วันอาทิตย์ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Michel de Nostredame(นอสตาร์ดามุส)
หรือ มิเชล เดอ นอสตราดาม หรือ นอสตราดามุส เป็นแพทย์และโหราจารย์ชื่อดังชาวฝรั่งเศส เชื้อสายยิว เกิดที่เมืองแซงต์ เรมี (ค.ศ. 1503-1566) ในครอบครัวนายทะเบียนู้รุ่งเรืองของเมือง นอสตราดามุสจบการศึกษาด้านการแพทย์จากมหาวิทยาลัยมองต์เปลีเยร์ เขาเสียชีวิตด้วยโรคเกาต์
นอสตราดามุส เกิดร่วมสมัยกับ มาร์ติน ลูเธอร์ ผู้นำแห่งศาสนาคริสเตียนนิกายโปรเตสแตนต์ พระเจ้าหลุยส์ที่ 12 แห่งฝรั่งเศส ทางมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าให้ชาวยิวทุกคนให้เปลี่ยนศาสนาเดิมมานับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ เรียกว่า คริสเตียน โดยเช้ารับศีลจุ่ม
ท่ามกลางบรรยากาศทางการเมืองที่ร้อนระอุ ครอบครัวนอสตราดามุสไม่มีทางเลื่อกที่ดีกว่าผู้นำของครอบครัวเป็ฯปัญญาชนรักชาติรักแผ่นดิน รักที่อยู่อาศัยมากกว่าที่จะเป็นพลเมืองชั้นสองที่ต้องหลบ ๆ ซ่อนๆหนีภัยอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ครอบครัวยิวในฝรั่งเศสจึงเลือกทางออกอ้วยการรับศีลเป็นคริสเตียนแต่ภายในบ้านก็ยังยึดถือปฏิบัติศาสนกิจตามความเชื่อของยิวอย่างลับ ๆ ชีวิตของนิสตราดามุสจึงเติบโตขึ้นมาในสภาพที่เคยชินต่อการซ่อนเร้นปกปิดสถานภาพที่แท้จริงของครอบครัวในสายตาชาวบ้านด้วยการอยู่ภายใต้สภาวการณ์ดังกล่าว ทำให้นอสตราดามุสเรียนรู้ชีวิตของการหลบหลักหนีภัยมาตั้งแต่เด็กมีสัญชาตญาณแห่งการเอาตัวรอดดีกว่ากาลิเลโอ ทั้งๆ ที่ผลงานของนอสตราดามุส ที่ชนชั้นกษัตริย์และสาธารณชน รวมทั้งทั่วยุโรป รับรู้กันในสมัยนั้นมีลักษณะของการท้าทายและขัดต่อกฎเกณฑ์ของศาสนจักรมากกว่าของกาลิเลโอหลายเท่า
พื้นฐานครอบครัว นอสตราดามุส มีความระแวดระวังภัยรอบตัว มาแต่อ้อนแต่ออกจึงทำให้เขารอดจากการจ้องจับผิดของเจ้าหน้าที่สังฆจักรโรมันคาทอลิกอยู่เรื่อยมาชื่อนอสตราดามุสอยู่ในบัญชีดำ เป็นผู้ถูกเพ่งเล็งหมิ่นเหม่ต่อการถูกเรียกตัวเข้าคอกเป็นจำเลยเพื่อไต่สวนหลายครั้งแต่ความเป็นนายแพทย์ที่สร้างคุณประโยชน์อาจหาฐรักษาเพื่อร่วมชาติที่ล้มตายด้วยโรคระบาดตามหัวเมืองต่าง ๆ โดยไม่คำนึงถึงความน่าสยดสยองของโรคร้ายจึงมีส่วยช่วยเป็นเกราะกำบังภัยให้นอสตราดามุสเรื่อยมาคุณปู่และคุณตาของนอสตราดามุส ต่าเนแพทย์หลวง ในราชสำนักฝรั่งเศส ทั่งสองเป็นเพื่อนรักสนทิกัน ฝ่ายแรกมีลูกชาย “ช้าคส์”ฝ่ายหลังมีบุตรสาว “เรอเน” โตขึ้นก็จับคู่แต่งงานกลายเป็นทองแผ่นเดียวกัน
พื้นฐานการศึกษา เมื่ออายุครอบ14 ปี คุณปู่ แนะนำให้เข้าเรียนต่อด้านศิลปศาสตร์ ที่เมืองอาวียองแหล่งวิชาสำคัญของฝรั่งเศสยุคนั้น นอสตราดามุสศึกษาวิชาปรัชญา ไวยากรณ์ และศิปการพูดภายใต้การควบคุมอย่างใกล้ชิดของพระ ยามว่างนอสตราดามุสมักใช้เวลาหมดไปในห้องสมุดและที่แห่งนี้ เขาได้พบหนังสือหลายเล่มที่เขียนบันทึกเกี่ยวกับเรื่องไสยศาสนตร์ผีสางและเวทมนตร์รวมทั้งชีวประวัติของศาสดาพยากร์ ยิ่งทำให้นอสตราดามุสเกิดความสนใจในวิชาโหราศาสตร์มากขึ้น มากเพียงพอที่จะผลักดันให้นอสตราดามุสค้นคว้าหลักการทำนายอนาคต การเรียนการสอนในยุคสมัยนั้นศาสตร์ต่าง ๆถูกควบคุมภายใต้กฎเกณฑ์ของศาสนาจักรอยางเข้มงวดทฤษฎีใหม่ข้อใดที่ขัดต่อคำสอนทางศาสนาจะถูกห้ามหรือให้ใช้สอตามแนวที่สังฆจักรอนุมัติอาจารย์ผุ้สอนในยุคนั้นเมือกระทบเรื่องใดที่เป็นหัวข้อหมิ่นเหม่ มักจะหันเหไปสอนลูกศิษย์ในเรื่องอื่น ๆ ที่ไม่เป้นพิษเป็นภัยกับตน การอภิปรายในชั้นเรียนนอสตราดามุสมักจะปกป้องความคิดใหม่ไ ของตนเอง รวมทั้งความเชื่อในเรื่องโหราศาสตร์มิหนำซ้ำยังยืนหยัดเชื่อใน “ทฤษฎีโคเปอร์นิคัน” นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัน นอสตราดามุสมีความรู้แตกฉานด้านดาราศาสตร์ หรือจะด้วยพลังจิตทัศน์ที่แผงอยู่ในตัวมาก่อนนอสตราดามุสเชื่อและยืนหยัดปกป้องทฤษฎีโคเปอร์นิคัสดังกล่าวก่อนหน้าที่กลิเลโอจะเสนอทฤษฎีของตนในลักษณะเดียวกันเกือบ 100 ปีเสี่ยงต่อการถูกตั้งข้อหาฉกรรจ์จากสังฆจักรในข้อหาสร้างทฤษฎีซาตานขึ้นมาขัดแย้งความเชื่อเดิมลบหลู่ท้าทายคำสอนทางศาสนา ซึ่งในศตวรรษต่อมา กาลิเลโอได้ถูกไต่สวนและถูกจองจำหลายครั้งในข้อหาเดียวกัน
คำพยากรณ์เซ็นจูรี่ เล่มที่ 2:ลูกชายคนสุดท้ายของชายที่มีชื่อเดียวกับพระผู้เป็นเจ้าจะนำเจ้าหญิงไปสู่วันพักผ่อนชั่วนิรันดร์ เชื่อว่าเป็นคำทำนายที่เกี่ยวกับเจ้าหญิงไดอาน่า
พ่อของนายโดดี อัลฟาเยด ซึ่งเป็นเจ้าของ สรรพสินค้า “แฮร์รอด”ชื่อดังกลางกรุงลอนดอน มีชื่อว่า โมฮัมหมัด ซึ่งเป็นชื่อของพระเจ้าในศาสนาอิสลาม ทั้งนาย โด อัล ฟาเยค เป็นเพื่ยนชาย คนสนทิของเจ้าหญิงไดอาน่า ที่เสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุทางรถยนต์ด้วยกันที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม
ท้องฟ้าจะลุกเป็นไฟ เพลิงจะผลาญเข้าสู่เมืองใหม่(New York)
คำพยากรณ์เซ็นจูรี่ เล่มที่ 6: ท้องฟ้าจะลุกเป็นไฟ เพลิงจะผลาญเข้าสู่เมืองใหม่
“ท้องฟ้าจะถูกเผาผลาญ ณ องศาที่ 45 เพลิงจะพุ่งเข้าสู่เมืองใหม่ในบัดดล ดวงไฟใหญ่จะแตกกระจายทะลวงพุ่งขึ้นมา”
“มาบัส MABUS จะตายในไม่ช้า จะมีการฆ่าหมู่คนและสัตว์อย่างสยดสยอง ทันใดนั้นการแก้แค้นจะปรากฎขึ้นจากร้อยแผ่นดิน ความกระหาย อดอยาก จะเกิดขึ้นเมือดาวหางโคจรฝ่านมา..”
“ศาสนาที่มีชื่อเหมือนทะเลจะมีชัย การต่อต้านนิกายของอะดาลูนกาทิฟผู้บุตรพวกหัวดื้อ พวกโศกเศร้าตำหนิ นิกายจะกลัวเกรง อาลิฟ กับ อาลิฟ ที่ได้รับบาเจ็บทั้งสอง…”
เชื่อกันว่าเป็นคำทำนายที่เกี่ยวกับเหตุการณ์เครื่องบินชนตึกเวิร์ดเทรดส์
นอสตราดามุสพยากรณ์เกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่ 3 ไว้ 265 บท อาทิ
คำพยากรณ์ที่ 8
La grande montagne ronde de sept stades,
Apres paix, guerre, faim, inondation,
Roulera loin abimant grands contrades,
Memes antiques, et grande fondation. (I,69)
ในขณะที่เอเชียประสบกับความเดือดร้อนทั่งทุกหย่อมหญ้า
ทุกหนทุกแห่งกำลังตกอยู่ในภาวะสงคราม เกิดทุพภิกขภัย
และอุทกภัยอยู่นั้น จะมีหินกลมขนาดยักษ์ ซึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณหนึ่งไมล์
หมุนลอยละล่องตกจาท้องฟ้าลงสูโลก ผลจกาการตกมาของหินยักษ์นี้
จะทำให้เกิดน้ำท่วมรุนแรงในประเทศใหญ่ ๆ ที่มีอายุเก่าแก่ในโลหลายประเทศ
คำพยากรณ์ที่ 9-10
II entera vilain, mechant, infame,
Tyrannisant la Mesopotamie :
Tous amis fait d’adulterine dame,
Terre horrible noir de physionomie. (VIII,70)
Le Prince Arabe Mars, Sol, Venus, Lion,
Renge d’Eglise par mer succombera :
Devers la Perse bien pres d’un million,
Bisance, Egypte, ver serp invadera. (V,25)
จะมีบุรุษผุ้น่าเกลี่ยดชั่วร้ายเลวทรามผู้หนึ่งก้าวขึ้นสู่อำนาจ
เขาจะปฏิบัติการก่อกรรมทำเข็ญประเทศทั้งหลายในลุ่มแม่นำเมโสโปเตเมีย
เขาจะสร้างมิตรโดยวิธีการหลอกลวง ดินแดนทั้งหลายจะถูกทำลายล้างจนกลายเป็นเถ้าถ่าน
และต่อมาจอมเผด็จการผู้นี้จะได้เป็นผู้นไของชาติอาหรับทั้งหมด เมือดาวอังคาร
ดาวอาทิตย์และดาวศุกร์โคจรมาอยู่ในรศีสิงห์ จอมเผด็จการผู้นี้จะโจมตีนักบวชนิกายโรมันคาทอลิกในทะเล
นอกจากนั้นก็จะใช้กำลังทหารจำนวนหนึ่งล้านคนบุกโจมตีประเทศอิหร่าน ตุรกีและอียิปต์
คำทำนายที่เกี่ยวกับศรัทธาใหม่
"He will appear in Asia at home in Europe
One who is issued from great Hermes…"
เขาจะปรากฎตัวในเอเซีย จากบ้านในทวีปยุโรป
บุคคลหนึ่งเป็นผู้มาจากผู้ส่งสาร์นสำคัญของเทพเจ้า
"The man from the East will come out of his seat,
Passing across the Apentines to see France
He will fly through the sky, the rains and snows,
And strike everyone with the rod."
ผู้ชายจากโลกตะวันออก
จะมาสู่ตำแหน่งของเขาผ่านข้ามผู้เลียนแบบ
ไปยังประเทศฝรั่งเศสเขาจะเดินทางโดยเครื่องบินทางอากาศ
ฝนและหิมะตกจากนั้นโจมตีทุกคนพร้อมด้วยปืนสั้น
"Second to the last of the prophet’s name,
Will take Diana’s day(The moon’s day) as his day of silent rest…
He will travel far and wide in his drive to infuriate,
delivering a great people from subjection."
ลำดับที่สองถึงสุดท้ายของชื่อผู้รู้เหตุการณ์ภายหน้า
จะใช้วันของเทพธิดาแห่งพระจันทร์
ขณะที่ช่วงเวลาของเขาเงียบสงบ
เขาจะเดินทางกว้างและไกล มุ่งไปในความโกรธของเขา
ปลดปล่อยประชาชนที่ดีจากการตกอยู่ใต้อำนาจ
"They see the truth with eye closed,
Speak the fact with closed mount…
Then at the time of need the awaited one will come late…"
พวกเขาเห็นข้อเท็จจริงด้วยการหลับตา
พูดความจริงร่วมกับนำออกแสดงเฉพาะกลุ่ม
หลังจากนั้น ณ เวลาแห่งความต้องการ การรอคอยสิ่งหนึ่งจะมาล่าช้า
"the great amount of silver of Diana (Moon) and Mercury (Hermes)
The images will be seen in the lake (the mind of meditation)
the sculptor looking for new clay,
He and his followers will be soaked in Gold."
ผลรวมธาตุเงินที่สำคัญของดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
มโนภาพจะอยูภายในจิตใจแห่งการทำสมาธิ
ช่างแกะสลักจะค้นหาดินแบบใหม่
แขและผู้ติดตามของเขาจะอยู่ในสีทอง
Martin Luther...Protestant Reformation
ระหว่างปี ค.ศ. 1305-1375 สถาบันสันตะปาปาตกอยู่ใต้อำนาจของสถาบัน พระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส ที่เรียกกันว่า “การคุมขังแห่งบาลิโลเนีย หรืออาวีญง”ซึ่งทำให้สถาบันฯเสื่อมอำนาจและความศักดิ์สิทธิ์ และเป็นชนนให้ผู้ใฝ่ในศาสนาดิ้นรนที่จะศึกษาถึงแก่นแท้ของคำสอน เกิดเป็นขบวนการ การศึกษาภาษาฮิบรูและกรีกโดยมีศูนย์ที่เมืองฟลอเรนซ์ และมีการค้นคว้าศ฿กษาวิจัยคัมภีร์ไบเบิลอย่างมากมายเพื่อให้ได้มาซึ่งสัจจะในคำสอน การได้ศึกษาพระคัมภีร์ด้วยตัวเองทำให้นักคิดชั้นนำสามารถวิจารณ์โจมตีสถาบันศาสนาอย่างเต็มที่ การพัฒนาเทคโนโลยีการพิมพ์แบบเรียงพิมพ์ที่เยอรมัน เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้ประชาชนสามารถศึกษาจากคำภีร์ด้วยตนเอง
ในศตวรรษที่ 14 มีการดึงอำนาจที่ในหมู่ขุนนางศักดินากลับคือสู่ราชบัลลังก์ โดยได้รับความช่วยเหลือที่มีพลังทางเศรษฐกิจและมีความรู้ความสามรถอันเป็นผลจากความสำเร็จของครอบครัวทางการค้า หรืออุตสาหกรรม กลายเป็นสังคมรัฐประชาชาติ มีการต่อต่อสู้ช่วงชิงอำนาจทางการเมืองภายในรัฐ ระหว่างรัฐในยุโรปกับสถาบันสันตะปาปา กลุ่มชนใหม่ หรือชนชั้นกลางซึ่งประกอบด้วยกลุ่มพ่อค้า นักธุรกิจ นายธนาคาร และผู้มีการศึกษา ร่วมกันสนับสนุนประมุขการเมืองของรัฐปราบปรามบรรดาขุนนางศักดินาภายในรัฐ และต่อต้านสถาบันสันตะปาปาจากภายนอก ทั้งนี้ในศตวรรษที่ 15-16 สันตะปาปาในความสำคัญในทางโลกและละเลยหน้าที่รับผิดชอลทางธรรม มีการขายใบไถ่บาป และการบูชาเรลิกของนักบุญอย่างงมงาย มีการซื้อขายตำแหน่งสมณศักิด์ มีการอุดหนุนบุคคลในครอบครัวในรับตำแหน่งสำคัญในศาสนา
เหตุการณ์ที่สำคัญอีกเหตุการณ์คือ ในสภาสังคายนาแห่งคอนสแตนซ์ เปิดเผยหลักฐานที่เชื่อถือได้ว่าเอกสาร “บรรณการของคอนสแตนติน”เป็นเอกสารปลอมที่สถาบันสันตะปาปาจัดทำขึ้นในศตวรรษที่ 8 ซึ่งมีผลให้อำนาจของคริสตจักยิ่งเสื่อมและสูญเสียความนิยม
ช่วงเวลาของการปฏิรูปศาสนากินเวลาประมาณหนึ่งร้อยสามสิบปี นับตั้งแต่การเรียกร้องของลูเธอร์เพื่อปฏิรูปศาสนา จนกระทั้งการต่อสู้ระหว่างนิกายโรมันคาทอลิก กับนิกายโปรเตสแตนต์และรัฐบาล ซึ่งสิ้นสุดโดยสนธิสัญญาเวสท์ฟาเลีย ในปี ค.ศ. 1648
ภายใต้อาณาจักรโรมัน สันตะปาปาและบรรดาผู้นำของโบสถ์โรมันคาทอลิกมีความรับผิดชอบสำคัญในการสร้างพ้อนฐานสำหรับพระผู้มาโปรด ด้วยเหตุนี้ พระเจ้าจึงทรงประทานตำแหน่งและอำนาจที่มีอิทธิพลอย่างใหญ่หลวงต่อสังคมและประทศชาติให้แก่เขาทั้งหลาย ในยุคกลาง การทุจริตและการเกี่ยวข้องในชีวิตของประชาชนมากเกินไปได้ขัดขวางการสร้างพื้นฐานสำหรับพระผู้มาโปรด การใช้อำนาจสงฆ์ในทางที่ผิดใรระบบศักินายุคกลางที่เข้มงวดกับการทุจริต และความเสือมศีลธรรมในหมู่สงฆ์ได้สร้างความอึดอัดให้กับความพยายามของมนุษย์เพื่อบรรลุถึงความปรารถนาต่าง ๆ ของธรรมชาติเริ่มแรกที่มนุษย์ได้รับมาในเวลาแห่งการสร้างสรรค์
การเคลื่อนไหวเพื่อล้มล้างสภาพสังคมในยุคกลางและระบบ ศาสนาที่เสื่อมทราม เกิดจากความปรารถนาของธรรมชาติเร่มแรกของมนุษย์ ดังนั้น มนุษย์จึงแสวงหาทั้งด้านซองซัง (ภายใน) และฮยองซัง(ภายนอก)ซึ่งตรงกับธรรมชาติเร่มแรกสองด้านของมนุษย์ ดังนั้น มนุษย์จึงแสวงหาความพึงพอใจให้กับความปรารถนาภายในเช่น ความปรารถนาเพื่อชีวิตแห่งศรัทธา เกียรยศ หน้าที่ ความเคร่งศาสนาและความสัมพันธ์กับพระเจ้าและแสวงหาความพึงพอใจให้กับความปรารถนาภายนอกเช่น ความปรารถนาที่จะพัฒนาความรู้(โดยวิทยาศาสตร์) อำนาจแห่งเหตุผลและสิทธิอันชอบธรรม
การเคลื่อนไหวเพื่อฟื้นฟูลัทธิความคิดกรีก เป็นการเคลื่อนไหวแบบคาอินเพื่อแสวงหากรรมแห่งความปรารถนาภายนอกของมนุษย์เกิดได้ขึ้นก่อน แล้วจึงเกิดการเคลื่อนไหวแบบอาแบลเพื่อแสวงหากรรมแห่งความปรารถนาภายในของมนุษย์ การเคลื่อนไหวเพื่อฟื้นฟูลัทธิความคิกรีกที่รู้จักกันในชื่อของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ยุคเรอเนซองส์ เป็นการเน้นความสนใจแบบนักมนุษยนิยมที่สนใจความงามของธรรมชาติเสรีภาพส่วนบุคคลและคุณค่าของชีวิตในโลก การปฏิรูปศาสนาเกิดขึ้นจากความปรารถนาภายในของมนุษย์เพื่อฟื้นฟูหนทางชีวิตที่มีศูนย์กลางที่พระเจ้าขึ้นหม่ และมุ่งเน้นความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า ซึ่งต่างจากการเน้นทางโลกหรือการเน้นทางมนุษยนิยมแบบลัทธิความคิดกรีก Heiienism เราเรียกการปฏิรูปศาสนานี้ว่าเป็น การฟื้นฟูลัทธิความคิดฮิบรู Hebraism
มาร์ติน ลูเทอร์ เป็นหนึ่งในผู้ปฏิรูปศาสนาคริสต์ โดยแยกมาเป็นนกกายโปรเตสแตนต์ เพราะไม่ เห็นด้วนกับคำสอนของคริสตจักรโรมันคาทอลิกบางข้อ โดยการปฏิรูปนี้เกิดขึ้นในยุคฟื้นฟูศิปลวิทยา เรียกว่า “การปฏิรูปศษสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์” นิกายที่ถือหลักเทววิทยาตามแนวคิดของลูเทอร์เรียกว่านิกาย “ลูเทอแรน”ซึ่งเป็นนิกายย่อยในนิกาย โปตเตสแตนต์
บิดามารดาลูเทอร์ ยากจนไม่มีเงินจะให้ลูเทอร์เข้าเรียน โชคดีของลูเธอร์มีหญิงมั่งคั่งเกิดความเมตตาและช่วยเหลือให้เข้าอยู่ในมหาวิทยาลัย
ลูเทอร์ศึกษาเทววิทยา วรรณดคี ดนตรี และเขาชื่นชอบ กฎหมายเป็นพิเศษ และพ่อของเขาก็ต้องการให้ลูเทอร์เป็นนักกฎหมายลูเทอร์กลายเป็นคนขี้ขลาด กลัวผีเมือเขาต้องมาอยู่ในเหตุการดวลกันและเพื่อนของเขาตาย จากนั้น ในวันฝนตก ได้เกิดฟ้าผ่า ใกล้ๆ เขาและเขาสาบานว่าหากรอดตายจะบวชเป็นบาทหลวง และด้วยดวงของเขาหรืออะไรก็แล้วแต่เขาเข้าไปยู่ในอารามคณะออกัสติเนียนในมหาวิทยาลัยวิตเทนบูร์ก ศึกษาไบเบิลอย่างเอาใจใส่ และในที่สุดก็ได้เป็ฯอาจารย์ในมหาวิทยาลัยนั้น
เมือเขามีโอกาสไปแสวงบุญที่กรุงโรม เขาได้เห็นชีวิตของสันตะปาปา และเห็นว่านักบวชไม่ควรดำเนินชีวิตหรูหรา โอ่โถงเช่นนี้ ในปี ค.ศ. 1515 สันตะปาปาเลโอที่ 20 ขายใบฎีกาไถ่บาป เพื่อจะนำเงินไปสร้างโบสถ์ โดยตั้งบัญญัติใหม่ว่า ถึงแม้จะทำความผิดเป็นอุกฉกรรจ์มหันตโทษเพียงไร ก็สามารถล้างบาปได้โดยซื้อใบฎีกาไถ่บาป
! ลูเทอร์เริ่มวิพากษ์วิจารณ์ และเรียกประชุมผู้รู้ทั้งหลายมาปรึกษา โต้เถียงกับบัญญัติใหม่ ในปี ค.ศ. 1517 ลูเทอร์นำประกาศที่เรียกว่ “ญัตติ 95 ข้อ” ปิดไว้ที่ประตูหน้าโบสถ์เมืองวิตเทนบูร์ก ซึ่งเนื่อหาเป็นการประณามการขายใบยกโทษบาปของสันตะปาปา แลการกระทำเหลวแหลกอื่น ๆ ปี 1520 ลูเทอร์ได้รับหมาย “การตัดขาดจากศาสนา” โดยที่ลูเทอร์ต้องออกจากเขตปกครองของจักรพรรดิ ไปหลบที่วอร์มส์พร้อมผู้ติดตามจำนวนหนึ่ง ที่นั่นลูเทอร์ได้แปลพันธสัญญาใหม่เป็นภาษาเยอรมัน และได้เขียนงานเกี่ยวกับพิธีกรรมต่าง ๆ ซึ่งมีทั้งพิธีมิสซา และศีลศักดิ์สิทธิ ซึ่งลูเทอร์ตั้งใจที่จะให้ชาบ้านซึ่งไม่เข้าใจภาษาละติน สามารถเข้าถึงหลักคำสอนและมีส่วนร่วมในพิธีกรรมต่าง ๆ ได้
Ein’feste burg ist unser Gott (A mighty fortressis) เป็นบทเพลงสวดสรรเสริญของนิกายโปรเตสแตนต์ที่มีชื่อเสียงของ มาติน ลูเทอร์ กล่าวกันว่าเป็นสัญลักษณ์สำคัญของการปฏิรูปศาสนา
นักประพันธ์เพลงหลายคนได้รับอิทธิพลจากบทเพลงสวดนี้และนำมาใช้ในผลงานประพันธ์ของตนกระทั่งในยุคปัจจุบัน
ผลของการปฏิรูปศาสนา
ทางการเมือง การปฏิรูปศาสนาได้ทำให้พวกที่ไม่ต้องการระเบียบแบบแผน และพวกที่มีความคิดเห็นรุนแรงทางศาสนาก่อการจลาจลวุ่นวายขึ้นเรียกว่า “กบฎชาวนา” ในปี ค.ศ. 1525 ที่โบฮีเมีย มีทั้งกลุ่มอัศวินต่อสู้กับเจ้านายของตน และพวกชาวนาที่ก่อการปฏิวัติต่อเจ้าของที่ดินโดยต่างยื่นข้อเสนอเรียกร้องสิทธิของตน และกำหนดกฎเกณฑ์ตามใจชอบ บ้างก็ขอเสรีภาพในการถือศาสนา ดังนั้นลูเทอร์จึงได้ลุกขึ้นมาสอนให้ประชาชนเคารพประมุข และกฎหมายของรัฐ และต่อต้านการจลาจล โดยถือว่าประมุขของรัฐมีอำนาจอันชอบธรรมในสายตาของศาสนา ที่จะดำเนินเด็ดขาดกับขบวนการเหล่านี้ เพราะนั้นคำสอนของลัทธิลูเทอร์ส่งเสริมอำนาจชนชั้นปกครอง
ทางศาสนา
เกิดการปฏิรูปศาสนาทั่งยุโรปโดยแบ่งออกเป็น
- แยกนิกายเป็น โปรเตสแตนต์และโรมันคาทอลิก
- การปฏิรูปภายในนิกายโรมันคาทอลิกเอง เช่น เกิดคณะเยสุอิด ที่เน้นการศึกษาวิทยาการใหม่เพื่อปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม สภาสังคายนาแห่งเทรนต์ ซึ่งต้องการแก้ไขข้อติเตียนของขบวนการปฏิรูปศาสนาโปรเตสแตนต์ ทั้งหมด แต่ยังเชื่อว่าสทิธิอำนาจมาจากพระคัมภีร์และขนบธรรมเนียมต่าง ๆ ที่คริสตจักรได้รับสืบทอดมาจากเปโตรและยอมรับอำนาจของสันตะปาปาว่าบังมีอยู่ ผลการปฏิรูปนิกายโรมันคาทอลิก ทำให้สามรถป้องกันการขยายตัวของความนิยมในนิกายโปรเตสแตนส์แย่งมีประสิทธิภาพ แม้ว่าสันตะปาปาต้องเสียอำนาจในยุดรปไปมาก แต่ก็ยังสามารถรักษาอิทธิพลทางจิตใจเหนือประชากร จำนวนมากของโลกตะวันตกไว้ได้ และสามรถฟื้นฟูความศักดิ์สิทธิของโรมได้จนถึงปัจจุบัน
ในศตวรรษที่ 14 มีการดึงอำนาจที่ในหมู่ขุนนางศักดินากลับคือสู่ราชบัลลังก์ โดยได้รับความช่วยเหลือที่มีพลังทางเศรษฐกิจและมีความรู้ความสามรถอันเป็นผลจากความสำเร็จของครอบครัวทางการค้า หรืออุตสาหกรรม กลายเป็นสังคมรัฐประชาชาติ มีการต่อต่อสู้ช่วงชิงอำนาจทางการเมืองภายในรัฐ ระหว่างรัฐในยุโรปกับสถาบันสันตะปาปา กลุ่มชนใหม่ หรือชนชั้นกลางซึ่งประกอบด้วยกลุ่มพ่อค้า นักธุรกิจ นายธนาคาร และผู้มีการศึกษา ร่วมกันสนับสนุนประมุขการเมืองของรัฐปราบปรามบรรดาขุนนางศักดินาภายในรัฐ และต่อต้านสถาบันสันตะปาปาจากภายนอก ทั้งนี้ในศตวรรษที่ 15-16 สันตะปาปาในความสำคัญในทางโลกและละเลยหน้าที่รับผิดชอลทางธรรม มีการขายใบไถ่บาป และการบูชาเรลิกของนักบุญอย่างงมงาย มีการซื้อขายตำแหน่งสมณศักิด์ มีการอุดหนุนบุคคลในครอบครัวในรับตำแหน่งสำคัญในศาสนา
เหตุการณ์ที่สำคัญอีกเหตุการณ์คือ ในสภาสังคายนาแห่งคอนสแตนซ์ เปิดเผยหลักฐานที่เชื่อถือได้ว่าเอกสาร “บรรณการของคอนสแตนติน”เป็นเอกสารปลอมที่สถาบันสันตะปาปาจัดทำขึ้นในศตวรรษที่ 8 ซึ่งมีผลให้อำนาจของคริสตจักยิ่งเสื่อมและสูญเสียความนิยม
ช่วงเวลาของการปฏิรูปศาสนากินเวลาประมาณหนึ่งร้อยสามสิบปี นับตั้งแต่การเรียกร้องของลูเธอร์เพื่อปฏิรูปศาสนา จนกระทั้งการต่อสู้ระหว่างนิกายโรมันคาทอลิก กับนิกายโปรเตสแตนต์และรัฐบาล ซึ่งสิ้นสุดโดยสนธิสัญญาเวสท์ฟาเลีย ในปี ค.ศ. 1648
ภายใต้อาณาจักรโรมัน สันตะปาปาและบรรดาผู้นำของโบสถ์โรมันคาทอลิกมีความรับผิดชอบสำคัญในการสร้างพ้อนฐานสำหรับพระผู้มาโปรด ด้วยเหตุนี้ พระเจ้าจึงทรงประทานตำแหน่งและอำนาจที่มีอิทธิพลอย่างใหญ่หลวงต่อสังคมและประทศชาติให้แก่เขาทั้งหลาย ในยุคกลาง การทุจริตและการเกี่ยวข้องในชีวิตของประชาชนมากเกินไปได้ขัดขวางการสร้างพื้นฐานสำหรับพระผู้มาโปรด การใช้อำนาจสงฆ์ในทางที่ผิดใรระบบศักินายุคกลางที่เข้มงวดกับการทุจริต และความเสือมศีลธรรมในหมู่สงฆ์ได้สร้างความอึดอัดให้กับความพยายามของมนุษย์เพื่อบรรลุถึงความปรารถนาต่าง ๆ ของธรรมชาติเริ่มแรกที่มนุษย์ได้รับมาในเวลาแห่งการสร้างสรรค์
การเคลื่อนไหวเพื่อล้มล้างสภาพสังคมในยุคกลางและระบบ ศาสนาที่เสื่อมทราม เกิดจากความปรารถนาของธรรมชาติเร่มแรกของมนุษย์ ดังนั้น มนุษย์จึงแสวงหาทั้งด้านซองซัง (ภายใน) และฮยองซัง(ภายนอก)ซึ่งตรงกับธรรมชาติเร่มแรกสองด้านของมนุษย์ ดังนั้น มนุษย์จึงแสวงหาความพึงพอใจให้กับความปรารถนาภายในเช่น ความปรารถนาเพื่อชีวิตแห่งศรัทธา เกียรยศ หน้าที่ ความเคร่งศาสนาและความสัมพันธ์กับพระเจ้าและแสวงหาความพึงพอใจให้กับความปรารถนาภายนอกเช่น ความปรารถนาที่จะพัฒนาความรู้(โดยวิทยาศาสตร์) อำนาจแห่งเหตุผลและสิทธิอันชอบธรรม
การเคลื่อนไหวเพื่อฟื้นฟูลัทธิความคิดกรีก เป็นการเคลื่อนไหวแบบคาอินเพื่อแสวงหากรรมแห่งความปรารถนาภายนอกของมนุษย์เกิดได้ขึ้นก่อน แล้วจึงเกิดการเคลื่อนไหวแบบอาแบลเพื่อแสวงหากรรมแห่งความปรารถนาภายในของมนุษย์ การเคลื่อนไหวเพื่อฟื้นฟูลัทธิความคิกรีกที่รู้จักกันในชื่อของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ยุคเรอเนซองส์ เป็นการเน้นความสนใจแบบนักมนุษยนิยมที่สนใจความงามของธรรมชาติเสรีภาพส่วนบุคคลและคุณค่าของชีวิตในโลก การปฏิรูปศาสนาเกิดขึ้นจากความปรารถนาภายในของมนุษย์เพื่อฟื้นฟูหนทางชีวิตที่มีศูนย์กลางที่พระเจ้าขึ้นหม่ และมุ่งเน้นความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า ซึ่งต่างจากการเน้นทางโลกหรือการเน้นทางมนุษยนิยมแบบลัทธิความคิดกรีก Heiienism เราเรียกการปฏิรูปศาสนานี้ว่าเป็น การฟื้นฟูลัทธิความคิดฮิบรู Hebraism
มาร์ติน ลูเทอร์ เป็นหนึ่งในผู้ปฏิรูปศาสนาคริสต์ โดยแยกมาเป็นนกกายโปรเตสแตนต์ เพราะไม่ เห็นด้วนกับคำสอนของคริสตจักรโรมันคาทอลิกบางข้อ โดยการปฏิรูปนี้เกิดขึ้นในยุคฟื้นฟูศิปลวิทยา เรียกว่า “การปฏิรูปศษสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์” นิกายที่ถือหลักเทววิทยาตามแนวคิดของลูเทอร์เรียกว่านิกาย “ลูเทอแรน”ซึ่งเป็นนิกายย่อยในนิกาย โปตเตสแตนต์
บิดามารดาลูเทอร์ ยากจนไม่มีเงินจะให้ลูเทอร์เข้าเรียน โชคดีของลูเธอร์มีหญิงมั่งคั่งเกิดความเมตตาและช่วยเหลือให้เข้าอยู่ในมหาวิทยาลัย
ลูเทอร์ศึกษาเทววิทยา วรรณดคี ดนตรี และเขาชื่นชอบ กฎหมายเป็นพิเศษ และพ่อของเขาก็ต้องการให้ลูเทอร์เป็นนักกฎหมายลูเทอร์กลายเป็นคนขี้ขลาด กลัวผีเมือเขาต้องมาอยู่ในเหตุการดวลกันและเพื่อนของเขาตาย จากนั้น ในวันฝนตก ได้เกิดฟ้าผ่า ใกล้ๆ เขาและเขาสาบานว่าหากรอดตายจะบวชเป็นบาทหลวง และด้วยดวงของเขาหรืออะไรก็แล้วแต่เขาเข้าไปยู่ในอารามคณะออกัสติเนียนในมหาวิทยาลัยวิตเทนบูร์ก ศึกษาไบเบิลอย่างเอาใจใส่ และในที่สุดก็ได้เป็ฯอาจารย์ในมหาวิทยาลัยนั้น
เมือเขามีโอกาสไปแสวงบุญที่กรุงโรม เขาได้เห็นชีวิตของสันตะปาปา และเห็นว่านักบวชไม่ควรดำเนินชีวิตหรูหรา โอ่โถงเช่นนี้ ในปี ค.ศ. 1515 สันตะปาปาเลโอที่ 20 ขายใบฎีกาไถ่บาป เพื่อจะนำเงินไปสร้างโบสถ์ โดยตั้งบัญญัติใหม่ว่า ถึงแม้จะทำความผิดเป็นอุกฉกรรจ์มหันตโทษเพียงไร ก็สามารถล้างบาปได้โดยซื้อใบฎีกาไถ่บาป
! ลูเทอร์เริ่มวิพากษ์วิจารณ์ และเรียกประชุมผู้รู้ทั้งหลายมาปรึกษา โต้เถียงกับบัญญัติใหม่ ในปี ค.ศ. 1517 ลูเทอร์นำประกาศที่เรียกว่ “ญัตติ 95 ข้อ” ปิดไว้ที่ประตูหน้าโบสถ์เมืองวิตเทนบูร์ก ซึ่งเนื่อหาเป็นการประณามการขายใบยกโทษบาปของสันตะปาปา แลการกระทำเหลวแหลกอื่น ๆ ปี 1520 ลูเทอร์ได้รับหมาย “การตัดขาดจากศาสนา” โดยที่ลูเทอร์ต้องออกจากเขตปกครองของจักรพรรดิ ไปหลบที่วอร์มส์พร้อมผู้ติดตามจำนวนหนึ่ง ที่นั่นลูเทอร์ได้แปลพันธสัญญาใหม่เป็นภาษาเยอรมัน และได้เขียนงานเกี่ยวกับพิธีกรรมต่าง ๆ ซึ่งมีทั้งพิธีมิสซา และศีลศักดิ์สิทธิ ซึ่งลูเทอร์ตั้งใจที่จะให้ชาบ้านซึ่งไม่เข้าใจภาษาละติน สามารถเข้าถึงหลักคำสอนและมีส่วนร่วมในพิธีกรรมต่าง ๆ ได้
Ein’feste burg ist unser Gott (A mighty fortressis) เป็นบทเพลงสวดสรรเสริญของนิกายโปรเตสแตนต์ที่มีชื่อเสียงของ มาติน ลูเทอร์ กล่าวกันว่าเป็นสัญลักษณ์สำคัญของการปฏิรูปศาสนา
นักประพันธ์เพลงหลายคนได้รับอิทธิพลจากบทเพลงสวดนี้และนำมาใช้ในผลงานประพันธ์ของตนกระทั่งในยุคปัจจุบัน
ผลของการปฏิรูปศาสนา
ทางการเมือง การปฏิรูปศาสนาได้ทำให้พวกที่ไม่ต้องการระเบียบแบบแผน และพวกที่มีความคิดเห็นรุนแรงทางศาสนาก่อการจลาจลวุ่นวายขึ้นเรียกว่า “กบฎชาวนา” ในปี ค.ศ. 1525 ที่โบฮีเมีย มีทั้งกลุ่มอัศวินต่อสู้กับเจ้านายของตน และพวกชาวนาที่ก่อการปฏิวัติต่อเจ้าของที่ดินโดยต่างยื่นข้อเสนอเรียกร้องสิทธิของตน และกำหนดกฎเกณฑ์ตามใจชอบ บ้างก็ขอเสรีภาพในการถือศาสนา ดังนั้นลูเทอร์จึงได้ลุกขึ้นมาสอนให้ประชาชนเคารพประมุข และกฎหมายของรัฐ และต่อต้านการจลาจล โดยถือว่าประมุขของรัฐมีอำนาจอันชอบธรรมในสายตาของศาสนา ที่จะดำเนินเด็ดขาดกับขบวนการเหล่านี้ เพราะนั้นคำสอนของลัทธิลูเทอร์ส่งเสริมอำนาจชนชั้นปกครอง
ทางศาสนา
เกิดการปฏิรูปศาสนาทั่งยุโรปโดยแบ่งออกเป็น
- แยกนิกายเป็น โปรเตสแตนต์และโรมันคาทอลิก
- การปฏิรูปภายในนิกายโรมันคาทอลิกเอง เช่น เกิดคณะเยสุอิด ที่เน้นการศึกษาวิทยาการใหม่เพื่อปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม สภาสังคายนาแห่งเทรนต์ ซึ่งต้องการแก้ไขข้อติเตียนของขบวนการปฏิรูปศาสนาโปรเตสแตนต์ ทั้งหมด แต่ยังเชื่อว่าสทิธิอำนาจมาจากพระคัมภีร์และขนบธรรมเนียมต่าง ๆ ที่คริสตจักรได้รับสืบทอดมาจากเปโตรและยอมรับอำนาจของสันตะปาปาว่าบังมีอยู่ ผลการปฏิรูปนิกายโรมันคาทอลิก ทำให้สามรถป้องกันการขยายตัวของความนิยมในนิกายโปรเตสแตนส์แย่งมีประสิทธิภาพ แม้ว่าสันตะปาปาต้องเสียอำนาจในยุดรปไปมาก แต่ก็ยังสามารถรักษาอิทธิพลทางจิตใจเหนือประชากร จำนวนมากของโลกตะวันตกไว้ได้ และสามรถฟื้นฟูความศักดิ์สิทธิของโรมได้จนถึงปัจจุบัน
วันศุกร์ที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Age of Discovery...Christopher Columbus
ในยุคแห่งการสำรวจ หรือยุคแห่งการค้นพบ เป็นช่วงระยะเวลาในประวัติศาสตร์ที่โลกที่เริ่มตั้งแต่คริสต์ศตวรรษ? 15-17 ซึ่งเป็นช่วงที่ยุโรปออกเดินทางไปสำรวจทางทะเลในโลกที่กว้างออกไปจากตัวทวีปยุโรปเองโดยมีจุดประสงค์เพื่อหาคู่ค้าขายใหม่ โดยเฉพาะเพื่อการแสวงหาสินค้าเพื่อสนองความต้องการของตลาดตามต้องการ สินค้าที่เป็นที่ต้องการกันมากในยุโรปในขณะนั้นคือ ทอง เงิน และเครื่องเทศ
ยุคแห่งการสำรวจประจวบเหมาะกับช่วงที่ชาวยุโรปตะวันตกเริ่มใช้เข็มทิศในการกำหนดและระบุเส้นาง การใช้วิธีการเดินเรือเดินทะเลแบบใหม่ไปยังเอเซียโดยเลี่ยงอุปสรรค ถ้าการใช้ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่อยู่ภายใต้การควบคุมของมหาอำนาจที่เป็นปฏิปักษ์ สิ่งที่สำคัญที่สุดที่วิวัฒนาการขึ้นสำหรับการเดินทาง ทางทะเลคือเรือชนิดใหม่สองแบบที่ออกแบบโดย โปรตุเกศ คือ เรื่อคาร์แร็ค และเรือคาวาเวล ที่วิวัฒนาการมาจากการออกแบบเรือในยุคกลางที่ใช้ในการเดินเรือในทะเลเหนือและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เรือสองชนิดนี้เป็นเรือสองชนิดแรกที่ให้ควมปลอดภัยพอที่จะฝ่าคลื่นฝ่าลมในมหาสมุทรแอตแลนติก ได้เมือเทียบกับเรือรุ่นก่อนหน้านั้นที่ใช้กันเฉพาะในบริเวณที่คลื่นลมไม่รุนแรงเทียบเท่ากับการเดินทางกลางมหาสมุทร
การสำรวจทางบก
ก่อนหน้ายุคสำรวจมีชาวยุโรปเดินทางไปเอเชียหลายครั้งในสมัยยุคกลางตอนปลาย ผู้เดินทางเกือบทั้งหมดในครั้งแรกเป็นชาวอิตาลี เพราะการค้าระหว่างยุโรปกับตะวันออกกลางแทบทั้งหมดตกอยู่ในมือของพ่อค้าจากนครรัฐต่าง ๆ ในอิตาลี การสำรวจนอกจากความต้องการทางการค้ายังมีเหตุผลอื่นอีกเช่น ผุ้นำคริสเตียน อาทิ เจ้าชายเฮนรีนักเดินเรือ นำคณะสำรวจเพื่อเผยแพร่ศาสนาคริสต์
นักเดินทาง ที่รู้จักกันเป็นอย่างดีคือ มาโคโปโล ผู้บันทึกการเดินทางของการสำรวจไปทั่งเอเชียตั้งแต่ปีค.ศ. 1271-1295 ในสมัยราชวงศ์หยวน จักรพรรดิ์ กุบไล ข่าน การเอนทางของมาร์โค โปโลบันทึกในหนังสือชื่อ “บันทึกการเดินทาง” ซึ่งเป็นหนังสือที่แพร่หลายและอ่านกันไปทั่วยุโรปในปี ค.ศ. 1439 นิคโคโล เด คอนติ พิมพ์บันทึกการเดินทางไปอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ระหว่างปี 1466-1472 พ่อค้าชาวรัสเซีย อฟานาซิ นิคิติน ก็เดินทางไปอินเดียและเขียนบรรยายในหนังสือ “การเดินทางเลยไปจากสามทะเล” หลังจากการล่มสลายอย่างรวดเร็วของอาณาจักรมองโกลทำให้เส้นทางทางบกค่อยๆ ถูกปิดไป การเดินทางเป็นไปอย่างลำบากและอันตรายจึงไม่มีผู้ติดต่อค้าขายกันโดยใช้เส้นทางสายไหมดังแต่ก่อน
โปตุเกส การเดินทางเพื่อการสำรวจหาเส้นทางค้าขายทางทะเลใหม่ไปยังเอเชีย มิได้เริ่มโดยชายยุโรปอยางจริงจังมาจนกระทั่งเมื่อมีการวิวัฒนาการเรือคาร์แร็ค และต่อมา เรื่อคาวาเวลขึ้น เหตุที่กระตุ้นการริเริ่มการสำตวจเกิดขึ้นหลังจากการยึดคอนสแตนติโนเปิล โดยชาวเตอร์ก จากนั้นจักรวรรดิออตโตมานก็มีอำนาจควบคุมการค้าขายในบริเวณนั้น และกีอกันชาวยุโรปจากการใช้ “เส้นทางสายไหม” และเส้นทางการค้าผ่านทางแอฟริกาเหนือ ที่มีความสำคัญสำหรับยุโรปในการเป็นเส้นทางการค้าผสมระหวางทางบกและทางทะเลผ่านทางทะเลแดงไปยังเอเชีย ทั้งเครื่องเทศและไหมเป็นธุรกิจใหญ่ในยุคนั้นและรวมทั้งเครื่องเทศที่ใช้ประโยชน์ทั้งในการถนอมอทหารและปรุงรสซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นอย่างน้อยก็สำหรับผู้มีฐานะดีหรือผู้มีอันจะกิน
การสำรวจในระยะแรกนำโดยโปรตุเกศภายใต้การนำของเจ้าชายเฮนรี่นักเดินเรือ การเดินเรือของชาวยุโรปก่อนหน้านั้นจะเป็นการเดินทางเลียบฝั่งทะเลที่มองเห็นฝั่งทะเล การเดินเรือของเจ้าชายเฮนรี่เป็นการท้าทายความเชื่อต่าง ๆ และทรงพบหมู่เกาะมาเดราในมหาสมุทรแอตแลนติก และยึดดินแดนทั้งสองที่พบเป็นอาณานิคม จุดมุ่งหมายของการเดินเรือของเจ้าชายเฮนรี่ก็เพ่อสำรวจฝั่งทะเลทางด้านตะวันตกของแอฟริกาและเขียนแผนที่เดินเรือ “พอร์โทลาน”และเหตุผลทางการค้า ทางศษสนา
ทางการค้าขาย เป็นเวลาหลายศตวรรษที่เส้นทางการค้าที่เชื่อมแอฟริกาตะวันตกกับทะเลิมดิเตอร์เรเนีนเป็นเส้นทางที่ต้องเดินผ่านทางด้านตะวันตกของทะเลทราย “ซาฮารา” เส้นทางนี้เป็นเส้นทางการค้าขาย “ทาสและทอง”ที่ควบคุมโดยรัฐอิสลามในแอฟริกาเหนือ ซึ่งเป็นศัตรูสำคัญของทั้งโปรตุเกสและสเปน กษัตริย์โปรตุเกสจึงทรงหาทางเลี่ยงการค้าขายที่ต้องฝ่านรัฐอิสลามโดยการค้าโดยตรงกับแอฟริกาตะวันตกทางทะเล และรัฐเหล่านี้อาจจะกลายมาเป็นรัฐคริสเตียนซึ่งทำให้เป็นพัมธมิตรในการต่อต้านรัฐอิสลามในกาเกร็บ ในปี ค.ศ. 1434 นักสำรวจชาวโปรตุเกส กิล เออเนส สามารถพิชิอุปสรรคของแหลมโบฮาดอร์ได้ ยังผลให้พระสันตะปาปานิโคลัสที่ 5 ทรงออกพระบัญญัติ “โรมานัสพอนทิเฟ็กซ์” ที่ระบุว่าประเทศใดที่พบที่ไกลไปจากแหลมโบฮาดอร์เป็นของโปรตุเกส
ภายในยี่สิบปีการสำรวจของโปรตุเกสก็ทำให้สามารถทำการค้าขายทาสและทองได้โดยตรงกับคู่ค้าที่ปัจจุบันคือ เซเนกัล และสร้างป้อมการค้าที่ เอลมิน แหลมแวร์เด กลายเป็นอาณานิคมผู้ผลิตน้ำตาลเป็นแห่งแรก ในปี ค.ศ. 1482 การสำรวจภายในการนำของ ดิเอโก้ โคด ก็ทำให้เกิดการติดต่อกับราชอาณาจักรคองโก และจุดเปลี่ยนแปลงเหตุการณ์เกิดเมือ บาร์โตโลมิว ดิอัซ เดินทางรอบแหลมกูดโฮพ และพบว่าเป็นทางที่ใช้เดินทางติดต่อกับมหาสมุทรอินเดียได้จากด้านมหาสมุทรแอตแลนติก การสำตัวจทางบกของ เปโร เด โควิชา ทำให้ได้ขอ้มูลสำคัญต่าง ๆ เกี่ยวกับทะเลแดงและฝั่งทะเลเควเนีย ในปี ค.ศ. 1498 สาสโก ดา กามา เดินทางไปถึงอินเดีย
ในขณะเดียวกันดิโอโก ซิลเวสก็พบซานตามาเรีย และพบเกาะอื่นในหมู่เกาะอาโซเรซ เกาะเทอร์เซรา ซึ่งกลายมาเป็นฐานทางการเดินเรือสำหรับการสำรวจใน เทอรราโนวา และนิวฟันด์แลนด์ โดยพี่น้อง คาร์เท รีอาล
คริสโตเฟอร์ โครลัมบัส
ค.ศ.1451-1506 เป็นนักสำรวจ นักเดินเรือและพ่อค้า เชื่อกันว่าเป็นชาวสาธารณรัฐเจนัว ภายใต้ การสนับสนุนของราชสำนักสเปน เขาเดินเรือข้ามมหาสมุทรแดอแลนติกและทำให้ชาวยุโรปรู้จักทวีปอเมรากาในซีกโลกตะวันตกเป็นผลสำเร็จการเดินทางทั้งสี่ครั้งและความพยายามที่จะตั้งถิ่นฐานบนเกาะฮิสปันโยลาของโคบัมบัสยังเป็นจุดเริ่มต้นของการล่าอาณานิคมของอาณาจักรต่างๆ ในทวีปยุโรปด้วย ในช่วงที่ลัทธิจักวรรดินิยมและการแข่งขันทางเศรษฐกิจระหว่างอาณาจักรต่าง ๆ ผ่านทางการควบคุมเส้นทางการค้าและการล่าอาณานิคม กำลังเริ่มขั้นนั้นโคลัมบัสได้วางแผนการเดินทางไปยังอินเดียตะวันออกโดยเดินเรือมุ่งไปทางตะวันตก เข้าเชื่อว่าโลกมีรูปร่างเป็นทรงกลม ซึ่งเป็นความเชื่อที่ขัดแย้งกับความเชื่อในยุคนั้นที่เชื่อว่าโลกนั้นมีรูปทรงแบนแต่ปัฯหา คือ ความเป็นไปได้ของการเดินทางรอบโลกเนื่องมาจากอุปสรรคเรื่องของอาหารและข้อจำกัดทางเทคโนโลยีการเดินเรือในสมัยนั้น โคลัมบัสนำโครงการเดินเรืองดังกล่าวไปเสนอต่อราชสำนักโปรตุเกสเพื่อขอทุนทรัพย์ในการแต่งกองเรือออกไปค้นหาดินแดนใหม่ ๆ แต่ถูกปฏิเสธ เขาจึงไปขอรับการอุปถัมภ์จากพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 5 และสมเด็จพระราชินีนาถอิซาเบบาที่ 1 แห่งอาณาจักรคาสตีล และได้รับการอนุมัติให้ออกเอนทางเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1492 แต่แทนที่โคลัมบัสจะไปถึงหมู่เกาะญี่ปุ่นอย่างที่ตั้งใจไว้ เขาหลับไปพบหมู่เกาะบาฮามาสและขึ้นฝั่งบนเกาะแห่งหนึ่งที่เขาตั้งชื่อว่า “ซานซัสบาดอร์” และค้นพบหมู่เกาะเกรดเตอร์แอนทิลลิส เลสเซอร์แอนทิลลิส รวมทั้งชายฝั่งทะเลแคริบเบียนของเวเนซูเอลและอเมริกากลาง และประกาศให้ดินแดนเหล่านั้นเป็นกรรมสิทธ์ของจักวรรดิสเปนแม้ว่าโคลัมบัสไม่ได้เป็นบุคคลแรกที่เดินทางมาถึงทวีปอเมริก (เนื่องจากเลฟ เอริสัน และกองเรือชาวนอร์สได้มาถึงทวีปนี้ก่อนแล้ว) แต่การเดินทางของโคลัมบัสก็ทำให้เกิดการติดต่ออย่างถาวรและต่อเนื่องระหว่างโลกใหม่ (ฝั่งตะวันตกของมหาสมุทรแอตแลนติก) กับโลกเก่า (ฝั่งตะวันออกของมหาสมุทรแอตแลนติก) นำไปสู่ช่วงเวลาของการสำรวจและการล่าอาณานิคมในดินแดนภายนอกทวีปยุโรปที่ดำเนินฝ่านเวลาหลายศตวรรษและส่งผลอย่างใหญ่หลวง โคลัมบัสเรียกชนพื้นเมืองบนดินแดนที่เขาไปเยือนว่า “อินดีโอส” โดยไม่ทราบว่าเขาได้ค้นพบทวีปที่ชาวยุโรปไม่เคยรู้จักมาก่อนแล้วโดยบังเอิญ ไม่กี่ปีต่อมาความขัดแย้งระหว่างโคลัมบัสกับราชบัลลังก์สเปนและผู้ปกครองอาณานิคมคนอื่นทำให้เขาถูกปลดออกจากตำแหน่งผู้บริหารอาณานิคมบนเกาะฮิสปันโยลาในปี 1500 และถูกส่งตัวกลับมายังสเปน ทายาทของเขาใช้เวลาฟ้องร้องราชวัลลังก์สเปนอยู่เป็นเวลาหลายสิบปีหลังจากเขาเสียชีวิตกว่าจะได้รับส่วนแบ่งจากผลประโยชน์ในดินแดนต่าง ๆ ที่เขาเคยไปสำรวจมา
การขยายตัวของยุโรปเหนือเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของอำนาจของโปรตุเกสในแอฟริกาและในบริเวณมหาสมุทรอินเดีย ดัตช์,ฝรั่งเศสและอังกฤษส่งเรือผ่านไปในดินแดนที่เป็ฯของโปรตุเกส แต่โปรตุเกสก็ไม่มีหนทางใดที่จะหยุดยั้งได้เพราะขาดกำลังคนและทุนทรัพย์ และประเทเลห่านี้ก็ยังก่อตั้งสถานีค้าขายของตนเองขึ้นมาด้วย ส่วนแบ่งทางการตลาด ของโปรตุเกสและสเปนก็เริ่มลดลง นอกจากนั้นแล้วยุโรปเหนือก็ขยายการสำรวจไปยังบริเวฯที่ยังไม่ได้รับการสำรวจในมหาสมุทรแปซิฟิกและฝั่งทะเลทางตะวันตกของทวีปอเมริกาเหนือ
ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฝั่งตะวันตกและฝั่งเหนือของออสเตรเลียได้รับการเขียนเป็นแผนที่ แต่ฝั่งตะวันออกยังคงต้องรอต่อมาอีกร้อยปี นักสำรวจเข้าไปถึงใจกลางของทวีปอเมริกในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 และก็ยังคงมีอาณาบริเวฯที่ยังไม่ได้รับการสำรวจจกระทั้ง คริสต์ศตวรรษที่ 18-19 เพราะบริเวณนี้ไม่มีแน้วโน้มที่ประดยชน์ต่อการค้าขายนอกจากนั้นก็ยังเป็นบริเวฯที่เต็มำปด้วยโรคร้ายของเมืองร้อนต่างๆ
เมื่อสินค้าต่าง ๆ ทีเคยเป็นสินค้าฟุ่มเฟือยมาจากากรสำรวจเป็ฯที่แพร่หลายมากขึ้นก็ทำให้ราคาสินค้าเหล่านี้เริ่มคงตัวการค้าขายทางมหาสมุทรแอตแลนติกมาแทรที่อำนาจการค้าขายของอิตาลีและเยอรมนีที่เคยใช้ทะเลบอลติกในหารเดินทางขนส่งสินค้ากับรัสเซีย และมาแทนการค้าขายผ่านชาติอิสลาม นอกจากนั้นสินค้าใกม่ก็ยังสร้างความเปลี่ยนแปลงให้แก่โครงสร้างทางสังคม เมือน้ำตาล,เครื่องเทศ,ไหม,และเครื่องถ้วยชามของจีนเข้ามาในตลาดสินค้าฟุ่มเฟือยของยุโรป ความมั่งคั่งที่สเปนประสบและภาวะเงินเฟ้อทั้งภายในสเปนและยุโรปทั่วไป ภายในไม่กี่สิบปีการทำเหมืองในทวีปอเมริกาก็มีผลผลิตมากกว่าการทำเหมองในยุโรปเอง สเปนยิ่งต้องพึ่งรายได้จากากรค้าจากทวีปอเมริกาเพิ่มขึ้นจนในที่สุดก็นำไปสู่การล้มละลายของสเปนในครั้งแรกเมือปี 1557 ที่เป็นผลมาจากค่าใช้จ่ายทางการทหารที่มากเกินตัว การทวีตัวของราคาเป็นผลให้มีการหมุนเวียนทางการเงินในยุโรปมากขึ้นและทำให้เกิดการขยายตัวทางการค้าในบรรดาชนชั้นกลางในยุโรปที่มามีอิทธิพลต่อสภานะทั้งทางการเมืองและวัฒนธรรมในหลายประเทศในยุโรปโดยทั่วไป
ยุคแห่งการสำรวจประจวบเหมาะกับช่วงที่ชาวยุโรปตะวันตกเริ่มใช้เข็มทิศในการกำหนดและระบุเส้นาง การใช้วิธีการเดินเรือเดินทะเลแบบใหม่ไปยังเอเซียโดยเลี่ยงอุปสรรค ถ้าการใช้ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่อยู่ภายใต้การควบคุมของมหาอำนาจที่เป็นปฏิปักษ์ สิ่งที่สำคัญที่สุดที่วิวัฒนาการขึ้นสำหรับการเดินทาง ทางทะเลคือเรือชนิดใหม่สองแบบที่ออกแบบโดย โปรตุเกศ คือ เรื่อคาร์แร็ค และเรือคาวาเวล ที่วิวัฒนาการมาจากการออกแบบเรือในยุคกลางที่ใช้ในการเดินเรือในทะเลเหนือและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เรือสองชนิดนี้เป็นเรือสองชนิดแรกที่ให้ควมปลอดภัยพอที่จะฝ่าคลื่นฝ่าลมในมหาสมุทรแอตแลนติก ได้เมือเทียบกับเรือรุ่นก่อนหน้านั้นที่ใช้กันเฉพาะในบริเวณที่คลื่นลมไม่รุนแรงเทียบเท่ากับการเดินทางกลางมหาสมุทร
การสำรวจทางบก
ก่อนหน้ายุคสำรวจมีชาวยุโรปเดินทางไปเอเชียหลายครั้งในสมัยยุคกลางตอนปลาย ผู้เดินทางเกือบทั้งหมดในครั้งแรกเป็นชาวอิตาลี เพราะการค้าระหว่างยุโรปกับตะวันออกกลางแทบทั้งหมดตกอยู่ในมือของพ่อค้าจากนครรัฐต่าง ๆ ในอิตาลี การสำรวจนอกจากความต้องการทางการค้ายังมีเหตุผลอื่นอีกเช่น ผุ้นำคริสเตียน อาทิ เจ้าชายเฮนรีนักเดินเรือ นำคณะสำรวจเพื่อเผยแพร่ศาสนาคริสต์
นักเดินทาง ที่รู้จักกันเป็นอย่างดีคือ มาโคโปโล ผู้บันทึกการเดินทางของการสำรวจไปทั่งเอเชียตั้งแต่ปีค.ศ. 1271-1295 ในสมัยราชวงศ์หยวน จักรพรรดิ์ กุบไล ข่าน การเอนทางของมาร์โค โปโลบันทึกในหนังสือชื่อ “บันทึกการเดินทาง” ซึ่งเป็นหนังสือที่แพร่หลายและอ่านกันไปทั่วยุโรปในปี ค.ศ. 1439 นิคโคโล เด คอนติ พิมพ์บันทึกการเดินทางไปอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ระหว่างปี 1466-1472 พ่อค้าชาวรัสเซีย อฟานาซิ นิคิติน ก็เดินทางไปอินเดียและเขียนบรรยายในหนังสือ “การเดินทางเลยไปจากสามทะเล” หลังจากการล่มสลายอย่างรวดเร็วของอาณาจักรมองโกลทำให้เส้นทางทางบกค่อยๆ ถูกปิดไป การเดินทางเป็นไปอย่างลำบากและอันตรายจึงไม่มีผู้ติดต่อค้าขายกันโดยใช้เส้นทางสายไหมดังแต่ก่อน
โปตุเกส การเดินทางเพื่อการสำรวจหาเส้นทางค้าขายทางทะเลใหม่ไปยังเอเชีย มิได้เริ่มโดยชายยุโรปอยางจริงจังมาจนกระทั่งเมื่อมีการวิวัฒนาการเรือคาร์แร็ค และต่อมา เรื่อคาวาเวลขึ้น เหตุที่กระตุ้นการริเริ่มการสำตวจเกิดขึ้นหลังจากการยึดคอนสแตนติโนเปิล โดยชาวเตอร์ก จากนั้นจักรวรรดิออตโตมานก็มีอำนาจควบคุมการค้าขายในบริเวณนั้น และกีอกันชาวยุโรปจากการใช้ “เส้นทางสายไหม” และเส้นทางการค้าผ่านทางแอฟริกาเหนือ ที่มีความสำคัญสำหรับยุโรปในการเป็นเส้นทางการค้าผสมระหวางทางบกและทางทะเลผ่านทางทะเลแดงไปยังเอเชีย ทั้งเครื่องเทศและไหมเป็นธุรกิจใหญ่ในยุคนั้นและรวมทั้งเครื่องเทศที่ใช้ประโยชน์ทั้งในการถนอมอทหารและปรุงรสซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นอย่างน้อยก็สำหรับผู้มีฐานะดีหรือผู้มีอันจะกิน
การสำรวจในระยะแรกนำโดยโปรตุเกศภายใต้การนำของเจ้าชายเฮนรี่นักเดินเรือ การเดินเรือของชาวยุโรปก่อนหน้านั้นจะเป็นการเดินทางเลียบฝั่งทะเลที่มองเห็นฝั่งทะเล การเดินเรือของเจ้าชายเฮนรี่เป็นการท้าทายความเชื่อต่าง ๆ และทรงพบหมู่เกาะมาเดราในมหาสมุทรแอตแลนติก และยึดดินแดนทั้งสองที่พบเป็นอาณานิคม จุดมุ่งหมายของการเดินเรือของเจ้าชายเฮนรี่ก็เพ่อสำรวจฝั่งทะเลทางด้านตะวันตกของแอฟริกาและเขียนแผนที่เดินเรือ “พอร์โทลาน”และเหตุผลทางการค้า ทางศษสนา
ทางการค้าขาย เป็นเวลาหลายศตวรรษที่เส้นทางการค้าที่เชื่อมแอฟริกาตะวันตกกับทะเลิมดิเตอร์เรเนีนเป็นเส้นทางที่ต้องเดินผ่านทางด้านตะวันตกของทะเลทราย “ซาฮารา” เส้นทางนี้เป็นเส้นทางการค้าขาย “ทาสและทอง”ที่ควบคุมโดยรัฐอิสลามในแอฟริกาเหนือ ซึ่งเป็นศัตรูสำคัญของทั้งโปรตุเกสและสเปน กษัตริย์โปรตุเกสจึงทรงหาทางเลี่ยงการค้าขายที่ต้องฝ่านรัฐอิสลามโดยการค้าโดยตรงกับแอฟริกาตะวันตกทางทะเล และรัฐเหล่านี้อาจจะกลายมาเป็นรัฐคริสเตียนซึ่งทำให้เป็นพัมธมิตรในการต่อต้านรัฐอิสลามในกาเกร็บ ในปี ค.ศ. 1434 นักสำรวจชาวโปรตุเกส กิล เออเนส สามารถพิชิอุปสรรคของแหลมโบฮาดอร์ได้ ยังผลให้พระสันตะปาปานิโคลัสที่ 5 ทรงออกพระบัญญัติ “โรมานัสพอนทิเฟ็กซ์” ที่ระบุว่าประเทศใดที่พบที่ไกลไปจากแหลมโบฮาดอร์เป็นของโปรตุเกส
ภายในยี่สิบปีการสำรวจของโปรตุเกสก็ทำให้สามารถทำการค้าขายทาสและทองได้โดยตรงกับคู่ค้าที่ปัจจุบันคือ เซเนกัล และสร้างป้อมการค้าที่ เอลมิน แหลมแวร์เด กลายเป็นอาณานิคมผู้ผลิตน้ำตาลเป็นแห่งแรก ในปี ค.ศ. 1482 การสำรวจภายในการนำของ ดิเอโก้ โคด ก็ทำให้เกิดการติดต่อกับราชอาณาจักรคองโก และจุดเปลี่ยนแปลงเหตุการณ์เกิดเมือ บาร์โตโลมิว ดิอัซ เดินทางรอบแหลมกูดโฮพ และพบว่าเป็นทางที่ใช้เดินทางติดต่อกับมหาสมุทรอินเดียได้จากด้านมหาสมุทรแอตแลนติก การสำตัวจทางบกของ เปโร เด โควิชา ทำให้ได้ขอ้มูลสำคัญต่าง ๆ เกี่ยวกับทะเลแดงและฝั่งทะเลเควเนีย ในปี ค.ศ. 1498 สาสโก ดา กามา เดินทางไปถึงอินเดีย
ในขณะเดียวกันดิโอโก ซิลเวสก็พบซานตามาเรีย และพบเกาะอื่นในหมู่เกาะอาโซเรซ เกาะเทอร์เซรา ซึ่งกลายมาเป็นฐานทางการเดินเรือสำหรับการสำรวจใน เทอรราโนวา และนิวฟันด์แลนด์ โดยพี่น้อง คาร์เท รีอาล
คริสโตเฟอร์ โครลัมบัส
ค.ศ.1451-1506 เป็นนักสำรวจ นักเดินเรือและพ่อค้า เชื่อกันว่าเป็นชาวสาธารณรัฐเจนัว ภายใต้ การสนับสนุนของราชสำนักสเปน เขาเดินเรือข้ามมหาสมุทรแดอแลนติกและทำให้ชาวยุโรปรู้จักทวีปอเมรากาในซีกโลกตะวันตกเป็นผลสำเร็จการเดินทางทั้งสี่ครั้งและความพยายามที่จะตั้งถิ่นฐานบนเกาะฮิสปันโยลาของโคบัมบัสยังเป็นจุดเริ่มต้นของการล่าอาณานิคมของอาณาจักรต่างๆ ในทวีปยุโรปด้วย ในช่วงที่ลัทธิจักวรรดินิยมและการแข่งขันทางเศรษฐกิจระหว่างอาณาจักรต่าง ๆ ผ่านทางการควบคุมเส้นทางการค้าและการล่าอาณานิคม กำลังเริ่มขั้นนั้นโคลัมบัสได้วางแผนการเดินทางไปยังอินเดียตะวันออกโดยเดินเรือมุ่งไปทางตะวันตก เข้าเชื่อว่าโลกมีรูปร่างเป็นทรงกลม ซึ่งเป็นความเชื่อที่ขัดแย้งกับความเชื่อในยุคนั้นที่เชื่อว่าโลกนั้นมีรูปทรงแบนแต่ปัฯหา คือ ความเป็นไปได้ของการเดินทางรอบโลกเนื่องมาจากอุปสรรคเรื่องของอาหารและข้อจำกัดทางเทคโนโลยีการเดินเรือในสมัยนั้น โคลัมบัสนำโครงการเดินเรืองดังกล่าวไปเสนอต่อราชสำนักโปรตุเกสเพื่อขอทุนทรัพย์ในการแต่งกองเรือออกไปค้นหาดินแดนใหม่ ๆ แต่ถูกปฏิเสธ เขาจึงไปขอรับการอุปถัมภ์จากพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 5 และสมเด็จพระราชินีนาถอิซาเบบาที่ 1 แห่งอาณาจักรคาสตีล และได้รับการอนุมัติให้ออกเอนทางเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1492 แต่แทนที่โคลัมบัสจะไปถึงหมู่เกาะญี่ปุ่นอย่างที่ตั้งใจไว้ เขาหลับไปพบหมู่เกาะบาฮามาสและขึ้นฝั่งบนเกาะแห่งหนึ่งที่เขาตั้งชื่อว่า “ซานซัสบาดอร์” และค้นพบหมู่เกาะเกรดเตอร์แอนทิลลิส เลสเซอร์แอนทิลลิส รวมทั้งชายฝั่งทะเลแคริบเบียนของเวเนซูเอลและอเมริกากลาง และประกาศให้ดินแดนเหล่านั้นเป็นกรรมสิทธ์ของจักวรรดิสเปนแม้ว่าโคลัมบัสไม่ได้เป็นบุคคลแรกที่เดินทางมาถึงทวีปอเมริก (เนื่องจากเลฟ เอริสัน และกองเรือชาวนอร์สได้มาถึงทวีปนี้ก่อนแล้ว) แต่การเดินทางของโคลัมบัสก็ทำให้เกิดการติดต่ออย่างถาวรและต่อเนื่องระหว่างโลกใหม่ (ฝั่งตะวันตกของมหาสมุทรแอตแลนติก) กับโลกเก่า (ฝั่งตะวันออกของมหาสมุทรแอตแลนติก) นำไปสู่ช่วงเวลาของการสำรวจและการล่าอาณานิคมในดินแดนภายนอกทวีปยุโรปที่ดำเนินฝ่านเวลาหลายศตวรรษและส่งผลอย่างใหญ่หลวง โคลัมบัสเรียกชนพื้นเมืองบนดินแดนที่เขาไปเยือนว่า “อินดีโอส” โดยไม่ทราบว่าเขาได้ค้นพบทวีปที่ชาวยุโรปไม่เคยรู้จักมาก่อนแล้วโดยบังเอิญ ไม่กี่ปีต่อมาความขัดแย้งระหว่างโคลัมบัสกับราชบัลลังก์สเปนและผู้ปกครองอาณานิคมคนอื่นทำให้เขาถูกปลดออกจากตำแหน่งผู้บริหารอาณานิคมบนเกาะฮิสปันโยลาในปี 1500 และถูกส่งตัวกลับมายังสเปน ทายาทของเขาใช้เวลาฟ้องร้องราชวัลลังก์สเปนอยู่เป็นเวลาหลายสิบปีหลังจากเขาเสียชีวิตกว่าจะได้รับส่วนแบ่งจากผลประโยชน์ในดินแดนต่าง ๆ ที่เขาเคยไปสำรวจมา
การขยายตัวของยุโรปเหนือเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของอำนาจของโปรตุเกสในแอฟริกาและในบริเวณมหาสมุทรอินเดีย ดัตช์,ฝรั่งเศสและอังกฤษส่งเรือผ่านไปในดินแดนที่เป็ฯของโปรตุเกส แต่โปรตุเกสก็ไม่มีหนทางใดที่จะหยุดยั้งได้เพราะขาดกำลังคนและทุนทรัพย์ และประเทเลห่านี้ก็ยังก่อตั้งสถานีค้าขายของตนเองขึ้นมาด้วย ส่วนแบ่งทางการตลาด ของโปรตุเกสและสเปนก็เริ่มลดลง นอกจากนั้นแล้วยุโรปเหนือก็ขยายการสำรวจไปยังบริเวฯที่ยังไม่ได้รับการสำรวจในมหาสมุทรแปซิฟิกและฝั่งทะเลทางตะวันตกของทวีปอเมริกาเหนือ
ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฝั่งตะวันตกและฝั่งเหนือของออสเตรเลียได้รับการเขียนเป็นแผนที่ แต่ฝั่งตะวันออกยังคงต้องรอต่อมาอีกร้อยปี นักสำรวจเข้าไปถึงใจกลางของทวีปอเมริกในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 และก็ยังคงมีอาณาบริเวฯที่ยังไม่ได้รับการสำรวจจกระทั้ง คริสต์ศตวรรษที่ 18-19 เพราะบริเวณนี้ไม่มีแน้วโน้มที่ประดยชน์ต่อการค้าขายนอกจากนั้นก็ยังเป็นบริเวฯที่เต็มำปด้วยโรคร้ายของเมืองร้อนต่างๆ
เมื่อสินค้าต่าง ๆ ทีเคยเป็นสินค้าฟุ่มเฟือยมาจากากรสำรวจเป็ฯที่แพร่หลายมากขึ้นก็ทำให้ราคาสินค้าเหล่านี้เริ่มคงตัวการค้าขายทางมหาสมุทรแอตแลนติกมาแทรที่อำนาจการค้าขายของอิตาลีและเยอรมนีที่เคยใช้ทะเลบอลติกในหารเดินทางขนส่งสินค้ากับรัสเซีย และมาแทนการค้าขายผ่านชาติอิสลาม นอกจากนั้นสินค้าใกม่ก็ยังสร้างความเปลี่ยนแปลงให้แก่โครงสร้างทางสังคม เมือน้ำตาล,เครื่องเทศ,ไหม,และเครื่องถ้วยชามของจีนเข้ามาในตลาดสินค้าฟุ่มเฟือยของยุโรป ความมั่งคั่งที่สเปนประสบและภาวะเงินเฟ้อทั้งภายในสเปนและยุโรปทั่วไป ภายในไม่กี่สิบปีการทำเหมืองในทวีปอเมริกาก็มีผลผลิตมากกว่าการทำเหมองในยุโรปเอง สเปนยิ่งต้องพึ่งรายได้จากากรค้าจากทวีปอเมริกาเพิ่มขึ้นจนในที่สุดก็นำไปสู่การล้มละลายของสเปนในครั้งแรกเมือปี 1557 ที่เป็นผลมาจากค่าใช้จ่ายทางการทหารที่มากเกินตัว การทวีตัวของราคาเป็นผลให้มีการหมุนเวียนทางการเงินในยุโรปมากขึ้นและทำให้เกิดการขยายตัวทางการค้าในบรรดาชนชั้นกลางในยุโรปที่มามีอิทธิพลต่อสภานะทั้งทางการเมืองและวัฒนธรรมในหลายประเทศในยุโรปโดยทั่วไป
Humanism
มนุษย์นิยม หมายถึง ประเภทกว้าง ๆ ของปรัชญาเชิงจริยศาสตร์ที่ยืนยันถึงความสง่างามและคุณค่าของมนุษย์ทุกคน โดยอาศัยกลักความสามารถของบุคคลนั้นในการบ่งชี้ได้ด้วยตนเองว่าสิ่งใดถูกสิ่งใดผิด โดยได้การยอมรับโดยมนุษย์ทั่งไปที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะคุณภาพเชิงตรรกะหรือเชิงเหตุผลมนุษยนิยมเป็นองค์ประกอบเฉพาะหลายๆ ตัวของระบบปรัชญาและได้รับการผนวกไว้ในหลายสำนักคิดทางศาสนา
มนุษยนิยม วางเงื่อนไขไว้ให้มีการค้นหาความจริงและศีลธรรมในวิธีการที่มนุษย์จะนำมาใช้สนองความต้องการของมนุษย์ด้วยกันเมืองมองไปที่ ความสามารถในการกำหนดและการตัดสินได้ด้วยตนเองมนุษยนิยมจะไม่รับการชั่งใจและตัดสินใจโดยสิ่งที่อยู่เหนือความเข้าใจ เช่นการตัดสินใจที่ขึ้นอยู่กับ “ความเชื่อที่ปราศจากเหตุผล” สิ่งเหนือธรรมชาติ หรือด้วยคำทำนายที่อ้างไว้ในคัมภีร์ใด ๆ มนุษยนิยมสนับสนุนจริยธรรมสากล ที่อยู่พื้นฐานของมนุษย์ทั่วไปที่มีความเป็ฯอยู่ธรรมดาซึ่งแสดงให้เห็นได้ว่า การแก้ปัญหาในสังคมมนุษย์และปัญหาทางวัฒนธรรมของมนุษย์จะใช้แนวทางเฉพาะกลุ่มชนแคบ ๆ กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งไม่ได้
มนุษยนิยมในการศึกษา เริ่มมีบทบาทสำคัญในระบบโรงเรียนตั้งแต่สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 ซึ่งกำหนดไว้ว่าการศึกษาที่จะพัฒนาปัญญาของมนุษย์ได้คือการศึกษาที่ “ทำมนุษย์ให้เป็นมนุษย์ได้มากที่สุด” พื้นฐานทางปฏิบัติที่ไปได้ดีที่สุดคือ จิตวิทยาสมรรถพล หรือความเชื่อในถุทธิปัญญาที่เด่นชัด เช่นในเชิงวิเคราะห์ คณิตศาสตร์และภาษาศาสตร์ เชื่อกันว่าการเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ จิตวิทยา สมรรถพลสามรถทำให้สมรรถพลอื่น ๆ ได้รับประโยชน์เช่นกัน ผู้มีบทบาทสำคัญในการศึกษามนุษยนิยมเมือปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 แฮริส เจ้าของผลงาน “หน้าต่างทั้งห้าแห่งจิตวิญญาณ” (คณิตศาสตร์ ภูมิศาศตร์ ประวัติศาสตร์ ไวยากรณ์และวรรณคดี/ศิลปะ) ซึ่งเชื่อว่ามีความเหมาะสมที่สุดใน การพัฒนาสมรรถพล การศึกษาด้านมนุษยนิยมเชื่อว่า”การศึกษาที่ดีที่สุดสำหรับเด็กๆ” คือ การศึกษาที่ดีที่สุดสำหรับเด็กทุกคน ถึงม้ว่ามนุษยนิยมในการศึกษาจะถูกหักล้างโดยนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นในตอนต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 18 แต่ก็ยังคงยังมีอยู่ต่อไปในโรงเรียประจำของชนชั้นสูงหลายแห่ง และก็ยังมีอยู่ในวิชาต่าง ๆ หลายวิชาในโรงเรียนมัธยมโดยเฉพาะในวิชาวรรณคดี
มนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา คือขบวนการทางปัญญาของยุโรปซึ่งเป็นตัวจักรสำคัญด้านหนึ่งของสมัยเรอเนสซองส์ ขบวนการมนุษยนิยมเริ่มขึ้นเมือผุ้คงแก่เรียนชาวยุโรปเริ่มพบวรรกรรม ภาษละติน และปรับปรุงขึ้นมาใหม่ ในระยะแรกนักมนุษยนิยมก็เพียงแต่เป็นปัญญชนหรือครูที่สอนวรรณคดี ภาษาละติน แต่เมือถึงกลางคริสต์สตวรรษที่ 15 มนุษยนิยมก็พัฒนาขึ้นมาเป็นหลักสูตรการศึกษ “หลักสูตรการศึกษามนุษยนิยม” ที่ประกอบด้วยการศึกษาไวยากรณ์, วาทศาสตร์, ปรัชญาจริยธรรม, กวีนิพนธ์, และประวัติศาสตร์จากงานที่เขียนโดยผู้ประพันธ์เป็นภาษาลาตินและกรีกนักมนุษยนิยมมักจะเป็นปฏิปักษ์ต่อขบวนการปรัชญาของกลุ่มอัศมาจารย์นิยมพัฒนากมาจากความสัมพันธ์กับวิทยาศาสตร์ และปรัชญาของยุคกลาง อาทิ ทอมัสอควีนาส ผู้ที่พยายามสังเคเคราะห์ปรัชญาของอริสโตเติลในบริบทของ ลัทธิคาทอลิก แต่แตกต่งจกหลักของมนุษยนิยมเรือเนสซองซ์ตรงที่กลุ่มอัสสมาจารย์นิยมไม่พึงวรรกรรมหรือตำราประวัติศาสตร์จากสมัยกรีกโรมัเนเท่ากับเมืองถึงสมัยมนุษยนิยม การกลับมาให้ความสนใจกับวรรณกรรม และตำราประวัติศาสตร์, วาทศิลป์ และเทวปรัชญาที่ยังไม่ได้รับการศึกษาโดยนักปรัชญาอัสสมาจารย์นิยม ทำให้มนุษยนิยมเรอเนสซองซ์เปลี่ยนแนวทางวัฒนธรรมทางปรัชญาของยุโรปอย่างส้นเชิงทางด้านปรัชญานักมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์จะเน้นบทเขียนของเพลโตที่บางชิ้นนำกลับมาจากจักรวรรดิไบแซนไทน์ที่เร่มเสื่อมโทรมและให้ความสนใจน้อยกว่ในปรัชญาของอริสโตเติลที่ได้รับการศึกษาอย่างชักซึ้งแล้วโดยนักอัสสมาจารย์นิยมในระหว่างยุคกลาง
วรรณกรรมแนวมนุษยนิยม ที่สำคัญในยุคนี้ได้แก่
The Price
นิคโคโล แมคเคียเวลลีโดยกล่าวถึง ธรรมชาติของมนุษย ว่า มนุษย์เป็นสัตว์เห็นแก่ตัว ก้าวร้าว และแสวงหา และพยายามที่จะหลีกเลี่ยงอันตรายต่าง ๆ แต่แสวงหากำไร จึงทำให้ชีวิตมนุษย์ต้องดิ้นรน และแข่งขันอยู่เสมอ มาเคียเวลลีมองว่า มนุษย์เป็นผู้ที่โง่เขลาปล่อยให้จิตตกอยู่ภายใต้การครอบงำของกิเลสตัณหา บางครั้งมนุษย์ยินยอมที่จะมอบตัวเองให้อยู่ในความพิทักษ์ของผู้ที่แข็งแรงกว่าอย่างไม่รู้ตัว
รัฐชาติ มาเคียเวลลีมองว่า รัฐชาตมิได้เกิดขึ้นตามธรรมชาติหรือตามที่พระเจ้าบันดาล แต่มีรากฐานเกิดรัฐมาจาก การอ่อนแอ ไร้ประสิทธิภาพของคนส่วนมากที่ไม่สามารถพิทักษ์รักษาความปลอดภัยให้ตนเองได้จึงเกิดรัฐชาติ
รัฐมิได้ถูกสถาปนาขึ้นเพื่อจุดมุ่งหมายที่จะจัดตั้งศีลธรรมหรือบังคับใช้กฎหมายธรรมชาติ ศีลธรรมและกฎหมายธรรมชาติ คือ สังกัป ที่ได้รับการพัฒนาภายหลังจากที่คนร่วมมีปฏิกิริยาร่วมกันในการต่อต้านผู้ใช้อำนาจล้าง
รูปแบบการปกครอง
- มาเยเวลลีสนับสนุนรูปแบบการปกครงแบบ ราชาธิปไตย โดยเขาให้เหตุผลว่า การปกครองโดยคน ๆ เดียวมีอำนาจเด็ดขาดสูงสุดเป็นระบบการปกครองที่ดีที่สุดในทัศนะของเขา
- มาเคยเวลลีเชื่อว่า ราชาธิปไตย และอภิชนาธิปไตย โดยเขามองว่าระบอบประชาธิปไตยเป็ฯระบอบที่ดีแต่ มีข้อเสียคือขาดเสถียรภาพ และความดีของระบอบมักถูกทำลายด้วยตัวของมันเองแต่เขากับบอกว่ารูปแบบที่เขาพอใจคือ แบบสาธารณรัฐที่มีลักษณะผสมผสานระหว่าง อภิชนาธิปไตยและประชาธิปไตย
Utopia
เป็นหนังสือของ เซอร์ โทมัส มอร์ ในปี ค.ศ. 1516 ซึ่งเขียนเป็นภาษาละติน เป็นงานเขียนร้อยแก้วพรรณนาถึงสังคมบนเกาะในจินตนาการแห่งหนึ่งเล่าเรื่องเกี่ยวกับศาสนา ความเชื่อ ลักษณะทางสังคมและการปกครองบนเกาะแห่งนั้น ชื่อเกาะที่นำมาจากภาษากรีก มีความหมายว่า “ดินแดนที่ไม่มีจริง” ( ดินแดนที่น่าชื่นชมยินดี)
เขาสร้างภาพของสังคมที่ตรงกันข้ามกันระหว่างดินแดนในจินตนาการซึ่งมีแนวคิดการปกครองที่ไม่เหมือนใคร กับการเมืองอันยุ่งเหยิงวุ่นวายในยุคสมัยของเขา เพื่อเป็นโครงร่างสำหรับการวิพากษ์วิจารย์เกี่ยวกับสภาพสังคมกันต่อไป
หนังสือตีพิมพ์ที่ Leuven โดยมี Erasmus เป็นบรรณาธิการ มอร์ได้ปรับปรุงเนื้อหาอีกครั้งและพิมพ์ในเบเซิล ในเดือนพฤศจิกายน แต่กว่าที่หนังสือจะได้ตีพิมพ์เผยแพร่ในประเทศอังกฤษ ก็ล่วงไปถึง ค.ศ. 1551 สิบหกปีหลังจากการประหารชีวิตมอร์ โดย ราล์ฟ โรบินสัน เป็นผู้แปลเป็นภาษาอังกฤษ แต่ฉบับที่นิยมใช้อ้างอิงกันมากที่สุดคือฉบับที่แปลโดย กิลเบิร์ต เบอร์เน็ต ในปี ค.ศ. 1684
มนุษยนิยม วางเงื่อนไขไว้ให้มีการค้นหาความจริงและศีลธรรมในวิธีการที่มนุษย์จะนำมาใช้สนองความต้องการของมนุษย์ด้วยกันเมืองมองไปที่ ความสามารถในการกำหนดและการตัดสินได้ด้วยตนเองมนุษยนิยมจะไม่รับการชั่งใจและตัดสินใจโดยสิ่งที่อยู่เหนือความเข้าใจ เช่นการตัดสินใจที่ขึ้นอยู่กับ “ความเชื่อที่ปราศจากเหตุผล” สิ่งเหนือธรรมชาติ หรือด้วยคำทำนายที่อ้างไว้ในคัมภีร์ใด ๆ มนุษยนิยมสนับสนุนจริยธรรมสากล ที่อยู่พื้นฐานของมนุษย์ทั่วไปที่มีความเป็ฯอยู่ธรรมดาซึ่งแสดงให้เห็นได้ว่า การแก้ปัญหาในสังคมมนุษย์และปัญหาทางวัฒนธรรมของมนุษย์จะใช้แนวทางเฉพาะกลุ่มชนแคบ ๆ กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งไม่ได้
มนุษยนิยมในการศึกษา เริ่มมีบทบาทสำคัญในระบบโรงเรียนตั้งแต่สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 ซึ่งกำหนดไว้ว่าการศึกษาที่จะพัฒนาปัญญาของมนุษย์ได้คือการศึกษาที่ “ทำมนุษย์ให้เป็นมนุษย์ได้มากที่สุด” พื้นฐานทางปฏิบัติที่ไปได้ดีที่สุดคือ จิตวิทยาสมรรถพล หรือความเชื่อในถุทธิปัญญาที่เด่นชัด เช่นในเชิงวิเคราะห์ คณิตศาสตร์และภาษาศาสตร์ เชื่อกันว่าการเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ จิตวิทยา สมรรถพลสามรถทำให้สมรรถพลอื่น ๆ ได้รับประโยชน์เช่นกัน ผู้มีบทบาทสำคัญในการศึกษามนุษยนิยมเมือปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 แฮริส เจ้าของผลงาน “หน้าต่างทั้งห้าแห่งจิตวิญญาณ” (คณิตศาสตร์ ภูมิศาศตร์ ประวัติศาสตร์ ไวยากรณ์และวรรณคดี/ศิลปะ) ซึ่งเชื่อว่ามีความเหมาะสมที่สุดใน การพัฒนาสมรรถพล การศึกษาด้านมนุษยนิยมเชื่อว่า”การศึกษาที่ดีที่สุดสำหรับเด็กๆ” คือ การศึกษาที่ดีที่สุดสำหรับเด็กทุกคน ถึงม้ว่ามนุษยนิยมในการศึกษาจะถูกหักล้างโดยนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นในตอนต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 18 แต่ก็ยังคงยังมีอยู่ต่อไปในโรงเรียประจำของชนชั้นสูงหลายแห่ง และก็ยังมีอยู่ในวิชาต่าง ๆ หลายวิชาในโรงเรียนมัธยมโดยเฉพาะในวิชาวรรณคดี
มนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา คือขบวนการทางปัญญาของยุโรปซึ่งเป็นตัวจักรสำคัญด้านหนึ่งของสมัยเรอเนสซองส์ ขบวนการมนุษยนิยมเริ่มขึ้นเมือผุ้คงแก่เรียนชาวยุโรปเริ่มพบวรรกรรม ภาษละติน และปรับปรุงขึ้นมาใหม่ ในระยะแรกนักมนุษยนิยมก็เพียงแต่เป็นปัญญชนหรือครูที่สอนวรรณคดี ภาษาละติน แต่เมือถึงกลางคริสต์สตวรรษที่ 15 มนุษยนิยมก็พัฒนาขึ้นมาเป็นหลักสูตรการศึกษ “หลักสูตรการศึกษามนุษยนิยม” ที่ประกอบด้วยการศึกษาไวยากรณ์, วาทศาสตร์, ปรัชญาจริยธรรม, กวีนิพนธ์, และประวัติศาสตร์จากงานที่เขียนโดยผู้ประพันธ์เป็นภาษาลาตินและกรีกนักมนุษยนิยมมักจะเป็นปฏิปักษ์ต่อขบวนการปรัชญาของกลุ่มอัศมาจารย์นิยมพัฒนากมาจากความสัมพันธ์กับวิทยาศาสตร์ และปรัชญาของยุคกลาง อาทิ ทอมัสอควีนาส ผู้ที่พยายามสังเคเคราะห์ปรัชญาของอริสโตเติลในบริบทของ ลัทธิคาทอลิก แต่แตกต่งจกหลักของมนุษยนิยมเรือเนสซองซ์ตรงที่กลุ่มอัสสมาจารย์นิยมไม่พึงวรรกรรมหรือตำราประวัติศาสตร์จากสมัยกรีกโรมัเนเท่ากับเมืองถึงสมัยมนุษยนิยม การกลับมาให้ความสนใจกับวรรณกรรม และตำราประวัติศาสตร์, วาทศิลป์ และเทวปรัชญาที่ยังไม่ได้รับการศึกษาโดยนักปรัชญาอัสสมาจารย์นิยม ทำให้มนุษยนิยมเรอเนสซองซ์เปลี่ยนแนวทางวัฒนธรรมทางปรัชญาของยุโรปอย่างส้นเชิงทางด้านปรัชญานักมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์จะเน้นบทเขียนของเพลโตที่บางชิ้นนำกลับมาจากจักรวรรดิไบแซนไทน์ที่เร่มเสื่อมโทรมและให้ความสนใจน้อยกว่ในปรัชญาของอริสโตเติลที่ได้รับการศึกษาอย่างชักซึ้งแล้วโดยนักอัสสมาจารย์นิยมในระหว่างยุคกลาง
วรรณกรรมแนวมนุษยนิยม ที่สำคัญในยุคนี้ได้แก่
The Price
นิคโคโล แมคเคียเวลลีโดยกล่าวถึง ธรรมชาติของมนุษย ว่า มนุษย์เป็นสัตว์เห็นแก่ตัว ก้าวร้าว และแสวงหา และพยายามที่จะหลีกเลี่ยงอันตรายต่าง ๆ แต่แสวงหากำไร จึงทำให้ชีวิตมนุษย์ต้องดิ้นรน และแข่งขันอยู่เสมอ มาเคียเวลลีมองว่า มนุษย์เป็นผู้ที่โง่เขลาปล่อยให้จิตตกอยู่ภายใต้การครอบงำของกิเลสตัณหา บางครั้งมนุษย์ยินยอมที่จะมอบตัวเองให้อยู่ในความพิทักษ์ของผู้ที่แข็งแรงกว่าอย่างไม่รู้ตัว
รัฐชาติ มาเคียเวลลีมองว่า รัฐชาตมิได้เกิดขึ้นตามธรรมชาติหรือตามที่พระเจ้าบันดาล แต่มีรากฐานเกิดรัฐมาจาก การอ่อนแอ ไร้ประสิทธิภาพของคนส่วนมากที่ไม่สามารถพิทักษ์รักษาความปลอดภัยให้ตนเองได้จึงเกิดรัฐชาติ
รัฐมิได้ถูกสถาปนาขึ้นเพื่อจุดมุ่งหมายที่จะจัดตั้งศีลธรรมหรือบังคับใช้กฎหมายธรรมชาติ ศีลธรรมและกฎหมายธรรมชาติ คือ สังกัป ที่ได้รับการพัฒนาภายหลังจากที่คนร่วมมีปฏิกิริยาร่วมกันในการต่อต้านผู้ใช้อำนาจล้าง
รูปแบบการปกครอง
- มาเยเวลลีสนับสนุนรูปแบบการปกครงแบบ ราชาธิปไตย โดยเขาให้เหตุผลว่า การปกครองโดยคน ๆ เดียวมีอำนาจเด็ดขาดสูงสุดเป็นระบบการปกครองที่ดีที่สุดในทัศนะของเขา
- มาเคยเวลลีเชื่อว่า ราชาธิปไตย และอภิชนาธิปไตย โดยเขามองว่าระบอบประชาธิปไตยเป็ฯระบอบที่ดีแต่ มีข้อเสียคือขาดเสถียรภาพ และความดีของระบอบมักถูกทำลายด้วยตัวของมันเองแต่เขากับบอกว่ารูปแบบที่เขาพอใจคือ แบบสาธารณรัฐที่มีลักษณะผสมผสานระหว่าง อภิชนาธิปไตยและประชาธิปไตย
Utopia
เป็นหนังสือของ เซอร์ โทมัส มอร์ ในปี ค.ศ. 1516 ซึ่งเขียนเป็นภาษาละติน เป็นงานเขียนร้อยแก้วพรรณนาถึงสังคมบนเกาะในจินตนาการแห่งหนึ่งเล่าเรื่องเกี่ยวกับศาสนา ความเชื่อ ลักษณะทางสังคมและการปกครองบนเกาะแห่งนั้น ชื่อเกาะที่นำมาจากภาษากรีก มีความหมายว่า “ดินแดนที่ไม่มีจริง” ( ดินแดนที่น่าชื่นชมยินดี)
เขาสร้างภาพของสังคมที่ตรงกันข้ามกันระหว่างดินแดนในจินตนาการซึ่งมีแนวคิดการปกครองที่ไม่เหมือนใคร กับการเมืองอันยุ่งเหยิงวุ่นวายในยุคสมัยของเขา เพื่อเป็นโครงร่างสำหรับการวิพากษ์วิจารย์เกี่ยวกับสภาพสังคมกันต่อไป
หนังสือตีพิมพ์ที่ Leuven โดยมี Erasmus เป็นบรรณาธิการ มอร์ได้ปรับปรุงเนื้อหาอีกครั้งและพิมพ์ในเบเซิล ในเดือนพฤศจิกายน แต่กว่าที่หนังสือจะได้ตีพิมพ์เผยแพร่ในประเทศอังกฤษ ก็ล่วงไปถึง ค.ศ. 1551 สิบหกปีหลังจากการประหารชีวิตมอร์ โดย ราล์ฟ โรบินสัน เป็นผู้แปลเป็นภาษาอังกฤษ แต่ฉบับที่นิยมใช้อ้างอิงกันมากที่สุดคือฉบับที่แปลโดย กิลเบิร์ต เบอร์เน็ต ในปี ค.ศ. 1684
วันพฤหัสบดีที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Raffaello Sanzio,
ราฟาเอล ซันซิโอ เป็นจิตรกรชาวอิตาลี ในยุคสมัยเรอเนซองส์ ราฟาเอลอายุน้อยกว่าเลโอนาร์โด ดา วินชี 31 ปี และน้อยกว่ามีเกลันเจโล บัวนาร์โรตี 8 ปี ราฟาเอลเดินทางมายังฟลอเรนซืเพื่อศึกษางานของ ดาวินชี และมีเกลันเจโล และมาอยู่ที่กรุงโรม เขาพากเพียรเขียนภาพเพื่อให้ทัดเทียมกับศิลปินผู้ยิ่งใหญ่ทั้งสองที่เขายกย่อง
ราฟาเอลได้เขียนจิตรกรรมฝาผนังหลายชิ้นในนครวาติกัน ซึ่งถือกันวาเป็นผลงานขั้นสูงสุดในยุคฟื้นผูศิลปวิทยาที่สามารถรวมความสงบนิ่งไว้กับความสมดุลได้อย่างกลมกลืน ราฟาเอลได้รับการแต่งตั้งเป็นสถาปนิกผู้รับผิดชอบในการก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ และมีส่วนร่วมในการวางผังเมืองกรุงโรม
งานจิตรกรรมในระยะหลังมีความเรียบง่ายและมีความใหญ่โตมากขึ้น แต่ยังคงรักษาความมีชีวิตชีวาของงานยุคต้นของเขาไว้ได้ งานของของระฟาเอลที่แสดงถึงความงามของผู้หญิงเป็นผลงานที่มีอิทธิพลต่อศิลปินกลุ่ม สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกรีกโรมัน (นีโด-คลาสสิค) เป็นอย่างมาก
ราฟาเอลมีความใกล้ดสนิดสนมกับเจ้าผู้ครองนครและพระสันตะปาปามากในช่วงปลายของชีวิต ราฟาเอลเสียชีวิตด้วยวัยเพียง 37 ปี ศพของราฟาเอลได้รับการฝังไว้ที่มหาวิหารแพนเธอนอนในกรุงโรมโดยพระบัญชาของพระสันตะปาปาลีโอที่ 10
ห้องราฟาเอล Raphael Roomsหรือ Stanze di Raffaello เป็นห้องชุดสี่ห้องภายในห้องชุดที่ประทับของพระสันตะปาปาภายในวัง พระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกันเป็นห้องชุดที่มีชื่อเสียงจากจิตกรรมาผาฝนังที่เขียนโดยราฟาเอล และชาเปลซิสติน โดย ไมเคิลแอนเจโล ซึ่งเป็นงานชิ้นเอกของศิลปะเรอเนซองส์
สมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 ทรงจ้างราฟาเอล ให้ตกแต่งภายในห้องชุดใหม่ทั้งหมด ซึ่งอาจจะทรงประสงค์ที่จะทำให้ดีกว่าพระสันตะปาปาองค์ก่อน ผู้ทรงเป็นปรปักษ์ เพราะห้องเหล่านี้อยู่เหนือห้องบอร์เจีย ของพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์โดยตรงพอดี ห้องชุดราฟาเอลอยู่บนชั้นสามที่มีทิวทัศน์ทางด้านใต้ของลานเบลเวเดียร์ ในปัจจุบันรู้จักกันในชื่อ “ห้องราฟาเอล”อันประกอบด้วย
ห้องคอนแสตนติน
“ห้องคอนแสตนติน เป็นห้องที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาสี่ห้อง ภาพในห้องนี้เริ่มเขียนหลังจากราฟาเอลเสียชีวิตแล้ว เป็นห้องที่อุทิศให้แก่ชัยชนะของคริสต์ศาสนจักรต่อผู้นอกศาสนา จิตรกรรมฝาผนังแสดงความขัดแย้งของจักพรรดิคอนแสตนติน เป็นงานที่เขียนโดย จานฟรานเชสโค เพ็นนิ,จุยลิโอ โรมาโน และราฟาเอลลิโน เดล โคลเล
“ทิพยทัศน์ของกางเขน” “จักรพรรดิคอนแสตนตินอุทิศดินแดน” “จักรพรรดิคอนแสตนตินรับศีลจุ่ม” “ยุทธการสะพานมิลเวียน”
ห้องเฮลิโอโดรัส
ภาพที่อยู่ในห้อง “เฮลิโอโดรัส” ประกอบด้วย “การพบปะระหว่างพระสันตะปปาเลโอกับอัตติลา” “การปลดปล่อยนักบุญปีเตอร์” “การขับเฮลิโอโดรัสออกจากวัด” “ปาฎิหาริย์ที่โบลเซนา” ตามลำดับ
ห้องเซนยาทูรา
เป็นห้องแรกที่ตกแต่งโดยราฟาเอล เป็นห้องที่ใช้เป็นห้องสมุดของพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 ซึ่งเดิมเป็ฯห้องที่ประชุมทางศาลของพระสันตะปาปา จิตรกรนำความหมายของห้องทางคริสต์ศานปรัชญาและความยุติธรรมในการศาลมาแปรเป็นภาพโดยใช้สัญลักษณ์ภาพกลม Tando เหนือผนังตรงกลาง หัวใจของภาพเขียนในห้องนี้คือความมีสติปัญญาในทางโลกและทางธรรมและความสัมพันธ์อันดีของความคิดเรอเนซองส์ในด้านมนุษยนิยมระหว่างคริสต์จักรและปรัชญากรีก ห้องถูกใช้เป็นที่ลงนามเอกสารสำคัญต่าง ๆ ของสันตะปาปา (ห้องลายเซ็นต์)
ห้องเซนยาทูรา Stanza della Segnatura ประกอบดวยภาพ“ปุจฉาวิสัชชาเรื่องศีลศักดิ์สิทธิ์” ภาพที่อยู่ด้านบนกลับห้ว“โรงเรียนแห่งเอเธนส์” คือภาพที่อยู่ด้านล่างสุดในมุมปกติ “ภูเขาพาร์นาสสัส” ภาพที่อยู่ทางด้านขวามือและ“คุณธรรมสามอย่าง”คือภาพที่อยู่ทางซ้ายมือ ส่วนภาพตรงกลางนั้นคือ เพดานของห้องเซนยาทูรา
ราฟาเอลได้เขียนจิตรกรรมฝาผนังหลายชิ้นในนครวาติกัน ซึ่งถือกันวาเป็นผลงานขั้นสูงสุดในยุคฟื้นผูศิลปวิทยาที่สามารถรวมความสงบนิ่งไว้กับความสมดุลได้อย่างกลมกลืน ราฟาเอลได้รับการแต่งตั้งเป็นสถาปนิกผู้รับผิดชอบในการก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ และมีส่วนร่วมในการวางผังเมืองกรุงโรม
งานจิตรกรรมในระยะหลังมีความเรียบง่ายและมีความใหญ่โตมากขึ้น แต่ยังคงรักษาความมีชีวิตชีวาของงานยุคต้นของเขาไว้ได้ งานของของระฟาเอลที่แสดงถึงความงามของผู้หญิงเป็นผลงานที่มีอิทธิพลต่อศิลปินกลุ่ม สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกรีกโรมัน (นีโด-คลาสสิค) เป็นอย่างมาก
ราฟาเอลมีความใกล้ดสนิดสนมกับเจ้าผู้ครองนครและพระสันตะปาปามากในช่วงปลายของชีวิต ราฟาเอลเสียชีวิตด้วยวัยเพียง 37 ปี ศพของราฟาเอลได้รับการฝังไว้ที่มหาวิหารแพนเธอนอนในกรุงโรมโดยพระบัญชาของพระสันตะปาปาลีโอที่ 10
ห้องราฟาเอล Raphael Roomsหรือ Stanze di Raffaello เป็นห้องชุดสี่ห้องภายในห้องชุดที่ประทับของพระสันตะปาปาภายในวัง พระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกันเป็นห้องชุดที่มีชื่อเสียงจากจิตกรรมาผาฝนังที่เขียนโดยราฟาเอล และชาเปลซิสติน โดย ไมเคิลแอนเจโล ซึ่งเป็นงานชิ้นเอกของศิลปะเรอเนซองส์
สมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 ทรงจ้างราฟาเอล ให้ตกแต่งภายในห้องชุดใหม่ทั้งหมด ซึ่งอาจจะทรงประสงค์ที่จะทำให้ดีกว่าพระสันตะปาปาองค์ก่อน ผู้ทรงเป็นปรปักษ์ เพราะห้องเหล่านี้อยู่เหนือห้องบอร์เจีย ของพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์โดยตรงพอดี ห้องชุดราฟาเอลอยู่บนชั้นสามที่มีทิวทัศน์ทางด้านใต้ของลานเบลเวเดียร์ ในปัจจุบันรู้จักกันในชื่อ “ห้องราฟาเอล”อันประกอบด้วย
ห้องคอนแสตนติน
“ห้องคอนแสตนติน เป็นห้องที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาสี่ห้อง ภาพในห้องนี้เริ่มเขียนหลังจากราฟาเอลเสียชีวิตแล้ว เป็นห้องที่อุทิศให้แก่ชัยชนะของคริสต์ศาสนจักรต่อผู้นอกศาสนา จิตรกรรมฝาผนังแสดงความขัดแย้งของจักพรรดิคอนแสตนติน เป็นงานที่เขียนโดย จานฟรานเชสโค เพ็นนิ,จุยลิโอ โรมาโน และราฟาเอลลิโน เดล โคลเล
“ทิพยทัศน์ของกางเขน” “จักรพรรดิคอนแสตนตินอุทิศดินแดน” “จักรพรรดิคอนแสตนตินรับศีลจุ่ม” “ยุทธการสะพานมิลเวียน”
ห้องเฮลิโอโดรัส
ภาพที่อยู่ในห้อง “เฮลิโอโดรัส” ประกอบด้วย “การพบปะระหว่างพระสันตะปปาเลโอกับอัตติลา” “การปลดปล่อยนักบุญปีเตอร์” “การขับเฮลิโอโดรัสออกจากวัด” “ปาฎิหาริย์ที่โบลเซนา” ตามลำดับ
เป็นห้องแรกที่ตกแต่งโดยราฟาเอล เป็นห้องที่ใช้เป็นห้องสมุดของพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 ซึ่งเดิมเป็ฯห้องที่ประชุมทางศาลของพระสันตะปาปา จิตรกรนำความหมายของห้องทางคริสต์ศานปรัชญาและความยุติธรรมในการศาลมาแปรเป็นภาพโดยใช้สัญลักษณ์ภาพกลม Tando เหนือผนังตรงกลาง หัวใจของภาพเขียนในห้องนี้คือความมีสติปัญญาในทางโลกและทางธรรมและความสัมพันธ์อันดีของความคิดเรอเนซองส์ในด้านมนุษยนิยมระหว่างคริสต์จักรและปรัชญากรีก ห้องถูกใช้เป็นที่ลงนามเอกสารสำคัญต่าง ๆ ของสันตะปาปา (ห้องลายเซ็นต์)
ห้องเซนยาทูรา Stanza della Segnatura ประกอบดวยภาพ“ปุจฉาวิสัชชาเรื่องศีลศักดิ์สิทธิ์” ภาพที่อยู่ด้านบนกลับห้ว“โรงเรียนแห่งเอเธนส์” คือภาพที่อยู่ด้านล่างสุดในมุมปกติ “ภูเขาพาร์นาสสัส” ภาพที่อยู่ทางด้านขวามือและ“คุณธรรมสามอย่าง”คือภาพที่อยู่ทางซ้ายมือ ส่วนภาพตรงกลางนั้นคือ เพดานของห้องเซนยาทูรา
ห้องเพลิงไหม้ในเมือง
ตั้งชื่อตามภาพ “เพลิงไหม้ในเมือง” ที่เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่แสดงภาพสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 4 ทำสัญญาณให้พระเพลิงที่เผาผลาญบริเวฯหนึ่งของกรุงโรมไม่ไกลจากวาติกันให้หยุด โดยการให้พร ห้องนี้เตียมไว้สำหรับเป็นห้องดนตรีของพระสันตะปาปาองค์ต่อจากจูเลียส คือ สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ภาพ”เพลิงไหม้ในเมือง” ราฟาเอลเพียงแต่ร่าง และเสียชีวิตไปก่อน ผู้เขียนคือผู้ช่วยของราฟาเอล
ตั้งชื่อตามภาพ “เพลิงไหม้ในเมือง” ที่เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่แสดงภาพสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 4 ทำสัญญาณให้พระเพลิงที่เผาผลาญบริเวฯหนึ่งของกรุงโรมไม่ไกลจากวาติกันให้หยุด โดยการให้พร ห้องนี้เตียมไว้สำหรับเป็นห้องดนตรีของพระสันตะปาปาองค์ต่อจากจูเลียส คือ สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ภาพ”เพลิงไหม้ในเมือง” ราฟาเอลเพียงแต่ร่าง และเสียชีวิตไปก่อน ผู้เขียนคือผู้ช่วยของราฟาเอล
“เพลิงไหม้ในเมือง” วาดจาก หนังสือพระสันตะปาปา ที่เป็นคำบรรยายของเพลิงไหม้ที่เกิดขึ้นในแขวงหนึ่ง
ของกรุงโรมในปี ค.ศ. 847 ตามตำนาน สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 4 ทรงทำให้ไฟสงบโดยการประทานพร
ชายหนุ่มที่แบกชายแก่บนหลังทางมุมซ้ายของภาพสะท้อนหัวเรื่องของตำนานคลาสสิกของเอเนียสและอันคิซิส
หนีเพลิงไหม้ที่ทรอย ซึ่งมีความหมายเป็นนัยว่าโรมคือกรุงทรอยใหม่ ส่วนอีก สามภาพคือ “พิธีราชาภิเษกของชาร์เลอมาญ
“ยุทธการออสเตีย” และ”คำสัตย์ปฏิญาณของพระสันตะปาปาลีโอที่สาม”
Michelangelo di Lodovico Buonarroti Simoni
Michelanglo di Lodovico Buonarroti Simoni มีเกลันเจโล ดี โลโดวีโก บูโอนาร์โรตี ซีโมนี เป็นจิตรกร สถาปนิก และประติมากรชื่อดังชาวอิตาลี ศิลปินผู้เข้าถึง 3 ศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ของโลก เขาไม่ เป็นเพียงผู้ที่เข้าถึงแต่เพียงศาสตร์ด้านวิจิตรศิลป์ แต่เขายังเข้าถึงความยิ่งใหญ่ของสถาปัตยกรรม และประติมากรรมอีกด้วย เขาเติบโดที่เมืองฟลอเรนซ์ ใช้ชีวิตอยุ่ในกรุงโรมช่วง อายุ 21-26 ปีมีเกลันเจโลสร้างปะติมากรรมรูปเดวิด เมืออายุ 26 จากหินอ่อนก้อนมหึมาที่ถูกทิ้งไว้กลางเมืองฟลอเรนซ์เป็นเวลาหลายปี จึงกลายเป็นที่ฮือฮาของชาวเมือง ด้วยเหตุผลที่ว่า ไม่มีใครกล้าพอที่จะแตะต้องมน ความสำเร็จจากงานชิ้นนี้ทำให้ชื่อเสียงของเขาโด่งดังไปทั่วอิตาลี
มิเกเอลเจโล เกลียด ดาวินชี่ ทั้งที่เป็นคนในยุคสมัยเดียวกัน อายุอ่อนกว่า ดาวินชี่ เพียง 22 ปี นัยว่าเดินคนละทาง มิเกเอลเจโล ในช่วงปี ค.ศ. 1497-1500 มีเกลันเจโล ได้สร้างประติมากรรมหินอ่อนอีกช้นหนึ่งที่มีชื่อว่า ปีเอตะ Pieta ซึ่งปัจจุบันอยู่ในมหาวิหารนักบุญเปโตรที่กรุงโรม
เมื่ออายุ 30 ปี เขาไถกเชิญให้กลับมาที่กรุงโรม เพื่ออกแบบหลุมฝังศพให้กับสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 ซึ่งใช้เวลาประมาณ 40 ปี หลังจากแก้หลายครั้งหลายครา จนมาสำเร็จในปี ค.ศ. 1545 ต่อมาในปี ค.ศ. 1546 เขาเป็นสถาปนิกคนสำคัญในการสร้างมหาวิหารนักบุญเปโตรที่กรุงโรม ที่มีความยิ่งใหญ่และงดงามเป็ฯอย่างมาก ซึ่งถือเป็นสภาปัตยกรรมชิ้นเอกของโลก โดยเฉพาะส่วนที่เป็นโดม ก่อนถึงมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ ข้าหน้าจะเป็นลานกว้าง Piazza San Pietro(St.Pietro Square) ล้อมรอบด้วยเสาดอริค 284 ต้น และรูปปั้นนักบุญ 96 รูป ตรงกลางลานมีเสาโอลิสก์จากอียิปต์ ด้านหน้ามหาวิหาร โดมขนากมหึมาที่ครอบมหาวิหารออกแบบโดยไมเคิลแองเจโล ตัววิหารสร้างโดยศิลปินหลายคนใช้เวลาสร้างรวม 150 ปี
มหาวิหารนักบุญเปโตรเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่และสำคัญที่สุดในนครรัฐวาติกัน สร้างทับวิหารเดิมที่ชื่อเดียวกัน โดมของมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์สูงโดดเด่น โบสถ์นี้ตั้งอยู่ในเนื้อที่ ประมาณ 2.3 เฮกตาร์จุคนได้กว่า 60,000 คน เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิที่สุดที่หนึ่งในคริสตจักรโรมันคาทอลิก ที่ตั้งโบสถ์เชื่อกันว่าเป็นสถานที่ฝังร่างของ นักบุญเปโตร ซึ่งเป็นหนึ่งในอัตคทูตของพระเยซู
ตัวมหาวิหารปัจจุบันเริ่มสร้างเมืองวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1506 บนโบสถ์แบบคอนแสดนทีน และเสร็จเมือปี ค.ศ. 1626 แต่เดิมนั้นมหาวิหารนักบุญเปโตร มิได้เป็นสถานที่พำนักประจำตำแหน่งของพระสันตะปาปาเช่นปัจจุบันนี้ แต่ก็ยังควเป็นโบสถ์สำคัญแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นโบสถ์ที่ตั้งอยู่ในตัวนครรัฐวาติกัน และมีเนื้อที่มาก การทำพิธีต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับพระสันตะปาปาก็จะมาทำกันที่นี่
เขาใช้ชีวิตในบั้นปลายปยู่ในกรุงโรม ตลอด 30 ปี ช่วงนี้นั้นเองที่เขาเขียนภาพระดับโลกไว้มากมาย โดยเฉพาะ The Last Judgment ซึ่งใช้เวลาในการเขียนถึง 6 ปี มีเกเจโล บูโอนาร์โรตี เสียชีวิตเมื่ออายุได้ 90 ปี
The last Judment “การตัดสินครั้งสุดท้าย” เป็นจิตกรรมฝาผนังที่เขียนภายในชาเปลซิสตินในนครรัฐวาติกัน สิบปีหลังจากเขียนเพดานซาเปลซิสติน
ชาเปล เป็นสิ่งก่อสร้างอิสระหรือโครงสร้างภายในสิ่งก่อสร้างของคริสต์ศาสนสถาน ถ้าเป็นสิ่งก่อสร้างอิสระก็มีขนาดต่าง ๆ ตั้งแต่ ขนาดมหาวิหาร ไปถึงวัดน้อยเล็กๆ ข้างทาง ชาเปลหรือวัดน้อยที่เป็นส่วยหนึ่งของสิ่งก่อสร้างอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของมหาวิหาร,วัดใหญ่ๆ,ปราสาท,วัง,คฤหาสน์,วิทยาลัย,โรงพยาบาล,คุก, หรือสุสานบางครั้งสร้างเพื่อจุดประสงค์อย่างใดอยางหนึ่งเป็นพิเศษ
ชาเปลซิสติน เป็นชาเปลภายในวังพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นที่ประทับอย่างเป็นทางการของพระสันตะปาปาตั้งอยู่ในนครรัฐวาติกัน ชาเปลซิสตินมีชื่อเสียงในทางสถาปัตยกรรมเพราะเป็นสถานที่ที่ทำให้ระลึกถึงวัดโซโลมอนใน พันธสัญญาเดิม,การตกแต่ง,จิตรกรรมฝาผนังโดยจิตกรผู้มีชื่อเสียงในยุคเรอเนซองส์รวมทั้ง ไมเคิล แอนเจโล ผู้วาดเพดานของชาเปลที่เป็นที่เลื่องลือ และสุดท้ายคือความสำคัญในการเป็นสถานที่ทถพิธีทางศษสนาของพระสันตะปาปาโดยเฉพาะการเลือกตั้งพระสันตะปาปาองค์ใหม่
เพดานชาเปลซิสติน เป็นจิตรกรรมฝาผนังบนเพดาน ภาพเขียนบนเพดานเป้ฯส่วนหนึ่งของหัวข้อใหญ่ในการตกแต่งภายในทั้งหมดของชาเปลที่รวมทั้งจิตกรรมฝาผนัง “การตัดสินครั้งสุดท้าย” และภาพเขียนอื่น ๆ โดยกลุ่มจิตกรชั้นนำของยุคเรอเนซองส์ ที่รวมทั้งซานโดร บอตติเชลลีและเปียโต เปรูจิโน และพรมทอแขวนผนังชุดใหญ่โดยราฟาเอล หัวใจของภาพทั้งหมดสะท้อนปรัชญาของ โรมันคาทอลิก
หัวใจของภาพเขียนบนเพดานเป็นฉากเก้าฉากจากพระธรรมปฐมกาลตั้งแต่วันที่ 1ถึงวันที่ 9 ในบรรดาเก้าภาพ ภาพที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดคือภาพพระเจ้าสร้างอาดัม ที่กลายมาเป็นรูปสัญลักษณ์ที่เป็นที่รู้จักพอๆกับ “โมนาลิซ่า”
Last Judgment การพิพากษาครั้งสุดท้าย ตามหลักอวสานวิทยาศาสนาคริสต์ หมายถึง วันที่พระเจ้าทรงพิพากษาบรรดาประชาชาติต่าง ๆ ซึงจะเกิดขึ้นหลังจากการคืนชีพของบรรดาผู้ตายและการเสด็จมาครั้งที่สองของพระเยซู ซึ่งเป็นหัวข้อที่นิยมกันมากในงานศิลปะ
มิเกเอลเจโล เกลียด ดาวินชี่ ทั้งที่เป็นคนในยุคสมัยเดียวกัน อายุอ่อนกว่า ดาวินชี่ เพียง 22 ปี นัยว่าเดินคนละทาง มิเกเอลเจโล ในช่วงปี ค.ศ. 1497-1500 มีเกลันเจโล ได้สร้างประติมากรรมหินอ่อนอีกช้นหนึ่งที่มีชื่อว่า ปีเอตะ Pieta ซึ่งปัจจุบันอยู่ในมหาวิหารนักบุญเปโตรที่กรุงโรม
เมื่ออายุ 30 ปี เขาไถกเชิญให้กลับมาที่กรุงโรม เพื่ออกแบบหลุมฝังศพให้กับสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 ซึ่งใช้เวลาประมาณ 40 ปี หลังจากแก้หลายครั้งหลายครา จนมาสำเร็จในปี ค.ศ. 1545 ต่อมาในปี ค.ศ. 1546 เขาเป็นสถาปนิกคนสำคัญในการสร้างมหาวิหารนักบุญเปโตรที่กรุงโรม ที่มีความยิ่งใหญ่และงดงามเป็ฯอย่างมาก ซึ่งถือเป็นสภาปัตยกรรมชิ้นเอกของโลก โดยเฉพาะส่วนที่เป็นโดม ก่อนถึงมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ ข้าหน้าจะเป็นลานกว้าง Piazza San Pietro(St.Pietro Square) ล้อมรอบด้วยเสาดอริค 284 ต้น และรูปปั้นนักบุญ 96 รูป ตรงกลางลานมีเสาโอลิสก์จากอียิปต์ ด้านหน้ามหาวิหาร โดมขนากมหึมาที่ครอบมหาวิหารออกแบบโดยไมเคิลแองเจโล ตัววิหารสร้างโดยศิลปินหลายคนใช้เวลาสร้างรวม 150 ปี
มหาวิหารนักบุญเปโตรเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่และสำคัญที่สุดในนครรัฐวาติกัน สร้างทับวิหารเดิมที่ชื่อเดียวกัน โดมของมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์สูงโดดเด่น โบสถ์นี้ตั้งอยู่ในเนื้อที่ ประมาณ 2.3 เฮกตาร์จุคนได้กว่า 60,000 คน เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิที่สุดที่หนึ่งในคริสตจักรโรมันคาทอลิก ที่ตั้งโบสถ์เชื่อกันว่าเป็นสถานที่ฝังร่างของ นักบุญเปโตร ซึ่งเป็นหนึ่งในอัตคทูตของพระเยซู
ตัวมหาวิหารปัจจุบันเริ่มสร้างเมืองวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1506 บนโบสถ์แบบคอนแสดนทีน และเสร็จเมือปี ค.ศ. 1626 แต่เดิมนั้นมหาวิหารนักบุญเปโตร มิได้เป็นสถานที่พำนักประจำตำแหน่งของพระสันตะปาปาเช่นปัจจุบันนี้ แต่ก็ยังควเป็นโบสถ์สำคัญแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นโบสถ์ที่ตั้งอยู่ในตัวนครรัฐวาติกัน และมีเนื้อที่มาก การทำพิธีต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับพระสันตะปาปาก็จะมาทำกันที่นี่
เขาใช้ชีวิตในบั้นปลายปยู่ในกรุงโรม ตลอด 30 ปี ช่วงนี้นั้นเองที่เขาเขียนภาพระดับโลกไว้มากมาย โดยเฉพาะ The Last Judgment ซึ่งใช้เวลาในการเขียนถึง 6 ปี มีเกเจโล บูโอนาร์โรตี เสียชีวิตเมื่ออายุได้ 90 ปี
The last Judment “การตัดสินครั้งสุดท้าย” เป็นจิตกรรมฝาผนังที่เขียนภายในชาเปลซิสตินในนครรัฐวาติกัน สิบปีหลังจากเขียนเพดานซาเปลซิสติน
ชาเปล เป็นสิ่งก่อสร้างอิสระหรือโครงสร้างภายในสิ่งก่อสร้างของคริสต์ศาสนสถาน ถ้าเป็นสิ่งก่อสร้างอิสระก็มีขนาดต่าง ๆ ตั้งแต่ ขนาดมหาวิหาร ไปถึงวัดน้อยเล็กๆ ข้างทาง ชาเปลหรือวัดน้อยที่เป็นส่วยหนึ่งของสิ่งก่อสร้างอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของมหาวิหาร,วัดใหญ่ๆ,ปราสาท,วัง,คฤหาสน์,วิทยาลัย,โรงพยาบาล,คุก, หรือสุสานบางครั้งสร้างเพื่อจุดประสงค์อย่างใดอยางหนึ่งเป็นพิเศษ
ชาเปลซิสติน เป็นชาเปลภายในวังพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นที่ประทับอย่างเป็นทางการของพระสันตะปาปาตั้งอยู่ในนครรัฐวาติกัน ชาเปลซิสตินมีชื่อเสียงในทางสถาปัตยกรรมเพราะเป็นสถานที่ที่ทำให้ระลึกถึงวัดโซโลมอนใน พันธสัญญาเดิม,การตกแต่ง,จิตรกรรมฝาผนังโดยจิตกรผู้มีชื่อเสียงในยุคเรอเนซองส์รวมทั้ง ไมเคิล แอนเจโล ผู้วาดเพดานของชาเปลที่เป็นที่เลื่องลือ และสุดท้ายคือความสำคัญในการเป็นสถานที่ทถพิธีทางศษสนาของพระสันตะปาปาโดยเฉพาะการเลือกตั้งพระสันตะปาปาองค์ใหม่
เพดานชาเปลซิสติน เป็นจิตรกรรมฝาผนังบนเพดาน ภาพเขียนบนเพดานเป้ฯส่วนหนึ่งของหัวข้อใหญ่ในการตกแต่งภายในทั้งหมดของชาเปลที่รวมทั้งจิตกรรมฝาผนัง “การตัดสินครั้งสุดท้าย” และภาพเขียนอื่น ๆ โดยกลุ่มจิตกรชั้นนำของยุคเรอเนซองส์ ที่รวมทั้งซานโดร บอตติเชลลีและเปียโต เปรูจิโน และพรมทอแขวนผนังชุดใหญ่โดยราฟาเอล หัวใจของภาพทั้งหมดสะท้อนปรัชญาของ โรมันคาทอลิก
หัวใจของภาพเขียนบนเพดานเป็นฉากเก้าฉากจากพระธรรมปฐมกาลตั้งแต่วันที่ 1ถึงวันที่ 9 ในบรรดาเก้าภาพ ภาพที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดคือภาพพระเจ้าสร้างอาดัม ที่กลายมาเป็นรูปสัญลักษณ์ที่เป็นที่รู้จักพอๆกับ “โมนาลิซ่า”
Last Judgment การพิพากษาครั้งสุดท้าย ตามหลักอวสานวิทยาศาสนาคริสต์ หมายถึง วันที่พระเจ้าทรงพิพากษาบรรดาประชาชาติต่าง ๆ ซึงจะเกิดขึ้นหลังจากการคืนชีพของบรรดาผู้ตายและการเสด็จมาครั้งที่สองของพระเยซู ซึ่งเป็นหัวข้อที่นิยมกันมากในงานศิลปะ
วันพุธที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2555
Da Vinci
เลโอนาร์โด ดา วินชี เป็นชาวอิตาเลียน(ค.ศ.1452-1519) เป็นอัจฉริยะบุคคล มีความสามารถหลากหลาย มีผลงานทั้งศิลปะ มากมาย ผลงานที่มีชื่อเสียง อาทิ โมนาลิซ่า พระกระยาหารมื้อสุดท้าย ทั้งยังสร้างคุณประโยชน์กับวิชากายวิภาคศาสตร์ ดาราศาสตร์ และวิศวกรรมโยธาด้วย
วิทูเวียนแมน
เป็นการพิสูจน์ทฤษฎี ของ “มอร์คัส วิทรูเวียส โพลิ ออ” ซึ่งเป็นนักเขียน สถาปนิก และวิศวกร แห่งอาณาจักรโรมัน มีหน้าที่น้างเครื่องกลต่าง เพื่อใช้ในการทำสงคราม ในยุคสมัยของเขา เขาไม่ใช้คนสำคัญหรือมีชื่อเสียงแต่อย่างใด นักประวัติศาสตร์เชื่อว่า วิทรูเวยสเป็นผู้เขียนตำราชื่อ “เดออาร์คิเท็คทูร่า” หรือรู้จักกันในนามของ “เท็น บุคส์ ออฟ อาร์คิเทคเจอร์” เป็นหนังสือเล่มเดียวเกียวกับสถาปัตยกรรมในยุคนั้นที่มีหลักฐานหลงเหลือมาจนถึงปัจจุบัน
ข้อความที่ได้รับการอ้างอิงมากที่สุด และยังคงใช้กันมาต่อเนื่องกระทั่งปัจจุบัน คือ สถาปัตยกรรม ต้องมี คุณลักษณะสามประการ ได้แก่ เฟริมเนส คือ ความแข็งแรง คอมมอดิตี้ หรือ ใช้การได้ และ ดีไรท์ ความคงทน
แนวคิดสำคัญอีกประการของวิทรูเวียสคือ แนวคิดเกี่ยวกับการมองสถาปัตยกรรมเป็นการสร้างสรรค์เลียนแบบองค์ประกอบของธรรมชาติ เพราะมนุษย์ต้องใช้วัสดุจากธรรมชาติมาสร้างสถาปัตยกรรม ภาษาของสถาปัตยกรรมที่เกิดขึ้นต้องมีความสัมพันธ์กับลักษณะทางธรรมชาติของมนุษย์ ซึ่งหลักการนี้ชาวกรีกได้มีการนำไปเป็นพื้นฐานในการพัฒนาองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมคลาสสิก เช่น เสาดอริก ไอโอนิค ทุกสัดส่วนที่เกิดขึ้นนั้น มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่งานอันเป็นสุดยอดแห่งการสร้างสรรค์ของธรรมชาติได้แก่ร่างกายของมนุษย์ นั่นเอง
แนวคิดเกี่ยวกับร่างกายมนุษย์ดังกล่าวได้รับการนำไปถ่ายถอดเป็นภาพเขียนที่ที่มีชื่อเสียงชื่อ “วิทรูเวียนแมน” หรือมนุษย์ของ วิทรูเวียส ซึ่งเขียนโดย เลโอนาร์โด ดา วินชี ด้านบนและด้านล่างของภาพ เต็มไปด้วยตัวอักษรหลายบรรทัดซึ่ง ลีโอนาร์โด บันทึกไว้ด้วยตัวอักษรแบบกลับด้าน ถอดความได้ว่า “ภาพนี้วาดเพื่อเป็นการศึกษาสรีระของร่างกายมนุษย์เพศชาย ตามที่ถูกบันทึกไว้โดยวิทรูเวียส”
ก่อนหน้าเลโอนาร์โด หลายคนได้วาดภาพวิทรูเวียนเมน โดยพยายามยัดคนลงไปในจตุรัสที่อยู่ในศมีของวงกลม มีจุดศูนย์กลางเดียวกันได้ผลลัพธ์เป็นคนที่สัดส่วนแปลกไป เช่นวิทรูเวียนแมน ของเซซารีอาโน ค.ศ.1521
เลโอนาร์โด ใช้ข้อมูลการศึกษาของตนเองมาเปรียบเทียบกับคำอธิบายของวิทรูเวียส จึงแก้รายละเอียดในขอ้สรุปของวิทรูเวียสได้ คือคนกางแขนขาจะตกอยู่ในกรอบจตุรัสและวงกลมได้จริง แต่ตัวจตุรัสและวงกลมไม่สัมพันธ์กัน และไม่มีจุดศูนย์กลางร่วมกัน ในขณะที่สะดือเป็นจุดศูนย์กลางของคนในวงกลมจริง แต่จุดศูนย์กลางของคนในจตุรัสจะอยู่ต่ำลงมา
เลโอนาร์โดศึกษาสัดส่วนมนุษย์และระบบการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ มาโดยตลอดและเป็นคนเดียวที่ศึกษาข้อเท็จจริงอย่างเป็นระบบ เขาศึกษาร่างกายของม้าเพื่อทำประติมากรรมให้สฟอร์ซา และสามารถสรุปภาพรวมสัดส่วนร่างกายมนุษย์ และพิสูจน์ทฤษฎี ของวิทรูเวีนสได้สำเร็จ
เลโอนาร์โดศึกษากายวิภาพมนุษย์พร้อมระบบการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ซึ่งก่อนหน้าเลโอนาร์โด ไม่เคยมีใครศึกษาและบันทึกกายวิภาคมนุษย์อย่างละเอียดและถูกต้อง แม้ว่าในวงการแพทย์จะตระหนักถึงความจำเป็นในองค์ความรู้นี้ก็ตาม การผ่าศพเพื่อศึกษาอวัยวะภายใน จะถูกกล่าวหาว่าเป็นคนนอกศาสนาทำงานให้ซาตาน สฟอร์ซาซึ่งเป็นฮิวแมนนิสต์ผุ้มีอิทธิพลกล้าสนับสนุนและอนุญาตให้เลโอนาร์โด ผ่าศพในสตูดิโอได้ การครหาและข่าวลือต่างๆ ถึงกับกล่าวหาว่าเลโอนาร์โดเป็นพวกเล่นแร่แปรธาตุที่พยายามปลุกผีฟื้นชีวิต และยังถูกทางศาสนากล่าวประจานในที่สาธารณะอีกด้วย
เลโอนาร์โด ผ่าศพกว่า 30 ศพศึกษาแทบทุระบบรวมถึงระบบเลื่อดและระบบประสาท ทั้งผ่าทั้งวาด ซึ่งเขาต้องค่อยๆ แซะเนื้อเยื้อเพื่อให้เห็นการโยงใยของทั้งระบบที่ละระบบ และผ่าสมอง จากนั้นก็เปรียบเทียบโครงสร้างมนุษย์และกายวิภาพของสัตว์ต่างๆ และสามารถสรุปข้อเหมือนและข้อแตกต่างของกายวิภาคคนและสัตว์
โมนาลิซา
โมนา ลิซ่า หรือ ลาโชกงด์ คือภาพวาดสีน้ำมัน สูง 77 เชนติเมตร กว้าง 53 เซนติเมตร เป็นภาพสตรียิ้มอันเป็นปริศนา ที่ไม่รู้ว่าเธอจะยิ้ม หัวเราะ หรือร้องไห้กันแน่ ปัจจุบันอยู่ในความครอบครองของรัฐบาลฝรั่งเศส และเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ Musee du Louver กรุงปารีส ประเทสฝรั่งเศส ราคาประเมิน 22,337,782,886 บาท เมือปี 2006
“โมนาลิซ่า” นั้นได้ถูกตั้งขึ้นโดย จอร์โจ วาซารี ศิลปิน และนักชัวประวัติชาวอิตาลี หลังจากดา วินชีเสียชีวิตไป 31 ปี ในหนังสือที่เขาตีพิมพ์ได้บอกไว้ว่าผู้ที่นั้งอยู่ในรูปนั้นคือ ลีชา เกอราร์ดีนี ภรรยาของขุนนางนักธุรกิจไหมผู้มั่งคั่ง ชาวเมืองฟลอเรนซ์นามว่า ฟรานเชสโก เดล โจกอนโด
คำว่า “โมนา” ในภาษาอิตาลีนั้นก็คือคำว่า มาดอนน่า คุณผู้หญิง หรือ มาดาม ในภาษาอังกฤษ ดังนั้นความหมายของชื่อนั้นก็คือ “มาดาม ลิซ่า” แต่ในปัจจุบันบางก็ใช้คำว่า “มอนนา ลิซ่า”
ภาพโมนสลิซ๋าว่าโดย ดา วินชี ซึ่งใช้เวลาในการวาดถึง 4 ปี คือ ตั้งแต่ ค.ศ.1503-1507 ในปี ค.ศ. 1516 ดา วินชีนำ “โมนาลิซ่า”จากอิตาลีไปฝรั่งเศส ด้วยพระราชประสงค์ของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 ที่ทรงปรารถนาที่จะให้ศิลปินมารวมตัวทำงานกันที่ Clos Luce ใกล้กับปราสาทในเมืองอัมบัวส์ และทรงให้ ดา วินชี่ วาดพระบรมฉายาลักษณ์ หลังจากนั้นพระองค์ก็ทรงชื้อ “โมนาลิซ่า” ในราคา 40,000 เอกือ
ดา วินชี เสียชีวิตที่เมืองอัมบัวส์ ฝรั่งเศส เมืออายุได้ 67 ปี ซึ่งได้ยกสมบัติและภาพวาดทั้งหมดให้เป็นมรดกของผุ้ติดตามเขา ฟรานเชสโก เมลชิ และเมื่อฟรานเชสโก เมลชิ เสียชีวิตก็ไม่ได้ยกมรดกให้ใคร มรดกเร่มกระจัดกระจาย ต่อมา “โมนาลิซ่า” ถูกนำไปเก็บไว้ที่พระราชวังฟงเตนโบล และพระราชวังแวร์ซาย ตามลำดับ หลังปฏิวัติฝรั่งเศสถูกนำไปเก็บที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ในห้องสรงของพระเจ้านโปเลียนที่ 1 ในราชวังดุยเลอรี และในที่สุดก็ได้หลับมาที่พิพิธพันธ์เหมือนเดิม
ในช่วงสงคราม ฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ภาพถูกนำออกจากพิพิธภัณฑ์ ไปซ่อนในที่ลับในประเทศฝรั่งเศสเมือปี 1911 “โมนาลิซ่า”ถูกโจรกรรมออกจากพิพิธภัณฑ์ ซึ่งใช้เวลากว่า 2 ปี นางจึงจะกลับมา ซึ่งได้พบที่เมืองฟลอเรนซ์ อิตาลี ปัจจุบันดูแลรักษาอย่างดีในตู้กระจกปรับอากาศกันกระสุน ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ ฝรั่งเศส
โมนาลิซา เป็นภาพเขียนครึ่งตัว portrait สุภาพสตรีผมยาว มีผ้าคลุม หวีผมแสกกลาง เสื้อคลุมสีดำเรียบเห็นใบหน้าเกือบตรง ลำตัวบิดเล็กน้อย มือขวาวางคว่ำสัมปัสข้อมือซ้ายที่วางราบอยู่บนที่วางแขนของเก้าอี้ เบื้องหลังเป็นภาพทิวทัศน์ สงบเงียบ บรรยากาศเร้อนลับ ชวนฝัน
ภาพส่วนขยายนัยน์ตาและรอยยิ้ม ของ
รอยยิ้มโมนาลิซ่า ลักษณะรอยยิ้มของ โมนา ลิซ่ามีการตีความไปต่าง ๆ นานา รอยยิ้มนี้สามารถพบเห็นได้ทั่วไปในงานเขียนของ ดาวินชี เอง แต่มีผู้เห็นว่าภายใต้รอยยิ้มยากที่จะหยั่งของ โมนา ลิซ่า แฝงไว้ด้วย ปริศนาอมตะแห่งอิสตรี
- ซิกมันด์ฟรอยด์ “ลีโอนาร์โดหลงไหลรอยยิ้มของ โมนา ลิซ่า”
- วอลเทอร์ เพเทอร์ พรรณนาไว้ว่า “เธอมีอายุแกกว่าหินผาที่ห้อมล้อมเธอ ประดุจหนึ่งปีศาจดูดเลือด เธอได้ตายมาแล้วหลายคราและหยั่งรู้ความลึกลับแห่งหลุ่มศพ”
ในศตวรรษที่ 19 เธอถูกโจรกรรม 2 ปี โดยไปพบที่บ้านเกิดเธอที่ฟรอเรนซ์ คนรุ่นใหม่ยังคงค้นหาปริศนาของเธอ แม้ว่าจะมีความคลางแคลงใจว่าจะไม่ใช่ ลิซ่าคนเดิม
- ศาสตราจารย์ มาร์กาเร็ต ไลวิงสโตน จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา กล่าวว่า รอยยิ้มของโมนาลิซ่า จะปรากฎเมื่อเราจอจ้องที่ส่วนอื่น ๆ ของรูป แต่รอยยิ้มนั้นจะหายไปทันที เมื่อเราจ้องไปที่ริมฝีปากเพียงอย่างเดียว และที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะกระบวนการการส่งข้อมูลของสายตาทให้เราเห็นเช่นนั้น การมองของมนุษย์มีสองแบบ เรียกว่า โฟเวียล เป็นการมองเฉพาะจุด เพื่อเก็บรายละเอียด แต่อาจจะไม่เหมาะกับการมองแสงเงา ส่วนอีกแบบคือการมองแบบเพอริเฟอรอล ซึ่งเป็นการมองส่วนรอบนอก ความลับของรอยยิ้มบนใบหน้า โมนาลิซานั้นขึ้นอยู่กับระยะสายตาของผุ้ชม และเราจะเห็นรอยยิ้มนั้นก็ต่อเมือเรามองแบบเพอริเฟอรอล เวลาที่ชมภาพคนส่วนมากจะมองที่ใบหน้าตรงๆ จะไม่มองเป็นจุด ๆ หรือเฉาพะที่ ซึ่งศาสตราจารย์ไลวิงสโตน ได้ยกตัวอย่างของผลลัพธ์ที่เกิดจากากรมองตัวอักษรบนหน้าหนังสือ
เวลาที่เรามองตัวอักษรตัวใดตัวหนึ่ง เราก็จะมองตัวอักษรอื่น ๆ ได้ค่อนข้างลำบาก หรือมองได้ไม่ถนัด และลีโอนาร์โด ก็ได้นำวิธีนี้มาใช้ในการวาดภาพโมนาลิซา รอยยิ้มของภาพวาดนี้จะปรากฎก็ต่อเมือเรามองที่ดวงตา หรือส่วนอื่น ๆ บนใบหน้าที่ไม่ใช้ริมฝีปากของเธอ
- ทีมนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยแห่งกรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ ออกมา ในความเห็นอย่างชัดเจนว่า ยิ้มที่ปรากฎอยู่บนภาพของโมนาลิซา นั้นเป็นยิ้มที่เปี่ยมสุข ถึง 83 เปอร์เซนต์ ผลวิเคราะห์อารมณ์บนใบหน้าของโมนาลิซา ยังแสดงอารมณ์อื่น ๆ ออกมาอีกว่า ใบหน้าของเธออีก 9 เปอร์เซ็น แสดงถึงความชิงชัง 6 เปอร์เซ็นต์ แสดงถึงความหวาดกลัว และแสดงอารมณ์โกรธผ่านใบหน้าเดียวกันออกมา 2 เปอร์เซ็น
ซอฟแวร์การจดจำอารมณ์ เป็นโปรแกรมที่พวกเขาพัฒนาขึ้น โดยร่วมมือกับนักพัฒนาจากมหาวิทยาลัย อิลลินอยส์ เพื่อใช้กับผลงานชิ้นเอกของ ดาวินชี่ อย่างไรก็ตาม หัวหน้าทีมวิจัย เปิดเผยว่า บรรดาผุ้ร่วมงานต่างรู้ดีว่าผลการวิเคราะห์ไม่ได้เป็นไปตามหลักวิทยศาสตร์ ซอฟต์แวร์ลิ้นดังกล่าวไม่ได้ออกแบบมาให้จดจำอารมณ์หรือสีหน้าที่แสดงออกมาเป็น “เลสนัย” ดังนั้นจึงไม่สามารถตรวจจับร่องรอยแห่งชู้สาว และความรังเกียจที่หลาย ๆ คนอ่านได้ผ่านดวงตาของเธอ
- คริสโตเฟอร์ เทย์เลอร์ และลีโอนอยด์ คอนต์เซวิช แห่งสถาบันวิจัยทางจักษุสมิธ-แคตเทิลเวลล์ ในซานฟรานซิสโกเชื่อว่า เหตุที่โมนาลิซายิ้มโปรยปรายได้ขนาดนี้ก็เพราะ “นอยซ์” หรือมีสัญญาณรบกวนเกิดขึ้นในระบบการับรู้ทางสายตาของผู้ที่มองภาพอันบันลือโลกนี้ นักวิจัยทั้ง 2 ได้นำภาพวาดโมนาลิซาบันทึกลงคอมพิวเตอร์ แล้วสุ่มใส่นอยซ์ลงในภาพหลาย ๆ แบบ แต่ในภาพคือจุดสีเล็กที่เกิดขึ้นบนภาพ ทำให้ภาพไม่ชัด อย่างเช่นการดูโทรทัศน์ที่สัญญาณไม่ดีก็จะทำให้เห็นภาพเป็นจุด ๆ นั้นคือ “นอยซ์”
ผลการพินิจดูภาพ โมนาลิซา ที่มีนอยซืมาฉาบไว้นั้น เป็นไปตามความคาดหมายของคริสโตเฟอร์และลีโอนอยซ์ กล่าวคือ นอยซ์ส่วนที่อยู่ตรงมุมปาก ทำปากของโมนาลิซายกขึ้น จึงทำให้โมนาลิซามีใบหน้าเปื้ยนยิ้มอิ่มเอมมีความสุข ส่วนนอยส์อีกภาพหนึ่งที่อยู่บนปากของโมนาลิซากลับทำให้รูปปากแบนลง ภาพนี้เลยทำให้โมนาดูเศร้าสร้อย
อย่างไรก็ตาม จุดรบกวนหรือ นอยซ์เหล่านี้ มีผลต่อผู้สังเกตการณ์ที่มาดูภาพโมนาลิซาที่เคย ๆ เห็น เกิดการรับรู้ที่แตกต่างออกไปจากเกิมได้อย่างประหลาดใจ
เทย์เลอร์ เปิดเผยว่า ระบบการรับภาพในสมองของมนุษย์ทั่งไปจะเปลี่ยนไปตามสิ่งรบกวน และอย่างกรณีภาพโมนาลิซาฉาบนอยซ์ไว้เช่นกัน เมื่อผุ้มอง เห็ฯภาพที่ม่เม็ดสีเล็ก ๆ ไม่ชัดอยู่บนภาพ อนุภาคโฟตอนหรือหน่วนพลังงานของรังสีแสงที่จอตา (เรตินา) รับเข้ามาก็จะเป็นลักษณะแกว่งไปมา จากนั้นเซลล์รับแสงที่จอตาก็จะอ่านค่าเม็ดสีที่มองเห็นผิดเพี้ยน และในที่สุดการรับรู้เม็ดสีที่ผิดเพี้ยนนี้ก็ถูกส่งต่อไปยังประสาท และสมองในที่สุด
“ สิ่งรบกวนโดยธรรมชาติเหล่านี้ ทำให้คนทั่งไปมองภาพ “โมนาลิซา” แล้วเห็นภาพชิ้นนี้เปลี่ยนไป มากกว่าที่จะเห็นเหมือนแต่ก่อนว่าโมนาลิซามีการแสดงสีหน้าที่น่าสงสัยลักลับ “นอยซ์” ทำให้ภาพวาดช้นนี้มีพลังจนถึงปัจจุบัน” พร้อมกับกล่าวว่า ที่ดาวินชี วาดโมนาลิซาได้ออามาจนลือลั่นขนาดนี้ เพราะดาวินชีรู้ได้ด้วยสัญชาติญาณศิลปินของเขาว่า “นอยซ์” สามารถสร้างการรับรู้ที่แตกต่างของคนต่างออกไป
ดวงตาโมนาลิซ่า
ในการค้นหาปริศนาดาวินชี่ นอกจากรอยยิ้มที่น่าพิศวงแล้วดวงตายังเป็นสิ่งที่เป็นจุดสนใจ ว่าดาวินชี่จะซ่อนปริศนาอะไรไว้หรือเปล่า โดยในการค้นคว้าล่าสุด นักวิจัยชาวอิตาเลียน ค้นพบว่าในดวงตาข้างซ้ายมีอักษร ce โดยบางคนว่าน่าจะเป็น b มากกว่า และในดวงตาข้างขวา มีอักษร lv และสะพานตรงส่วนโค้งทางด้านหลังมีตัวเลข 72 หรือ l2
มีผู้ตั้วข้อสังเกตว่า อาจจะไม่ใช่รหัสของดาวินชี่ แต่อาจเป็นเพียงความบังเอิญหรือผิดพลาดของผู้ที่มาซ่อมแซมภาพเท่านั้น
ซิลวาโน วินเซติ ประธานกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมรดกทางวัฒนธรรมของอิตาลี ซึ่งเป็นนักประวัติศาสตร์ศิลป์ชื่อดังด้วย ยืนยันว่า สัญลักษณ์ดังกล่าว เป็นของแท้จากพู่กันดาวินชี่แน่นอน และไม่ได้เกิดจากความบังเอิญแต่ประการใด เพราะดาวินชี่เป็นคนขี้เล่น และชอบซ่อนความลับไว้ตรงนั้นตรงนี้ โดยเฉพาะในผลงานของเขาเสมอจึงเป็นไปไม่ได้ว่าจะไม่มีอะไรซ่อนไว้ในภาพสุดรักของเขา แต่ก็ยังเป็นปัญหาคือ “สารลับ”ต้องการสื่อถึงอะไร
นอกจากนี้ยังมีการค้นพบสัตว์ต่างๆ ที่เป็นภาพพื้นหลังอยู่ในลักษณะกลับหัวทางด้านซ้ายและขาวของรูปอีกด้วย
พระกระยาหารค่ำมื้อสุดท้าย
ซันตามาเรียเดลเลกราซีเอ Santa Maria delle Grazie หรือพระแม่มาแห่งพระหรรษทาน เป็นโบสถ์และคอนแวนด์ของคณะดอมินิกัน ตั้งอยู่ที่มิลาน ประเทศอิตาลี เป็นที่ตั้งของจิตรกรรมฝาผนัง “พระกระยาหารมื้อสุดท้าย” ที่เขียนโดย เลโอนาร์โด ดา วินชีภายในหอฉันของคอนแวนต์
ดยุคแห่งมิลาน ฟราเชสโคที่ 1 สฟอร์ชาเป็นผู้สั่งให้สร้างคอนแวนต์ของคณะดอมินิกัน และโบสถ์ในวังที่เป็นที่ตั้งของชาเปลที่อุทิศให้แก่พระแม่มารีแห่งหรรษทาน สถาปนิกคือกุยนิฟอร์เด โซลารี คอนแวนต์สร้างเสร็จในปี ค.ศ. 1469 และโบสถ์มาสร้างเสร็จที่หลัง
พระกระยาหารค่ำมื้อสุดท้าย หรือ The Last Supper เป็นจิตรกรรมฝาผนัง ที่วาดโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี ให้แก่ผู้อุปถัมภ์ดยุก โลโดวิโค สฟอร์ชา เป็นภาพที่มาจากพระกระยาหารค่ำมื้อสุดท้ายของพระเยซูก่อนที่พระองค์จะทรงถูกนำไปตรึงกางเขนซึ่งเป็นข้อมูลที่มาจากคัมภีร์ไบเบิ้ล ภาพวาดนี้ไม่สามรถเคลื่อย้ายได้ ภาพวาดนี้ยังเป็นภาพวาดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของเลโอนาร์โด ดา วินชี ที่ยังคงสภาพให้มองเห็นได้ในปัจจุบัน และยังเป็นหนึ่งในบรรดาจิตรกรรมที่รู้จักกันอยู่ทั่วโลก
ภาพกระยาหารค่ำมื้อสุดท้าย เป็นภาพที่บรรยายให้เห็นถึงปฏิกิริยาของแต่ละอัครสาวกในช่วงเวลาสำคัญที่สุดช่วงหนึ่ง คือเมื่อพระเยซูได้ทำนายว่า หนึ่งในผู้ร่วมโตะอาหารมื้อนั้นจะทรยศพระองค์ โดยชื่อของอัครสาวกถูกระบุจากต้นฉบับ ในศตวรรษที่ 19 โดยเรียงลำดับจากซ้ายไปขวาแบ่งเป็นกลุ่มได้ดังนี้
- บาร์โทโลมิว,เจมส์ ลูกของอัลเฟียส และแอนดูรว์ ทั้งกลุ่มแสดงอาการตกใจ
- จูดาส์ อิสคาริออท,ปีเตอร์ และจอห์น จูดาส์ใส่ชุดสีเขียวและสีน้ำเงินผงะถอยหลังเมื่อแผนถูกเปิดโปงอย่างกะทันหัน ปีเตอร์มีท่าทางโกรธและในมือขวาถือมีดชี้ออกจากพระเยซู และอัครสาวกที่อยุน้อยที่สุด จอห์นดูเหมือนจะเป็นลม
- พระเยซู
- ทอมัส,นักบุญเจมส์ใหญ่ และ ฟิลลิป ทอมัสแสดงท่าทางหงุดหงิด เจมส์ดูตะลึงพร้อมยกมือขึ้นกลางอากาศ ส่วนฟิลลิปดูเหมือนกำลังขอคำอธิบาย
-มัทธิว,จูด แทดเดียส และไซมอนซคลลอท ทั้งทัทธิว และจูด แทดเดียส หันไปคุยกับไซมอน
องค์ประกอบของภาพมีพระคริศต์อยู่ตรงกลาง พระพักตร์สงบนิ่ง ดาวินชีสามารถถ่ายทอดอารมณ์และท่าทางของเหล่าสาวกแต่ละองค์ได้อย่างน่าสนใจ เส้นอันเกิดจากความโกลาหลของบุคคลในภาพที่เคลื่อนไหวไปมาขัดแย้งกับท่าทางของพระคริสต์ที่นิ่งเฉย ฉากหลังมีการใช้หลักทัศนีวิทยา ให้เส้นพุ่งตรงเข้าหาพระคริสต์ที่อยูตรงกลาง ด้านหลังสุดมีหน้าต่างจำนวน 3 บานเผยให้เห็นภาพทิวทัศน์ที่สามารถมองทะลุออกไปไกลช่วยให้งานจิตรกรรมมีความลึกคล้ายภาพที่มองเห็นจริงในธรรมชาติ ซึ่งเป็นลักษณะสำคัญของพัฒนาการในงานจิตรกรรมสมัยเรอเนสซองซ์ และควบคุมโทนสีและบรรยากาศของภาพให้ดูมือสลัวเพื่อต้องการแสดงบรรยากาศที่ศักดิ์สิทธิ์และลึกลับ และมีการไล่น้ำหนักแสงเงาเลียนแบบธรรมชาติได้อย่างน่าอัศจรรย์
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...