับการสังหาพลเมืองทั่วไป) เพื่อวัตถุประสงค์ในการโฆษณาชวนเชื่อ ในศตวรรษที่ 20 องค์กรดังกล่าวรวมถึงกองทัพแดงในเยอมันกองพลแดงในอิตาลี กองทัพสาะารณรัฐไอร์แลนด์ในไอร์แลนด์เหนือกุ่มแบงแยกดินแดนบาสก์ ในสเปน และกลุ่มกองดจรและหน่วยกึ่งทหารในหลายส่วนของโลก
รัฐบาบเองก็ใช้การลอบสังหารเป็นอาวุธต่อต้านคู่แข่ง ผุ้เห็นต่าง และภัยคุกคามอื่นๆ ที่อาจเกิดขึ้น ในหมู่พลเมืองของตนเองและของประเทศอื่นๆ ตัวอย่างที่โดดเด่น ของการปฏิบัติการคือ ปฏิบัติการ Wrath of God ซึ่งเป็นการลอบสังหารของอิสราเอลที่มุ่งแก้แค้นการลักพาตัวและสังหารนักกีฆาอิสราเอล 11 คน ดดยนักรบปาเลสไตน์ในปี 1972 ที่การแข่งขันกีฆาโอลิมปิกที่มิวนิกในบางกรณี นักฆ่าพยายามแก้แค้นการกระทผิดที่เกิดขึ้นจริงหรือที่คิดไปเอง การลอบสังหารประธานาธิบดี เจมส์ เอ. การ์ฟิลด์ แห่งสหรัฐอเมริกา ในปี 1881 เป็นตัวอย่างทั่วไปของการลอบสังหารเพื่อแก้แค้น การ์ฟิลด์ถุกชาร์ลส์ กีโด ผุ้แสวงหาตำแหน่งที่ขัดขวางไม่ให้เข้าดำรงตำแหน่ง ซึค่งเชื่อว่าเขาไปม่ได้รับคำตอบแทนทางการเมืองที่สมควรได้รับอย่างไม่ถูกต้อง การลอบสังหารประธานธิบดีอับราฮัม ลินคอล์นแห่งสหรัฐอเมริกาในปี 1865 เป็นอีกตัวอย่างของการลอบสังหารเพื่อแก้แค้น นักฆ่าซึ่งเป็นผุ้สนับสนุนการมีทาสอย่างคลั่งไคล้ชื่อ จอห์น วิลค์ส บุธ พยายามแก้แค้นให้กับความพ่ายแพ้ของสมาพันธรัฐ ในสงครามกลางเมืองอเมริกา
แรงจูงใจในการลอบสังหารไม่ชัดเจนเสมอไป ความไม่แน่นอนได้เกิดขึ้นรอบ ๆ สภานการณ์การลอบสังหารประะานาธิบดีจอห์น เอฟ. เคนเนดีแหงสหรัฐอเมริกาในปี 1963 เป็นต้น คณะกรรมาะิการวาร์เรน ได้ค้นพบอย่างเป็นทางการวา่มือปืนคนเดียวชื่อ ลี อาร์วีย์ ออสวอลด์ สังหารเคนเนดี้ด้วยแรงจูงใจส่วนตัวบางอย่างที่ยังไม่ได้เปิดเผย อย่างไรก็ตาม ทฤษฎีสมคบคิด จำนวนมาก กล่าวหาว่าออสวอลด์เป็นส่วนหนึ่งของแผนการบางอยางที่ยังไม่ได้รับการเปิดเผย...https://www.britannica.com/topic/assassination