วันอังคารที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2555
Communication Approach
"การสื่อสารเป็นสายใยของสังคม ซึ่งโึครงของระบบการสื่อสารเปรียบเทียบกับโครงกระดูกของร่างกาย เนื้อหาของการสื่อสาร คือสิ่งที่มนุษย์ใช้ติดต่อกัน การไหลของข่าวสารจะกำหนดทิศทางและความรวดเร็วในการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ดังนั้น จึงอาจจะวิเคราะห์กระบวนการทางสังคมทุกชนิดในแง่ของโครงสร้าง เนื้อหา และการไหลของการสื่อสารได้" ลูเซี่ยน พาย นักรัฐศาสตร์
ลักษณะการวิเคราะห์การติดต่อสื่อสาร เป็นการศึกษาตามแนวทางของสำนักพฤติกรรมศาสตร์ โดยมุ่งพิจารณาที่กระบวนการว่ามีการดำเนินการไปอย่างไรและมุ่งเน้นที่การทำความเข้าใจการเมืองโดยอาศัยรูปแบบของกระบวนการติดต่อสื่อสารเป็นประเด็นสำคัญ
ความหมายและองค์ประกอบพื้นฐานของการสื่อสาร
- การสื่อสารเป็นการสร้างความร่วมกันและความเหมือนกัน
- การสื่อสารเป็นการแลกเปลี่ยนสัญญาข่าวสารระหว่างบุคคล อันก่อให้เกิดความเข้าใจระหว่างบุคคล 2 ฝ่าย หรือมากกว่านั้น
- การสื่อสารเป็นศิลปะการถ่ายทอดข่าวสาร ความคิดเห็น ทัศนคติ จากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่่่ง
- การสื่อสารเป็นกระบวนการถ่ายทอดจากผู้ส่งไปยังผู้รับ โดยผ่านช่องทางซึ่งสามารถนำสารไปถึงผู้รับได้
ดังนั้น การสื่อสารเป็นการแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่งเพื่อความเข้าใจตรงกัน
ลักษณะของการสื่อสาร จึงเป็นการแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างบุคคล ซึ่งการแลกเปลี่ยนดังกล่าว ย่อมขึ้นอยู่กับพื้นฐานของบุคคล ความสัมพันธ์ของบุคคลและสภาพแวดล้อมของบุคคลด้วย
การสื่อสารมีลักษณะกระบวนการแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างบุคคล ดังนั้น องค์ประกอบสำคัญของการสื่อสารจึงได้แก่ ผู้ส่งสาร สาร สื่อหรือช่องทางและผู้รับสาร ดังจะเห็นได้จากตัวแบบการะบวนการสื่อสารพื้นฐานดังนี้
องค์ประกอบของการสื่อสาร
- ผู้ส่งสาร เป็นจุดเริ่มต้นของการสื่อสารหมายถึงแหล่งกำเนิดของสาร โดยที่ผู้ส่งสารอาจจะเป็นบุคคลตั้งแต่หนึ่งคนขึ้นไปที่กระทำการแลกเปลี่ยนข่าวสารกับผู้อื่น โดยจัดส่งข่าวสารไปตามสื่ออย่างใดอย่างหนึ่ง
- สาร หมายถึง สิ่งที่ทำหน้าที่กระตุ้นความหมายให้กับผู้รับเป็นข่าวสารที่บุคคลมุ่งแลกเปลี่ยนกันในกระบวนการสื่อสารที่มุ่งจะแลกเปลี่ยนกันเพื่อให้เกิดผลในสิ่งบุคคลปรารถนา หรือเป็นสาระเรื่องราวที่ส่งออกไปจากผู้สื่อสารถึงผู้รับสาร อาจจะเน้นความคิด หรือเรื่องราวใดๆ ที่ส่งผ่านไปตามสื่อได้ สารอาจจะเป็นข้อความ คำพูด รูปภาพ สัญลักษณ์หรือกริยาท่าทางก็ได้
- ช่องทางหรือสื่อ เป็นสิ่งที่จะนำสารจากผุ้ส่งไปยังผุ้รับ โดยอาจจะเป็นสิ่งที่เห็นได้ง่าย เช่น คำพูด หรือเป็นสิ่งที่สลับซับซ้อน ประกอบด้วยวัสดุ.. โดยทั่วไปแล้วมักจะแบ่งสื่อออกเป็น 2 ประเภท คือ สื่อมวลชน และสื่อบุคคล อันหมายถึงการสื่อสารระหว่างบุคคล
- ผู้รับสาร คือบุคคลที่รับข่าวสารจากแหล่งสารและเป็นจุดหมายปลายทางที่สารส่งไปถึง ซึ่งผู้รับสารอาจจะเป็นบุคคลเดียวกันเป็นบุคคลหลายคน หรือเป็นกลุ่มคนจำนวนมากก็ได้
- ผลกระทบ เกิดขึ้นเมื่อผู้รับสารได้รับสารแล้วจะมีการแปลความหมายของสารนั้น
- ผลย้อนกลับ ฟีดแบ็ก ประกอบด้วย สารที่ผุ้รับได้แสดงออกเพื่อให้ผู้ส่งได้ทราบถึงผลของสารที่ผู้ส่งได้ส่งไปให้ผู้รับ กล่าวคือ ผลย้อนกลับเกิดขึ้นเมื่อผู้ส่งสารแปรเปลี่ยนมาเป็นผู้รับสาร โดยเฉพาะสารใหม่ที่เป็นผลย้อนกลับมานี้ เป็นปฏิกิริยาของสารเดิมที่ผู้ส่งสารได้ส่งออกไปยังผุ้รับสารมาแล้วนั้นคือการย้อนกลับ
การสื่อสารกับระบบการเมือง
ทฤษฎีระบบของ เดวิด อิสตัน ในทุกระบบการเมือง จะประกอบด้วยระบบย่อยเป็นจำนวนมาก เช่น ระบบเศรษฐกิจ ระบบการศึกษาและระบบราชการ ซึ่งรวมกันเป็นระบบใหญ่ คือ ระบบการเมือง ในแต่ละระบบย่อยดังกล่าว มักจะจัดอยู่ในวงจำกัด ถ้าพิจารณาตามทฤษฎีระบบแล้ว จะเห็นว่าประชาชนในฐานะเป็นผู้เรียกร้อง และสนับสนุน ต่อระบบการเมือง ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญอย่างยิ่งที่ทำให้ระบบการเมืองดำเนินไปอย่างปกติหรือมีเสถียรภาพ แต่การขาดประสิทธิภาพของปัจจัยนำเข้าอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ระบบการเมืองดำเนินไปอย่างไม่ราบรื่น หรือขาดเสถียรภาพและถ้าหากระบบการเมืองไม่สามารถปรับตัวให้ระบบการเมืองดำเนินไปอย่างไม่ราบรื่น หรือขาดเสถียรภาำพและถ้าหากระบบการเมืองไม่สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาวะสมดุลได้แล้ว ก็จะเกิดความไร้ประสิทธิภาพทางการเมือง จนทำให้เกิดการแตกสลายของระบบได้ในที่สุด
ในทางตรงกันข้าม ถ้าหากประชาชนแสดงบทบาทเน้นปัจจัยนำเข้าสู่ระบบการเมืองอย่างมีประสิทธิภาพแล้ว ปัจจัยนำเข้าดังกล่าว ได้แก่ การเรียกร้องและการสนับสนุน จึงเป็นข่าวสารที่จะเข้าไปสู่ตัวระบบการเมือง อันได้แก่ รัฐบาล หรือผู้มีอำนาจทางการเมือง ที่เป็นศูนย์กลางของการตัดสินใจและกำหนดนโยบายจะเป็นส่วนสำคัญในการรับข่าวสารเหล่านั้นออกมา ในรูปของการตัดสินใจกำหนดนโยบายต่างๆ ซึ่งข่าวสารอาจจะมีที่มาจากภายในระบบหรือภายในรัฐนั้น เช่น การขึ้นราคาสินค้าของบริษัทผู้ผลิต การชุนนุมประท้วงของกลุ่มเกษตรกร เป็นต้น หรืออาจจะมาจากกระบวนการเมืองอื่น ๆ รหือรัฐอื่น..
จึงเห็นได้ว่า การวิเคราะห์ดังกล่าวสนใจที่พฤติกรรมทางการเมืองของระบบการเือง หรือองค์การทางการเมือง โดยพิจารณาจากกระบวนการสื่อสารและการตัดสินใจนั่นเอง แนววิเคราะห์นี้เห็นว่า การเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการได้มาซึ่งเป้าหมายทั้งหลายของสังคมทั้งหมด และการตัดสินใจดังกล่าวนั้นสามารถบังคับได้ และสาระของการเมืองคือความพยายามของมนุษย์ที่จะบรรลุถึงเป้าหมายของสังคมที่วางไว้ นอกจากนี้ในทุกกระบวนการทางการเมืองจะต้องมีกระบวนการที่จะได้มาซึ่งข่าวสาร กระบวนการเลือกสรรและเก็บข่าวสารและการเลือกใช้ข่าวสารที่ได้รับมาอีกด้วย มิฉะนั้น ระบบการเมืองก็ไม่อาจจะคงอยู่ได้ หรือไม่สามารถจะพัฒนาตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารทางการเมือง
เมื่อหันมาพิจารณาถึงความหมายของคำว่า การสื่อสารทางการเืมืองก็จะพบว่ามีผู้ให้ความหมายหลายท่าน แต่พอจะสรุปดังนี้ การสื่อสารทางการเมืองก็คือ กระบวนการความเข้าใจร่วมกันในทางการเมือง
ในอดีตที่ผ่านมานักรัฐศาสตร์คนสำคัญหลายท่าน ได้พยายามสร้างทฤษฎีเกี่ยวกับระบบการเมืองและกระบวนการต่าง ๆ ในทางการเมือง เพื่อการทำความเข้าใจในเรื่องของการเมือง ซึ่งอยู่ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของระบบการเมืองยิ่งไปกว่านั้นในปัจจุบันนี้
การสื่อสารกับการตัดสินใจทางการเมือง คาร์ล ดอยท์ช ได้เสนอแนะว่า การตัดสินใจอาจจะเกิดขึ้นในรูปของการสื่อสารได้ โดยที่การตัดสินใจนั้นจะต้องอยู่บนฐานของข่าวสารที่ได้รับและเมือตัดสินใจแล้ว จะเกิผลกระทบเป็นผลย้อมกลับไปสู่แหล่งข่าวสารข้อมูลอีกครั้งหนึ่ง
สำหรับกระบวนการตัดสินใจนแง่ของการไลของข่าวสาร มีส่วนประกอบที่สำคัญ เช่น ช่องทางในการสื่อสาร ขนาดของข่าวสารที่เข้ามา และความสามารถในการับข่าวสาร
ช่องทางในการสื่อสารที่สำคัญได้แก่ สื่อมวลชน หน่วยงานของรัฐพรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์ รวมทั้งการติดต่อผ่านตัวบุคคล ซึ่งแาจจะเป็นช่องทางการติดต่อแบบเป็นทางการ หรือไม่เป็นทางการก็ได้
ขนาดของข่าวสารที่เข้ามา คือ จำนวนของข่าวสารที่หลั่งไหลเขามาสู่ระบบการเมืองในแต่ละช่วงเวลา
ความสามรถในการับข่าวสาร ระบบการเมืองจะมีความสามารถในการรับข่าวสารที่ระบบนั้นมีอยู่ว่ามีมากน้อยเพียงใด และมีกี่ประเภท ถ้ามีช่องทางจำนวนมากและมีปลายประเภท ระบบการเมืองก็จะมีความสามารถในการับข่าวสารสูงมาก ซึ่งจะทำให้ระบบการเมืองมีโอกาสได้ล่วงรู้ถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ดีกว่าระบบการเมืองที่มีความสามรถน้อย....
องค์ประกอบสำคัญในการวัดความสามารถในการสื่อสาร และควบคุมของระบบการเมืองอีกประการหนึ่ง คือ ความสามารถในการใช้ขอ้มูลหรือประสบการณ์ในอดีตที่เก็บไว้มาใช้ เพื่อประกอบการตัดสินใจ ในกรณีที่มีเหตุการณ์ใหม่ที่เกิดขึ้นอีกในลักษณะเดียวกัน
ผลที่ได้จากการตัดสินใจจะเกิดผลกระทบในแง่ของการยอมปฏิบัติตาม ประิสิทธิผล และอำาจหน้าที่ ซึ่งกล่าวโดยสรุปก็คือ
การตัดสินใจมีผลในแง่ของการควบคุม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการควบคุมบุคคลอื่น ๆ ให้ทำตามในสิ่งที่ผู้ตัดสินใจต้องการ
ในการที่จะวินิจฉัยว่า การตัดสินใจเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้บรรลุเป้าหมายมากน้อยเพียงใดนั้น ให้พิจารณาดูที่ผลย้อนกลับของข่าวสารที่เข้าสู่ตัวระบบอีกครั้งหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลย้อนกลับในทางลบ อันเป็นผลที่เกิดขึ้นในทางตรงกันข้ามกับที่ผุ้ตัดสินใจมุ่งจะให้เกิดขึ้น
ปัจจัยสำคัญ 4 ประการ ในกระบวนย้อนกลับทางลบได้แก่
-ปริมาณและความเร็วของข่าวสารที่ไหลเข้าสู่ระบบ หมายถึงข่าวสารที่กระบวนการย้อนกลับส่งเข้ามา เมื่อเปรียบเทียบกับความสามารถของระบบนั้นกล่าวคือ ถ้าข่าวสารเข้ามามากในขณะที่ระบบมีความสามรถไม่สูงพอ การที่จะให้บรรลุเป้าหมายย่อมจะกระทำได้ยาก
- การตอบสนองของระบบที่มีต่อข่าวสาร หมายถึง ระยะเวลาของการรับรู้ข่าวสารกับการตอบโต้ข่าวสาร ถ้าระยะเวลาที่ใช้นัี้นมีมากหรือมีความล่าช้ามาก ย่อมแสดงว่าระบบการเมืองนั้นขาดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานเพื่อบรรลุเป้าหมาย
- ความสามารถในการตอบโต้ข่าวสารที่ได้รับ คือ ขนาดหรือปริมาณของการเปลี่ยนแปลงแก้ไขพฤติกรรมของระบบการเมือง เพื่อตอบสนองต่อข่าวสารที่ได้รับเข้ามา ถ้าระบบการเมืองไดสามารถเปลียนแปลงแก้ไขสถานการณ์ต่าง ๆ ตามที่ได้รับข่าวสารมาได้มากก็แสดงว่าระบบการเมืองนั้นมีความสามารถสูง
- ความสามารถของระบบในการคาดการณ์ล่วงหน้าเกี่ยวกับ ผลที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อบรรลุเป้าหมาย
ดอยท์ซ อธิบายว่า ประสิทธิภาพของระบบการเมืองแต่่ระบบขึ้นอยู่กับปัจจัยทั้ง 4 ประการ ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น อย่างไรก็ตา ความสัมพันธ์ระหว่างปัจัยทั้ง 4 กับโอกาสในการบรรลุเป้าหมายนั้น ไม่ได้เป็นไปในทิสทางเดียวกัน กล่าวคือ ถ้าระบบการเมืองใดมีขนาดในการรับข่าวสาร และมีความล่าช้าในการรับรู้ข่าวสารและปฏิบัติต่อข่าวสาร แล้ว โอกาสในการบรรลุเป้าหมายจะน้อย แต่ถ้รระบบการเมืองมีความสามารถทีจะตอบโต้ต่อข่าวสารที่ได้รับ และมีความสามรถในการคาดคะเน มากแล้ว ดอกาสในการบรรลุเป้าหมายย่อมมีมากไปด้วย
การสื่อสารทางการเมือง หัวใจสำคัญ คือ เนื้อหาสาระที่จะส่งออกไปสู่สาธารณะเพื่อทำให้คนสนใจและไม่เบื่อหน่ายการเมืองไม่เพียงแต่ต้องการสร้างความนิยมทางการเมืองให้กับนัการเมืองหรือพรรคการเมืองเท่านั้น ชุดของความรู้ที่จะสื่อสารออกไปจึงควรมีการจัดการให้เป็นระบบ และลำดับความสำคัญเพื่อกระตุ้นพลเมืองให้สนใจติดตาม ตื่นตัว และเกาะติดงานการเมืองอย่างต่อเนื่อง
model
โมเดล หนึ่งๆ เป็นเสมือน Approach ที่ได้รับบการกลั่นกรองและมีลักษณะที่เฉพาะเจาะจงมาก ลักษณธะสำคัญๆ ที่โมเดล ต่างไปจาก แอปโพช อยู่ที่ว่าความสัมพันธ์ระหว่างสังกัปหรอพจน์ที่ใช้จะปรกกฎให้เห็นได้ชัดเจน Approacn เ็ป็นชุดหนึ่ง ๆ ของสังกัปและมองกันว่าสังกับเหล่านี้จะมีความสัมพันธ์ต่อกันในรูปแบบใด ๆ แต่สภาพของความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันนี้จะไม่ปรากฎชัด ส่วน โมเดล นั้นจะระบุชัดถึงความสัมพันธ์ระหว่างพจน์ต่าง ๆ ที่นำมาใช้ไว้...
Model ที่สำคัญและใช้กันมากในการศึกษารัฐศาสรตร์ซึ่งมีอยู่ 3 โมเดลด้วยกันคือ
อินพุช-เอาท์พุช โมเดล
ฟังค์ชั่น เดเวอรอฟเมนส์ โมเดล
อิสชู่ โปเครสซิ่ง โมเดล
ตัวแบบ Input-Output นี้ในทางรัฐศาสตร์ผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้ที่พัฒนาตัวแบบนี้มาใช้ก็คือ เดวิด เอสตัน มีพื้นฐานมาจากแนวการวิเคราะห์เชิงระบบ ซึ่งศึกษาการเมืองจากแบบแผนของความสัมพันธ์ในระหว่างมนุษย์ด้วยกันในระบบการเมืองใดๆ การปะทะสัมพันธ์ระหว่างกันซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบการเมืองนี้เป็นไปเพื่อในการแจกแจงทรัพยากรที่มีคุณค่าของสังคมนั่นเอง
นอกจากสังกัปของคำว่า "ระบบ"แล้ว ตัวแบบนี้ยังต้องอาศัยสังกัปของคำอื่น ๆ คือ "ปัจจัยนำเข้า" "ข้อเรียกร้อง" "การสนับสนุน" "ปัจจัยผลผลิต" "การตัดสินใจ และ "การส่งข่าวสารย้อนกลับ" อีกด้วย
กระบวนการเมืองจะเิริ่มต้นจาการที่มีข้อเรียกร้องจำนวนหนึ่งไหลเข้าสู่ระบบการเมือง คำว่าปััจจัยนำเข้า หมายถึง กิจกรรมและเหตุการณ์ทุกอย่างที่มีอิทธิพลก่อให้เกิดการแจกแจงแบ่งสรรทรัพยากรของสังคมในรูปแบบใด ๆ ซึ่งปัจจัยนำเข้านี้แบ่งได้เป็ฯ 2 ประเภท คือข้อเรียกร้อง และการสนับสนุนขอ้เรียกร้องเป็นข่าวสารที่นำเสนอโดยปัจเจกชนหรือกลุ่มบุคคลใด ๆ ในสังคม เพื่อให้การแจกแจงทรพยากรของสังคมอยู่ในรูปแบบใด ๆ ซึ่งส่วนใหญ่แต่ละกลุ่มต้องการที่จะให้กลุ่มตนได้ประโยชน์สูงสุด
การสนับสนุน หมายถึง พลังในรูปของการกระทำหรือทิศทางของความคิดที่ส่งเสริมระบบการเมืองนั้น ๆ ซึ่งอาจจะอยู่ในหลายรูปแบบ เช่น เสียภาษี เข้าร่วมพัฒนาท้องถ่ิน ปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคม เป็นต้น การสนับสนุนนี้จะมุ่งกระทำต่อองค์ประกอบของระบบการเมือง - ระดับคือ การสนับสนุนผู้่มีอำนาจทางการเืองหรือรัฐบาล
การวิเคราะห์ข้อเรียกร้องและการสนับสนุนที่นี้จะมุ่งประเด็นว่าระบบการเมืองสามารถที่จะดำรงอยู่อย่างมีเสถียรภาพได้อย่างไรท่ามกลางแรงกดดัน หรือความตึงเครียด ที่เิกิดขึ้นมองว่า การเรียกร้องเป็นที่มีความตึงเครียดของสังคม ส่วนการสนับสนุนถือเป็นกลไกที่สำคัญที่จะช่วยดำิเินินการกับความตึงเครียดที่มีอยู่ ถ้าระบบไม่อาจสนองตอบต่อข้อเรียกร้องได้ การสนับสนุนที่ประชาชนพึงมีต่อระบบก็จะลดต่ำลง อ้างว่าสภาพและขนาดของการเรียกร้องของประชาชนจะอยู่ในลักษณะใดขึ้นอยู่กับปทัสถานทางวัฒนธรรมของระบบการเมืองนั้น ๆ ผู้นำทางเมืองตลอดจนประชาชนเองจำเป็นต้องเรียนรู้วิธีการที่จะจำกัดจำนวนและความเข้มข้นของข้อเรียกร้องด้วย
ผลที่ได้จากการเรียกร้องและการสนับสนุนที่เข้าไปสู่เข้าไปสู่การพิจารณาของผู้ที่อำนาจตักสินใจในระบบการเมืองเรียดร้องปัจจัยผลผลิต ปัจจัยผลผลิตจะเป็นเรื่องของการใช้อำนาจแจกแจงแบ่งสรรทรัพยากรหรือสิ่งที่มีคุณค่าของสังคมโดยเป็ผลการตัดสินใจของผู้มีอำนาจที่เกี่ยวข้อง
ส่วนการส่งข่าวสารย้อนกลับ หมายถึงกระบวนการที่ระบบการเมืองตรวจสอบตนเองเกี่ยวกัยผลต่อเนื่องจากการออกปัจจัยผลผลิตไป ปัจจัยผลผลิตนั้นจะมีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมของสังคมอย่างกว้างขวางบางคน บางกลุ่มอาจพอใจกับผลการตัดสินใจหรือปัจจัยผลผลิตนั้น ขณะที่บางกลุ่มอาจไม่พอใจ พวกที่พอใจก็จะสนับสนุนระบบเพิ่มขึ้น พวกที่ไม่พอใจก็อาจยื่นข้อเรียกเข้าไปใหม่อีก ตังนั้น ระบบการเมืองจะสามารถล่วงรู้ภึงลักษณะของการแปรเหลี่ยนของการเรียกร้องและการสนับสนุนที่เป็นผลมาจากการออกปัจจัยผลผลิตใด ๆ ไปได้ ระบบจำต้องสร้างกลไกที่จะช่วยป้อนข่าวสารคือสู่ระบบขึ้นมา กลไกเหล่านี้จะทำหน้าที่ส่งข่าวสารย้อนกลับ ประสิทธิผลของกระบวนการส่วข่าวสารย้อนกลับจะมีผลต่อความสำเร็จของระบบการเมืองใด ๆ ที่จะดำิเนินการกับปัญหาท้าทายและความตึงเครียดที่เกิดขึ้อย่างมาก กระบวนการนี้จึงมีอิทธิพลยิ่งต่อแนวโน้มที่ว่าระบบจะคงสามารถดำรงอยู่อย่างมีศักดิ์ศรีและยืนหยัดอยู่ได้สืบต่อไป
Function Developmental Model
ตัวแบบนี้ Almond and Powell ได้พัฒนาขึ้นโดยใช้ชื่อแนววิเคราะห์ว่า Developmental Approach ซึ่งความจริงแล้วแนววิเคราะห์ของ Almond and Powell เป็นการผสมผสานกันระหว่างแนววิเคราะห์เชิงระบบ แนววิเคราะห์โครงสร้าง-หน้าที่ และแนววิเคราะห์เชิงพัฒนาการ
ตัวแบบนี้ให้ความสำคัญกับหน้าที่ของระบบการเมือง โดยที่ Almond กับ Powell ได้ให้คำจำกัดความของคำว่าระบบการเมืองไว้ว่า "เป็นระบบของการกระทำให้ระหว่างกัน ซึ่งพบได้ในสังคมที่เป็นอิสระและจะทำหน้าที่สร้างความเป็ฯอันหนึ่งอันเดียวกัน และปรับตัวโดยวิธีการใช้หรือขูว่าจะใช้กำลังซึ่งถือกันว่าชอบธรรม
Almond and Powell อ้างว่าทุกระบบการเมืองจะทำหน้าที่เหมือนกันในประเด็นใหญ่ ๆ คือ
- สร้างสมรรถนะ ให้เกิดขึ้นกับระบบ ซึ่งสมรรถนะที่ทุกระบบจะต้องสร้างคือ
การออกกฎกำหนดเกณฑ์ คือระบบสามารถควบคุมพฤติกรรมของสมาชิกได้
การดึงดูดทรัพยากร คือระบบสามารถระดมพลให้เข้ามีส่วนร่วมในเป้าหมายทางสังคมใด ๆ
กรแจกแจงแบ่งสรร คือการแจกแจงแบ่งสรรทรัพยากรหรือสิ่งที่มีคุณค่าของสังคมอย่างเป็ธรรม เป็นที่ยอมรับของบรรดาสมาชิก
การสนองตอบต่อความต้องการของกลุ่มต่างๆ ของสังคม
- แปรเปลี่ยน ปัจจัยนำเข้าให้เป็นปัจจัยผลผลิตโดยผ่านกระบวนการแปรเปลี่ยน กระบวนการนี้เกิดขึ้นในระบบการเมือง 6 ขั้นตอน
การแสดงออกซึ่งผลประโยชน์
การรวมกลุ่มของผลประโยชน์
การสร้างกฎกำหนดเกณฑ์
การนำกฎไปใช้
การตีความตัวบท
การติดต่อสื่อสาร
- หน้าที่ในการทำนุบำรุงและการปรับตัวของระบบ หน้าที่เหล่านี้ก็คือการให้การเรียนรู้ทางการเมือง และการคัดเลือกบุคลากรเข้าสู่ระบบ
สรุปได้ว่า เสนอให้ศึกษาพัฒนาการของระบบการเมืองโดยให้ความสำคัญที่สัมพีนธภาพที่เปลี่ยนแปลงไป ๆ มา ๆ ระหว่างหน้าที่ทั้งสาม ประการ และที่สัมพันธภาพที่เปลี่ยนแปลงไป ๆ มาๆ ระหว่างโครงสร้างกับหน้าที่ของระบบการพัฒนาทางการเมืองนั้นจะข้องเกี่ยวกับการแปรเหลี่ยนจากสถานการณ์ซึ่งระบบมีโครงสร้างไม่มากนักและต้องทำหน้าที่เฉพาะอย่าง และยังชี้ให้เห็นว่า การพัฒนานั้นจะเกิดขึ้นได้ต่อเมืองโครงสร้างที่มีอยู่ในระบบการเมืองใด ๆ ไม่สามารถที่จะแก้ไขปัญหาหรือดำเนินการกับสิ่งท้าทายที่เข้าสู่ระบบได้ถ้าไม่ปรับโครงสร้างให้ซับซ้อนขั้นกว่าเดิม
Issue-Processing Model
Model นี้ได้รวมเอาบางส่วนของซิสเต็มแอปโพช และ ดีซิชั่น เมกกิ้ง มาใช้ โมเดล ไม่เป็นที่นิยมนัก เนื่องจากมองกันว่าค่อนข้างจะซับซ้อน ยุ่งยากกว่าสองโมเดลที่ผ่านมา
โดยให้นิยามระบบการเมืองว่า เป็นชุมชนของปัจเจกชนที่ดำเนินการหรือพยายามที่จะหาคำตอบและกระทำการบางอย่างต่อประเด็นปัญหาของสังคม ชุมชนเกิดขึ้นมาได้และอยู่รอดพต่อไปได้ต้องอาศัยบุคคลที่เข้ามาดำเนินการให้บรรลุสู่เป้าหมายใด ๆ ดังนั้นชุมชนจึงมีฐานะมาจากแนวคิดเรื่องความสมานฉันท์ของเป้าหมาย ชุมชนรูปแบบหนึ่งก็คือระบบการเมือง อย่างไรก็ตาม ระบบการเมืองยังต้องขึ้นอยู่กับการดำรงอยู่ของความไม่สมานฉันท์จะปรากฎให้เห็นในรูปของประเด็นปัญหา ดังนั้นระบบการเมืองจะแสดงให้เห็นถึงความสมานฉันท์ในเป้าหมาย แต่ขณะเดียวกันความไม่สมานฉันท์ใรกระบวนการที่จะให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าวจะปรากฎอยู่ด้วย
นอกจากสังกับปเรื่องประเด็นปัญหา และเป้าหมาย แล้ว โมเดลนี้ยังให้ความสำคัญกับสังกัปเกี่ยวกับปัญหาทางการเมือง ลีลาในทางการเมืองการตัดสินนดยบายและนโยบายอีกด้วย อาจกล่าวได้เช่นเดียวกันว่า นี้อาศัยสังกัปของคำว่าระบบ เนื่องจากเป้าหมายประเด็นปัญหา ปัญหา ลีลา และพฤติกรรม ต่างก็เป็นสังกัปที่เกี่ยวกับระบบทั้งสิ้น
เสถียรภาพ หมายถึง การที่ระบบเปลี่ยนแปลงไปตามรูปแบบหรือแนวทางที่คาดคิดไว้
ความยืดหยุ่น หมายถึง ความสามารถที่จะปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิดได้อย่างดี นั้นก็คื อเป้าหมายเรื่องความยืดหยุ่นและเสถียรภาพจะเป็นตัวทำให้กิจกรรมของระบบการเมืองเป็นไปในทิศทางที่ต่างกัน "สิ่งที่ตรงข้ามในเงื้อนเวลา" นั้นคือเสถีียรภาำพ เป็นลักษณะของระบบที่มีแนวโน้มว่าจะได้มาหรือสัมฤทธิผลได้ในระยะยาว ขณะที่ความยืดหยุ่นนั้นหมายถึงการสนองต่อแรงผลักหรือการเปลี่ยนแปลงในระยะสั้น ๆ ได้ การเพิ่มความยืดหยุ่นให้สูงขึ้น หมายยถึงเสถียรภาพจะลดน้อยลง
โมเดลนี้ เชื่อว่าระบบกาเมืองใด ๆ อาจไม่ตระหนักรู้ไม่ให้ความสำคํยกับเป้าหมายใดเป้าหมายหนึ่งหรือหลายเป้าหมาย แต่ระบบก็สามารถดำรงอยู่ได้ ซึ่ีงจะประเมินความสัมฤทธิผลเชิงสัมพันธ์ของระบบการเมืองจากระดับความสามารถในการรักษาไว้ซึ่งดุลยภาพเชิงพลวัตรในระหว่างเป้าหมายพื้นฐานทั้งสี่ประการในแง่อุดมคตินั้นทุกระบบการเมืองจะต้องสนใจยิ่งต่อเป้าหมายพื้นฐานทุกเป้าหมายและในทุกเวลาด้วย แต่ในทางปฏิบัตินั้นเป็นไปได้ยาก เนื่องจากแรงผลักจากสภาพแวดล้อมทรัพยากรทางวัตถุ และบุคคลก็มีอยู่อย่างจำกัด จึงเป็นผลให้ระบบมักจะไใ้ความสนใจกับเป้าหมายใดเป้าหมายหนึ่ง หรือสองเป้าหมายในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ๆเท่านั้น
สภาพของเป้าหมายของระบบการเมืองจะเป็นตัวกำหนดลักษณะของประเด็นปัญหาที่ระบบนั้นจะดำเนเนการ ซึ่งได้แบ่งประเด็นปัญหาทางการเมืองออกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ ลักษณะแรกเป็นการมองปัญหาในเชิงปัญหาหลัก ปัญหาจากสภาพแวดล้อมประเด็นปัญหาหลัก เป็นประเด็นปัญหาที่อุบัติขึ้นดำรงอยู่และมีผลต่อระบบเป็นเวลานาน เช่นประเด็นปัญหาว่าจะทำอย่างไรอุุปทานด้านเครื่องบริโภคจึงจะมีดุลภาพกับจำนวนประชากร เป็นต้น อีกประเด็นปัญหาที่อุบัติขึ้นในช่วงสั้น ๆ บางที่เป็นประเด็นที่ไม่เคยเกิดมาก่อนและอาจไม่เกิดขึ้นมาอีกเลยก็ได้ นั้นคือในการที่จะทราบว่าประเด็นปัญหาใดเป็น Fundamental หรือ Circumstantial ให้ดูที่ประวัติความเป็นมาของผัญหาว่่ามีมานานเพียงใด
ลักษณะที่สอง เป็นการมองปัญหาในรูปของสาระเรื่องราว กระบวนการประเด็นปัญหาที่เกี่ยวกับสาระเรื่องราว เป็นปัญหาจากคำถามว่า "อะไร" ซึ่งเป็นเรื่องของเนื้อหาที่จะต้องดำเนินการ ส่วนประเด็นปัญหาเชิงกระบวนการเป็นปัญหาจากคำถามว่า "อย่างไร" ซึ่งจะเกี่ยวเนื่องกับวิธีการที่ควรจะดำเนินการ
อย่างไรก็ตาม บางประเด็นปัญหาอาจอยู่ระหว่างกลางของรูปแบบดังกล่าว ก็ได้ โดยชี้ให้เห็นว่าปัญหาบางเรื่องเท่านั้นที่จัดว่าเป็น Fundmental ทั้งหมดหรือเป็น Circumstantial ทั้งหมด โดยทั่งไปแล้วจะตกอยู่ระหว่างสองลักษณะข้างต้นเช่นเดียวกันบางปัญหาเท่านั้นที่จัดเป็นปัญหาเรื่องสาระเรื่องราวทั้งหมด หรือเป็นปัญหาเรื่องกระบวนการทั้งหมด
ประเด็นที่น่าสนใจในการนำโมเดลนี้มาใช้อยู่ที่ว่าประเด็นปัญหาใด ๆ อาจแปรเปลี่ยนลักษณะพ้อนฐานของมันเองได้ขณะที่อยู่ในกระบวนการของการดำเนินการ นั้นคือ ขณะที่ประเด็นปัญหาผ่านขั้นตอนจากการก่อตัวไปสู่การดำเนินการพิจารณา มีการตัดสินใจและมีผลการตัดสินใจออกมานั้น ประเด็นปัญหาอาจเปลี่ยนไปหลายรูปแบบ แต่สาระของประเด็นจะคงอยู่เหมือนเดิม
โดยสรุป โมเดลที่ใช้ในการศึกษาการเมืองซึ่งมีอยู่มากมายนั้น ดูเหมือนว่าจะมีบางอย่างเหมือน ๆ ดัน คือ
1 ให้ความสำคัญกับอิทธิพลที่ปัจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมพีงมีต่อการเมือง
2 ใช้สังกัปในการมองการเมืองว่าเป็นการกระทำหรือพฟติกรรมชุดหนึ่ง ซึ่งเกี่ยวพันกับการสนองตอบต่อความต้องการที่แปรเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อม
3 มองกิจกรรมการเมืองในลักษณะที่เป็นระบบ และจะให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อเป้าหมายของระบบการเมือง
4 จะให้ความสนใจต่อปัจจัยที่จำเป็นของระบบการเมืองในการทำให้การดำเนินการเป็นไปอย่างประสิทธิผล
5 จะมองว่ากิจกรรมของกลุ่มในระบบการเมืองมีอิทธิพลมากระดับหนึ่ง
6 จะนำเสนอในลักษณะที่ว่าสามรรถนะจะนำมาใช้กับสภาพทั่ว ๆ ไปในการศึกษาการเมือง นั่นคือสามารถที่จะประยุกต์ใช้กับการเมืองไมว่าจะอุบัติขึ้น ณ ที่ใด
Model ที่สำคัญและใช้กันมากในการศึกษารัฐศาสรตร์ซึ่งมีอยู่ 3 โมเดลด้วยกันคือ
อินพุช-เอาท์พุช โมเดล
ฟังค์ชั่น เดเวอรอฟเมนส์ โมเดล
อิสชู่ โปเครสซิ่ง โมเดล
ตัวแบบ Input-Output นี้ในทางรัฐศาสตร์ผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้ที่พัฒนาตัวแบบนี้มาใช้ก็คือ เดวิด เอสตัน มีพื้นฐานมาจากแนวการวิเคราะห์เชิงระบบ ซึ่งศึกษาการเมืองจากแบบแผนของความสัมพันธ์ในระหว่างมนุษย์ด้วยกันในระบบการเมืองใดๆ การปะทะสัมพันธ์ระหว่างกันซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบการเมืองนี้เป็นไปเพื่อในการแจกแจงทรัพยากรที่มีคุณค่าของสังคมนั่นเอง
นอกจากสังกัปของคำว่า "ระบบ"แล้ว ตัวแบบนี้ยังต้องอาศัยสังกัปของคำอื่น ๆ คือ "ปัจจัยนำเข้า" "ข้อเรียกร้อง" "การสนับสนุน" "ปัจจัยผลผลิต" "การตัดสินใจ และ "การส่งข่าวสารย้อนกลับ" อีกด้วย
กระบวนการเมืองจะเิริ่มต้นจาการที่มีข้อเรียกร้องจำนวนหนึ่งไหลเข้าสู่ระบบการเมือง คำว่าปััจจัยนำเข้า หมายถึง กิจกรรมและเหตุการณ์ทุกอย่างที่มีอิทธิพลก่อให้เกิดการแจกแจงแบ่งสรรทรัพยากรของสังคมในรูปแบบใด ๆ ซึ่งปัจจัยนำเข้านี้แบ่งได้เป็ฯ 2 ประเภท คือข้อเรียกร้อง และการสนับสนุนขอ้เรียกร้องเป็นข่าวสารที่นำเสนอโดยปัจเจกชนหรือกลุ่มบุคคลใด ๆ ในสังคม เพื่อให้การแจกแจงทรพยากรของสังคมอยู่ในรูปแบบใด ๆ ซึ่งส่วนใหญ่แต่ละกลุ่มต้องการที่จะให้กลุ่มตนได้ประโยชน์สูงสุด
การสนับสนุน หมายถึง พลังในรูปของการกระทำหรือทิศทางของความคิดที่ส่งเสริมระบบการเมืองนั้น ๆ ซึ่งอาจจะอยู่ในหลายรูปแบบ เช่น เสียภาษี เข้าร่วมพัฒนาท้องถ่ิน ปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคม เป็นต้น การสนับสนุนนี้จะมุ่งกระทำต่อองค์ประกอบของระบบการเมือง - ระดับคือ การสนับสนุนผู้่มีอำนาจทางการเืองหรือรัฐบาล
การวิเคราะห์ข้อเรียกร้องและการสนับสนุนที่นี้จะมุ่งประเด็นว่าระบบการเมืองสามารถที่จะดำรงอยู่อย่างมีเสถียรภาพได้อย่างไรท่ามกลางแรงกดดัน หรือความตึงเครียด ที่เิกิดขึ้นมองว่า การเรียกร้องเป็นที่มีความตึงเครียดของสังคม ส่วนการสนับสนุนถือเป็นกลไกที่สำคัญที่จะช่วยดำิเินินการกับความตึงเครียดที่มีอยู่ ถ้าระบบไม่อาจสนองตอบต่อข้อเรียกร้องได้ การสนับสนุนที่ประชาชนพึงมีต่อระบบก็จะลดต่ำลง อ้างว่าสภาพและขนาดของการเรียกร้องของประชาชนจะอยู่ในลักษณะใดขึ้นอยู่กับปทัสถานทางวัฒนธรรมของระบบการเมืองนั้น ๆ ผู้นำทางเมืองตลอดจนประชาชนเองจำเป็นต้องเรียนรู้วิธีการที่จะจำกัดจำนวนและความเข้มข้นของข้อเรียกร้องด้วย
ผลที่ได้จากการเรียกร้องและการสนับสนุนที่เข้าไปสู่เข้าไปสู่การพิจารณาของผู้ที่อำนาจตักสินใจในระบบการเมืองเรียดร้องปัจจัยผลผลิต ปัจจัยผลผลิตจะเป็นเรื่องของการใช้อำนาจแจกแจงแบ่งสรรทรัพยากรหรือสิ่งที่มีคุณค่าของสังคมโดยเป็ผลการตัดสินใจของผู้มีอำนาจที่เกี่ยวข้อง
ส่วนการส่งข่าวสารย้อนกลับ หมายถึงกระบวนการที่ระบบการเมืองตรวจสอบตนเองเกี่ยวกัยผลต่อเนื่องจากการออกปัจจัยผลผลิตไป ปัจจัยผลผลิตนั้นจะมีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมของสังคมอย่างกว้างขวางบางคน บางกลุ่มอาจพอใจกับผลการตัดสินใจหรือปัจจัยผลผลิตนั้น ขณะที่บางกลุ่มอาจไม่พอใจ พวกที่พอใจก็จะสนับสนุนระบบเพิ่มขึ้น พวกที่ไม่พอใจก็อาจยื่นข้อเรียกเข้าไปใหม่อีก ตังนั้น ระบบการเมืองจะสามารถล่วงรู้ภึงลักษณะของการแปรเหลี่ยนของการเรียกร้องและการสนับสนุนที่เป็นผลมาจากการออกปัจจัยผลผลิตใด ๆ ไปได้ ระบบจำต้องสร้างกลไกที่จะช่วยป้อนข่าวสารคือสู่ระบบขึ้นมา กลไกเหล่านี้จะทำหน้าที่ส่งข่าวสารย้อนกลับ ประสิทธิผลของกระบวนการส่วข่าวสารย้อนกลับจะมีผลต่อความสำเร็จของระบบการเมืองใด ๆ ที่จะดำิเนินการกับปัญหาท้าทายและความตึงเครียดที่เกิดขึ้อย่างมาก กระบวนการนี้จึงมีอิทธิพลยิ่งต่อแนวโน้มที่ว่าระบบจะคงสามารถดำรงอยู่อย่างมีศักดิ์ศรีและยืนหยัดอยู่ได้สืบต่อไป
Function Developmental Model
ตัวแบบนี้ Almond and Powell ได้พัฒนาขึ้นโดยใช้ชื่อแนววิเคราะห์ว่า Developmental Approach ซึ่งความจริงแล้วแนววิเคราะห์ของ Almond and Powell เป็นการผสมผสานกันระหว่างแนววิเคราะห์เชิงระบบ แนววิเคราะห์โครงสร้าง-หน้าที่ และแนววิเคราะห์เชิงพัฒนาการ
ตัวแบบนี้ให้ความสำคัญกับหน้าที่ของระบบการเมือง โดยที่ Almond กับ Powell ได้ให้คำจำกัดความของคำว่าระบบการเมืองไว้ว่า "เป็นระบบของการกระทำให้ระหว่างกัน ซึ่งพบได้ในสังคมที่เป็นอิสระและจะทำหน้าที่สร้างความเป็ฯอันหนึ่งอันเดียวกัน และปรับตัวโดยวิธีการใช้หรือขูว่าจะใช้กำลังซึ่งถือกันว่าชอบธรรม
Almond and Powell อ้างว่าทุกระบบการเมืองจะทำหน้าที่เหมือนกันในประเด็นใหญ่ ๆ คือ
- สร้างสมรรถนะ ให้เกิดขึ้นกับระบบ ซึ่งสมรรถนะที่ทุกระบบจะต้องสร้างคือ
การออกกฎกำหนดเกณฑ์ คือระบบสามารถควบคุมพฤติกรรมของสมาชิกได้
การดึงดูดทรัพยากร คือระบบสามารถระดมพลให้เข้ามีส่วนร่วมในเป้าหมายทางสังคมใด ๆ
กรแจกแจงแบ่งสรร คือการแจกแจงแบ่งสรรทรัพยากรหรือสิ่งที่มีคุณค่าของสังคมอย่างเป็ธรรม เป็นที่ยอมรับของบรรดาสมาชิก
การสนองตอบต่อความต้องการของกลุ่มต่างๆ ของสังคม
- แปรเปลี่ยน ปัจจัยนำเข้าให้เป็นปัจจัยผลผลิตโดยผ่านกระบวนการแปรเปลี่ยน กระบวนการนี้เกิดขึ้นในระบบการเมือง 6 ขั้นตอน
การแสดงออกซึ่งผลประโยชน์
การรวมกลุ่มของผลประโยชน์
การสร้างกฎกำหนดเกณฑ์
การนำกฎไปใช้
การตีความตัวบท
การติดต่อสื่อสาร
- หน้าที่ในการทำนุบำรุงและการปรับตัวของระบบ หน้าที่เหล่านี้ก็คือการให้การเรียนรู้ทางการเมือง และการคัดเลือกบุคลากรเข้าสู่ระบบ
สรุปได้ว่า เสนอให้ศึกษาพัฒนาการของระบบการเมืองโดยให้ความสำคัญที่สัมพีนธภาพที่เปลี่ยนแปลงไป ๆ มา ๆ ระหว่างหน้าที่ทั้งสาม ประการ และที่สัมพันธภาพที่เปลี่ยนแปลงไป ๆ มาๆ ระหว่างโครงสร้างกับหน้าที่ของระบบการพัฒนาทางการเมืองนั้นจะข้องเกี่ยวกับการแปรเหลี่ยนจากสถานการณ์ซึ่งระบบมีโครงสร้างไม่มากนักและต้องทำหน้าที่เฉพาะอย่าง และยังชี้ให้เห็นว่า การพัฒนานั้นจะเกิดขึ้นได้ต่อเมืองโครงสร้างที่มีอยู่ในระบบการเมืองใด ๆ ไม่สามารถที่จะแก้ไขปัญหาหรือดำเนินการกับสิ่งท้าทายที่เข้าสู่ระบบได้ถ้าไม่ปรับโครงสร้างให้ซับซ้อนขั้นกว่าเดิม
Issue-Processing Model
Model นี้ได้รวมเอาบางส่วนของซิสเต็มแอปโพช และ ดีซิชั่น เมกกิ้ง มาใช้ โมเดล ไม่เป็นที่นิยมนัก เนื่องจากมองกันว่าค่อนข้างจะซับซ้อน ยุ่งยากกว่าสองโมเดลที่ผ่านมา
โดยให้นิยามระบบการเมืองว่า เป็นชุมชนของปัจเจกชนที่ดำเนินการหรือพยายามที่จะหาคำตอบและกระทำการบางอย่างต่อประเด็นปัญหาของสังคม ชุมชนเกิดขึ้นมาได้และอยู่รอดพต่อไปได้ต้องอาศัยบุคคลที่เข้ามาดำเนินการให้บรรลุสู่เป้าหมายใด ๆ ดังนั้นชุมชนจึงมีฐานะมาจากแนวคิดเรื่องความสมานฉันท์ของเป้าหมาย ชุมชนรูปแบบหนึ่งก็คือระบบการเมือง อย่างไรก็ตาม ระบบการเมืองยังต้องขึ้นอยู่กับการดำรงอยู่ของความไม่สมานฉันท์จะปรากฎให้เห็นในรูปของประเด็นปัญหา ดังนั้นระบบการเมืองจะแสดงให้เห็นถึงความสมานฉันท์ในเป้าหมาย แต่ขณะเดียวกันความไม่สมานฉันท์ใรกระบวนการที่จะให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าวจะปรากฎอยู่ด้วย
นอกจากสังกับปเรื่องประเด็นปัญหา และเป้าหมาย แล้ว โมเดลนี้ยังให้ความสำคัญกับสังกัปเกี่ยวกับปัญหาทางการเมือง ลีลาในทางการเมืองการตัดสินนดยบายและนโยบายอีกด้วย อาจกล่าวได้เช่นเดียวกันว่า นี้อาศัยสังกัปของคำว่าระบบ เนื่องจากเป้าหมายประเด็นปัญหา ปัญหา ลีลา และพฤติกรรม ต่างก็เป็นสังกัปที่เกี่ยวกับระบบทั้งสิ้น
เสถียรภาพ หมายถึง การที่ระบบเปลี่ยนแปลงไปตามรูปแบบหรือแนวทางที่คาดคิดไว้
ความยืดหยุ่น หมายถึง ความสามารถที่จะปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิดได้อย่างดี นั้นก็คื อเป้าหมายเรื่องความยืดหยุ่นและเสถียรภาพจะเป็นตัวทำให้กิจกรรมของระบบการเมืองเป็นไปในทิศทางที่ต่างกัน "สิ่งที่ตรงข้ามในเงื้อนเวลา" นั้นคือเสถีียรภาำพ เป็นลักษณะของระบบที่มีแนวโน้มว่าจะได้มาหรือสัมฤทธิผลได้ในระยะยาว ขณะที่ความยืดหยุ่นนั้นหมายถึงการสนองต่อแรงผลักหรือการเปลี่ยนแปลงในระยะสั้น ๆ ได้ การเพิ่มความยืดหยุ่นให้สูงขึ้น หมายยถึงเสถียรภาพจะลดน้อยลง
โมเดลนี้ เชื่อว่าระบบกาเมืองใด ๆ อาจไม่ตระหนักรู้ไม่ให้ความสำคํยกับเป้าหมายใดเป้าหมายหนึ่งหรือหลายเป้าหมาย แต่ระบบก็สามารถดำรงอยู่ได้ ซึ่ีงจะประเมินความสัมฤทธิผลเชิงสัมพันธ์ของระบบการเมืองจากระดับความสามารถในการรักษาไว้ซึ่งดุลยภาพเชิงพลวัตรในระหว่างเป้าหมายพื้นฐานทั้งสี่ประการในแง่อุดมคตินั้นทุกระบบการเมืองจะต้องสนใจยิ่งต่อเป้าหมายพื้นฐานทุกเป้าหมายและในทุกเวลาด้วย แต่ในทางปฏิบัตินั้นเป็นไปได้ยาก เนื่องจากแรงผลักจากสภาพแวดล้อมทรัพยากรทางวัตถุ และบุคคลก็มีอยู่อย่างจำกัด จึงเป็นผลให้ระบบมักจะไใ้ความสนใจกับเป้าหมายใดเป้าหมายหนึ่ง หรือสองเป้าหมายในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ๆเท่านั้น
สภาพของเป้าหมายของระบบการเมืองจะเป็นตัวกำหนดลักษณะของประเด็นปัญหาที่ระบบนั้นจะดำเนเนการ ซึ่งได้แบ่งประเด็นปัญหาทางการเมืองออกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ ลักษณะแรกเป็นการมองปัญหาในเชิงปัญหาหลัก ปัญหาจากสภาพแวดล้อมประเด็นปัญหาหลัก เป็นประเด็นปัญหาที่อุบัติขึ้นดำรงอยู่และมีผลต่อระบบเป็นเวลานาน เช่นประเด็นปัญหาว่าจะทำอย่างไรอุุปทานด้านเครื่องบริโภคจึงจะมีดุลภาพกับจำนวนประชากร เป็นต้น อีกประเด็นปัญหาที่อุบัติขึ้นในช่วงสั้น ๆ บางที่เป็นประเด็นที่ไม่เคยเกิดมาก่อนและอาจไม่เกิดขึ้นมาอีกเลยก็ได้ นั้นคือในการที่จะทราบว่าประเด็นปัญหาใดเป็น Fundamental หรือ Circumstantial ให้ดูที่ประวัติความเป็นมาของผัญหาว่่ามีมานานเพียงใด
ลักษณะที่สอง เป็นการมองปัญหาในรูปของสาระเรื่องราว กระบวนการประเด็นปัญหาที่เกี่ยวกับสาระเรื่องราว เป็นปัญหาจากคำถามว่า "อะไร" ซึ่งเป็นเรื่องของเนื้อหาที่จะต้องดำเนินการ ส่วนประเด็นปัญหาเชิงกระบวนการเป็นปัญหาจากคำถามว่า "อย่างไร" ซึ่งจะเกี่ยวเนื่องกับวิธีการที่ควรจะดำเนินการ
อย่างไรก็ตาม บางประเด็นปัญหาอาจอยู่ระหว่างกลางของรูปแบบดังกล่าว ก็ได้ โดยชี้ให้เห็นว่าปัญหาบางเรื่องเท่านั้นที่จัดว่าเป็น Fundmental ทั้งหมดหรือเป็น Circumstantial ทั้งหมด โดยทั่งไปแล้วจะตกอยู่ระหว่างสองลักษณะข้างต้นเช่นเดียวกันบางปัญหาเท่านั้นที่จัดเป็นปัญหาเรื่องสาระเรื่องราวทั้งหมด หรือเป็นปัญหาเรื่องกระบวนการทั้งหมด
ประเด็นที่น่าสนใจในการนำโมเดลนี้มาใช้อยู่ที่ว่าประเด็นปัญหาใด ๆ อาจแปรเปลี่ยนลักษณะพ้อนฐานของมันเองได้ขณะที่อยู่ในกระบวนการของการดำเนินการ นั้นคือ ขณะที่ประเด็นปัญหาผ่านขั้นตอนจากการก่อตัวไปสู่การดำเนินการพิจารณา มีการตัดสินใจและมีผลการตัดสินใจออกมานั้น ประเด็นปัญหาอาจเปลี่ยนไปหลายรูปแบบ แต่สาระของประเด็นจะคงอยู่เหมือนเดิม
โดยสรุป โมเดลที่ใช้ในการศึกษาการเมืองซึ่งมีอยู่มากมายนั้น ดูเหมือนว่าจะมีบางอย่างเหมือน ๆ ดัน คือ
1 ให้ความสำคัญกับอิทธิพลที่ปัจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมพีงมีต่อการเมือง
2 ใช้สังกัปในการมองการเมืองว่าเป็นการกระทำหรือพฟติกรรมชุดหนึ่ง ซึ่งเกี่ยวพันกับการสนองตอบต่อความต้องการที่แปรเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อม
3 มองกิจกรรมการเมืองในลักษณะที่เป็นระบบ และจะให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อเป้าหมายของระบบการเมือง
4 จะให้ความสนใจต่อปัจจัยที่จำเป็นของระบบการเมืองในการทำให้การดำเนินการเป็นไปอย่างประสิทธิผล
5 จะมองว่ากิจกรรมของกลุ่มในระบบการเมืองมีอิทธิพลมากระดับหนึ่ง
6 จะนำเสนอในลักษณะที่ว่าสามรรถนะจะนำมาใช้กับสภาพทั่ว ๆ ไปในการศึกษาการเมือง นั่นคือสามารถที่จะประยุกต์ใช้กับการเมืองไมว่าจะอุบัติขึ้น ณ ที่ใด
วันเสาร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2555
Liao
อาณาจักรเหลียวเกิดขึ้นในยุค ห้าราชวงศ์ สิบอาณาจักรของจีน ซึ่งชาวเหลียวเป็นหนึ่งในสิบอาณาจักร ทางลุ่มแมน้ำแยงซีเกียงกับดินแดนทางใต้ลงไปซึ่งเป็นรัฐอิสระ
เผ่าซีตานเป็นชนกลุ่มน้อยกลุ่มหนึ่งอาศัยอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจจ้นตีสต์ศตวรรษที่ 10 ชนเผ่าซีตานรวมตัวเป็นอาณาจักรขึ้น ใช้ระบบการปกครองแบบชาวฮั่นและประดิษฐ์อักษรใช้เอง ต่อมาได้ครอบครองเขตปกครองเยียนและอวิ๋น 16 ท้องจึงเปลี่ยนชื่อเป็นอาณาจักรเหลียว
เหลี่ยวได้ทำการขยายอาณาเขตลงมาทางใต้เข้าบุกโจมตีตอนเหนือของอาณาจักรโครยอ ในปีค.ศ. 983
จักรพรรดิเหลียวเซิงจง จักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์เหลียว ขึ้นครองราชขณะพระชนม์เพียง 11 พรรษาเนืองจากยังทรงพระเยาว์ เซี่ยวไทเฮาจึงเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน ในขณะนั้นกองทัพซ่งในราชสมัยจะกพรรดิซ่งไท่จ่ง (เจ้าอวงอี้)กำลังรุกรานเมืองหลวงทางใต้ของเฟลียว คือ กรุงปักกิ่งในปัจจุบัน
ปี 1004 ทรงนำกองทัพเหลียวขนาดใหญ่บุกเข้ามายังดินแดนของราชวงศ์ซ๋ง โดยทรงตั้งค่ายนอกเมืองแห่งหนึ่ง ซึ๋งตั้งอยู่ทางใกล้เมืองไคฟง ซึ่งผลของสังครามจบลงด้วยการทำสนธิสัญญา ซึ่งการสงครามครั้งนี้ได้ถือกำเนิด “หยางไร้เทียมทาน” ผู้มีฝีมือทวนอันลือลัน และเป็นที่มาของเรื่องราวอิงประวัติศาสตร์คือ ขุนศึกตระกูลหยาง
ในรัชสมัยนี้เป็ยยุคทองของราชวงศ์เหลียวอย่างแท้จิรง มีความเจริญทุกด้านเข้าสู่ต้าเหลียว(ต้า เเปลว่ายิ่งใหญ่) มีระบบการคัดเลือกขุนนาง และพระพุทธศาสนา เผยแพร่เข้าสู่อาณาจักรต้าเหลียว
ฮ่องเต้าเซิงคงยังรุกราน อาณาจักโครยอ ถึงสามครั้ง โดยไม่แน่ใจในนโยบายการต่างประเทศของทางโครยอและเกรงว่าจะไปเข้ากับพวกซ่ง
ราชวงศ์โครยอ ก่อตั้งในค.ศ. 918 และรวบรวมคาบสมุทรเกาหลีเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งหลังสมัยซิลลา คำว่า “โครยอ” มาจาก “โคกูรยอ” หนึ่งในสามอาณาจักรโบราฯของคาบสมุทรเกาหลี และเป็นที่มาของคำว่า “โคเรีย” ในภาษาอังกฤษ และ “เกาหลี”ในภาษาไทย
เผ่าซีตานเป็นชนกลุ่มน้อยกลุ่มหนึ่งอาศัยอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจจ้นตีสต์ศตวรรษที่ 10 ชนเผ่าซีตานรวมตัวเป็นอาณาจักรขึ้น ใช้ระบบการปกครองแบบชาวฮั่นและประดิษฐ์อักษรใช้เอง ต่อมาได้ครอบครองเขตปกครองเยียนและอวิ๋น 16 ท้องจึงเปลี่ยนชื่อเป็นอาณาจักรเหลียว
เหลี่ยวได้ทำการขยายอาณาเขตลงมาทางใต้เข้าบุกโจมตีตอนเหนือของอาณาจักรโครยอ ในปีค.ศ. 983
จักรพรรดิเหลียวเซิงจง จักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์เหลียว ขึ้นครองราชขณะพระชนม์เพียง 11 พรรษาเนืองจากยังทรงพระเยาว์ เซี่ยวไทเฮาจึงเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน ในขณะนั้นกองทัพซ่งในราชสมัยจะกพรรดิซ่งไท่จ่ง (เจ้าอวงอี้)กำลังรุกรานเมืองหลวงทางใต้ของเฟลียว คือ กรุงปักกิ่งในปัจจุบัน
ปี 1004 ทรงนำกองทัพเหลียวขนาดใหญ่บุกเข้ามายังดินแดนของราชวงศ์ซ๋ง โดยทรงตั้งค่ายนอกเมืองแห่งหนึ่ง ซึ๋งตั้งอยู่ทางใกล้เมืองไคฟง ซึ่งผลของสังครามจบลงด้วยการทำสนธิสัญญา ซึ่งการสงครามครั้งนี้ได้ถือกำเนิด “หยางไร้เทียมทาน” ผู้มีฝีมือทวนอันลือลัน และเป็นที่มาของเรื่องราวอิงประวัติศาสตร์คือ ขุนศึกตระกูลหยาง
ในรัชสมัยนี้เป็ยยุคทองของราชวงศ์เหลียวอย่างแท้จิรง มีความเจริญทุกด้านเข้าสู่ต้าเหลียว(ต้า เเปลว่ายิ่งใหญ่) มีระบบการคัดเลือกขุนนาง และพระพุทธศาสนา เผยแพร่เข้าสู่อาณาจักรต้าเหลียว
ฮ่องเต้าเซิงคงยังรุกราน อาณาจักโครยอ ถึงสามครั้ง โดยไม่แน่ใจในนโยบายการต่างประเทศของทางโครยอและเกรงว่าจะไปเข้ากับพวกซ่ง
ราชวงศ์โครยอ ก่อตั้งในค.ศ. 918 และรวบรวมคาบสมุทรเกาหลีเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งหลังสมัยซิลลา คำว่า “โครยอ” มาจาก “โคกูรยอ” หนึ่งในสามอาณาจักรโบราฯของคาบสมุทรเกาหลี และเป็นที่มาของคำว่า “โคเรีย” ในภาษาอังกฤษ และ “เกาหลี”ในภาษาไทย
วันศุกร์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2555
Jin Empire
ราชวงศ์ซ่ง ในสมัยพระเจ้าซ่งไท่จู่ ได้พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขึ้นมา แตะตัดทอนอำนาจทหาร การทหารจึงอ่อนแด ในราชวงศ์นี้ ศิลปกรรมและวัฒนธรรมรุ่งเรื่องมา การศึกษาของประชาชนดีขึ้น
เปาบุ้นจิ้นก็ถือกำเนิดในยุคสมัยจักรพรรดิซ่งเหยินจง ซึ่งอำนาจฮ่องเต้อ่อนแอ พวงกังฉินเป็นผู้ครองอำนาจ
อาณาจักรจิน ต่อมาบรรพบุรุษแมนจู คือพวกจิน หรือกิม เข้าตีซึ่งสามารถเข้าตีได้ถึงเมืองหลวง คือ เมืองไคฟง การทั้งนี้เนื่องจากขุนนางกังฉินไปเข้ากับศัตรู และการทหารที่อ่อนแอ รวมทั้งความไร้ความสามารถของฮ่องเต้ ซ่งจึงจำเป็นต้องย้ายเมืองหลวงลงมาทางใต้
โดย จักรพรรดิจินไท่จง ทั้งที่ก่อนหน้านั้นมีการร่วมมือกันทางทหารเนื่องจากการเดินทางค้าขายม้าระหว่างกัน โดยร่วมมือกันอย่างไม่เป็นทางการในการ ที่เรียกว่า “พันธมิตรทางทะเล”
อาณาจักรจินยังคงทำการรุกราน ราชวงศ์ซ่งแต่ไม่สำเร็จ จักพรรดิ์อาณาจักรจิจึงหันมาเสือนกาเจรจาสันติภาพกับราชวงศ์ซ่งใต้
ในช่วงเวลาดังกล่าว “งักฮุย”ซึ่งเป็นลูกชาวนา รู้หนังสือบ้าง รูปร่างใหญ่โตกำลังมาก ชอบการต่อสู้ กังฟู(วิทยายุทธ)เป็นพิเศษ จึงสมัครเป็นทหารเพื่อปกป้องราชอาณาจักร มีนิทานเล่ว่า เพ่อใป้กำลังใจแก่งักฮุยในการปกป้องบ้านเมือง มารดางักฮุยจึงสักตัวอักษร 4 ตัว ไว้บนหลังงักฮุย “จิง จง เป้า กั๋ว” แปลว่า “ใจ ซื่อ ตอบแทน บ้านเมือง” ….แทนคุณชาติด้วยใจภักดี
งักฮุยก้าวหน้าในการเป็นทหาร ปี ค.ศ. 1140 อาณาจักรจินรุกรานราชวงศ์ซ่งอีกครั้ง กองทัพตระกูลงัก ชนะข้าศึกอย่างราบคาบ ทำการจะบุกต่อไป ได้มีราชโองการให้ “ถอนกำลังกลับ”12 ฉบับภายในวันเดียว งักฮุยจึงจำใจถอนกำลังกลับ หลังจากนั้นไม่นาน ราชวงศ์ซ่งกับอาณาจักรจินก็เป็นการเจรจา งักฮุยจึงกลายเป็นหนามยอกอกของทั้งสองฝ่าย จึงโดนข้อหากบฎ โดยอัครมหาเสนบดีผู้โปรดปรานของจักรพรรดินั้นเองเป็นผุ้สร้างข่าวลือ งักฮุยถูกประหารชีวิต เมืองอายุเพียง 39 ปี
การเติบโตมองโกล เตมูจินเมื่อรวมชาววมองโกลเป็นปึกแผ่น แล้วจึงสถาปนาตนเองเป็นข่าน นามว่า เจงกิสข่าน การปรากฎตัวของเจงกิสข่านทำให้ราชวงศ์ซ่งประเมินสถานการใหม่
ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรจินและราชวงศ์ซ่งเป็นไปในรูปแบบการทูตและการทหารมี กล่าวคือเมืองอาณาจักรจินกำลังมีข้อพิพาทชายแดนกับอาณาจักรซีเซี่ย จักรพรรดิซ่งหนิงจง ก็ประกาศสงครามกับอาณาจักรจิน
การปรับท่าทีของราชงศ์ซึ่งเกิดขึ้นอีกครั้ง เมื่อเจงกิสข่านเริ่มทำสงครามกับอาณาจักจิน ราชวงศ์ซ่งยุติการส่งเงินรายปี ทำให้อาณาจักจินไม่พอใจและทำสงครามกับราชวงศ์ซ๋ง จึงเป็นการทำศึกสองด้าน กระทั้งมองโกลส่งทูตยังราชวงศ์ซ่งเพื่อทำสงครามกำจัดอาณาจักรจิน ราชวงศ์ซ่งจึงให้ความร่วมมือ โดยหวังว่ชัยชนะจะทำให้ตนามารถเรียกดินแดภาคเหนือที่อาณาจักรจินยึดไปกลับคืนมา
วันพฤหัสบดีที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2555
triangle
ขณะที่จีนอยู่ในช่วงความแตกแยกนั่น ชาวซี่ตันซึ่งอาศัยอยู่ในทุ่งหญ้าแถบมองโกเลียใน รวมตัวดันเป็นอาณาจักรเหลียวและสภาปนาตนเป็นข่าน ก่อนยกตนเองเป็นจักรพรรดิตามแบบจีน
อาณาจักรเหลียวเิร่มรุกราภาคเหนือของจีน โดยบีบให้จักรพรรดิราชวงศ์สิ้นยุคหลังยกดินแดนสิบหกหัวเมืองแถบเยียนจิง ซึ่งอยู่ใต้แนวกำแพงเมืองจีนให้แก่อาณาจักรเหลียวได้สำเร็จ
อารยชนอีกกลุ่มหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อความมั่นคงของราชวงศ์ซ่งคือ อาณาจักซีเซี่ยของชาวตังกุต ซึ่งเป็นชนเชื้อสายทิเบตที่อาศัยอยู่ในแถบที่ปัจจุบันเรียกว่า มณฑลกานซู่ และเขตปกครองเซี่ยหุยพวกเขาสะสมความมั่นคั่งจากการเป็นคนกลางในเส้นทางการค้าระหว่างจีนกับเอเชียกลางโดยในยุคราชวงศ์ถัง ผู้นำของชาวตังกุตได้รับแต่งตั้งจากจักรพรรดิจีนให้เป็นผู้เป็นผู้คุมเมืองหน้าด่าน ดูแลความสงบเรียบร้อยทางทิศตะวันตก และเมื่อถึงยุคราชวงศ์ซ่ง ผู้นำของชาวตังกุตได้ส่งคณะทูตมาถว่ายบรรณการต่อทั้งจักรพรรติราชวงศ์ซ่ง ผู้นำของชาวตังกุตได้ส่งคณะทูตมาถวายบรรณาการต่อทั้งจักรพรรดิราชวงศ์ซ่งและอาณาจักรเหลียว ปัญหาเกิดขึ้นใน ค.ศ. 1038 เมื่อหยวนเฮ่า ผู้นำของชาวตังกุตได้ส่งคณะทูตมาถวายบรรณาการต่อทั้งจักรพรรดิ์ราชวงศ์ต้นราชวงศ์ซ่ง ผู้นำของชาวตังกุตประกาศสถาปนาอาฯาจักรต้าเซี่ย และตั้งตนเป็นจักรพรรดิตามแบบจีน โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่ซิงวิ๋งหรือ ในปัจจุบันคือหบินชวส รวมทั้งไม่ยอมรับความสัมพันธ์นระบบบรรณการกับราชวงศ์ซ่งอีกต่อไป ราชวงศ์ซ่งมีปฏิกิริยาต่อเรื่องนี้ในทันที่ เพราะลำพังการทำสมาธิสัญญาฉานยวนซึ่งยอมรับความสัมพันธ์ในระบบบรรณาการกับราชวงศ์ซ่งอีกต่อไป ราชวงศ์ซ่งมีปฏิกริริยาต่อเรื่องนี้ในทันที เพราะลำพังการทำสนธิสัญญาฉานยวนซึ่งยามรับว่าจกรพรรดิเหลียวเป็น "โอรสแห่งสวรรค์" อีกองค์หนึ่งเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ ราชวงศ์ซ่งจึงส่งกำลังเข้าไปปราบปรามหยวนเฮ่าเมื่อ ค.ศ. 1040 แต่ไม่สำเร็จ
เมื่อสถาปนาราชวงศ์ซ่งแล้ว ทางภาคเหนือของจีนมีภัยคุกคาม ภาคใต้ยังไม่มีเอกภาพ จึงทรงดำเนินนโยบาย(ตามคำแนะนำของอัครเสนาบดี) "ภาคใต้ก่อนภาคเหนือ"
เมื่อราชวงศ์ซ่งสามรถปราบปรามราชวงศ์อั่นเหนือสำเร็จแล้วปิดฉากยุค"ห้าราชวงศ์ สิบอาณาจักร" อย่างถาวร ราชวงศ์ซ่งจึงเปลี่ยนนโยบายที่มีต่อเหลียวโดยพยายามใช้กำลังทหารยึดสิบหกหัวเมืองทางภาคเหนือคืนมา การทำสงครามยืดเยื้อ กระทั่งอาณาจักรเหลียวบุกเข้ามาเกือบประชิดราชธานีราชวงศ์ซ่ง จึงยอมทำข้อตกลงสันติภาพที่เรียกว่า "สนธิสัญญาฉานยวน"
อนารชนอีกกลุ่มที่มีอิทธิพลต่อความมั่นคงของราชวงศ์ซ่งคือ อาณาจักรซีเซี่ยของวาวตังกุด ซึ่่งเป็นชนเชื้อสายทิเบตที่อาศยอยู่ในแถบที่ปัจจุบันเรียกว่ามณฑลกานซู่ และเขตปกรองตนเองหนิงเซี่ยหุยโดยสะสมความมั่งคั่งจากากรเป็นคนกลางในเส้นทางการค้าระหว่างจีนกับเอเชียกลางดดยในยุคราชวงศ์ถัง ผู้นำของชาวตังกุตได้รับแต่ตั้งจากจักรพรรดิจีนให้เป็นผู้คุมเมืองหน้าดาน...ผู้นำตังกุตประกาศสถาปนาอาณาจักรต้าเซี่ย และตั้งตนเป็นจักรพรรดิตามแบบจีน โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่ซิงชิ่ง
ความพ่ายแพ้ของราชวงศ์ซ่งต่ออาณาจักรซีเซี่ยทำให้อาณาจักรเหลียวฉวยโอกาสเรียกร้องผลประโยชน์จากราชวงศ์ซ่งมากขึ้น โดยใน ค.ศ. 1042 จักพรรดิเหลียวซิงจง ส่งทูตมาเจรจา ของให้ราชวงศ์ซ่งยกดินแดนกวาน ซี่งเป็นพื้นที่ทางยุทธศาสตร์ตอนใต้ของปักกิ่งให้แก่อาณาจักรเหลียวซึ่งราชสำนักซ่งไม่ยินยอมยกให้ แต่ยินยอมส่งเงินรายปีให้แก่อาณาจักรเหลียวเพิ่ม..โดยแลกเปลี่ยนกับการที่อาณาจักรเหลียวจะช่วยบีบให้อาณาจักรซีเซี่ยยอมเป็นรัฐบรรณาการของราชวงศ์ซ่งต่อไป เมื่อได้ผลประโยชน์ดังกล่าวเพิ่มขึ้นในต้น ค.ศ. 1043 จักรพรรดิเหลียวชิงจงจึงส่งทูตไปของให้หยวนเฮ่ายอมอ่อนน้อมต่อราชวงศ์ซ่ง ซึ่งหยวนเฮ่ายื่นข้อเสนอว่าตนเองยินดีนับถือจักรพรรคิซ่งเหญินจง เป็นพระบิดา แต่จะไม่ยอมให้อาณาจักรซีเซี่ยเป็นรัฐบรรณาการของราชวงศ์ซ่ง...
นักการทูตคนสำคํยของราชวงศ์ซ๋งเป็นผู้นำในการคัดค้านข้อเสนอของหยวนเฮ่าโดยให้เหตุผลว่า หากราชวงศ์ซ่งไม่สามารถบีบให้อาณาจักณซีเซี่ยยอมเป็นรัฐบรรณาการ อาณาจักรเหลี่ยวก็จะยิ่งตระหนักถึงความอ่อนแดของราชวงศ์ซ่งและฉวยโอการเรียกร้องผละประโยชน์ต่างๆ มากขึ้น และหากราชวงศ์ซ่งยอมรับว่าอาณาจักรซีเซี่ยเป็นรัฐที่มีสถานะเท่าเี่ยกับตน จักรพรรดิเหลียวก็อาจอ้างได้วาในเมืออาณาจักซีเซี่ยเป็นรัฐบรรณการของอาณาจักเหลียว ราชวงศ์ซ่งซึ่งมีสถานะเที่ยเท่ากับอาณาจักรซีเซี่ยก็ความเป็นรัฐบรรณการของอาณาจักรเหลียวเช่นกัน...
การปฏิเสธของราชวงศ์ซ่งสร้างความไม่พอใจแก่หยวนเฮ่าเป็นอย่างมาก เขาได้พิจารณาแล้วเห็นว่าผู้ที่ได้ประโยชน์ที่แท้จากการนี้คือ อาณาจักรเหลียว ทั้่งนี้เพราะภัยคุกคามจากซีเซี่ยทำให้ซ่งจำต้องยอนยอมต่าข้อเรียกร้องต่าง ๆ ของเหลียว ขณะที่ซีเซี่ยไม่ได้อะไรเลย เขาจึงหันมาดำิเนินนธบายบั่นทอนอำนาจของอาณาจักเหลียว .. จักรพรรดิเหลียวขิงจง ไม่พอพระทัยอยางยิ่งและได้แจ้งให้ราชสำนักซ่งทราบวว่าพระองค์จะใช้กำลังทหารเข้าจัดการกับซีเซี่ย และขอให้ราชวงศ์ซ่งงดเว้นการทำข้อตกลงสันติภาพใดๆ กับหยวนเฮ่า...
ความสัมพันธ์ทากการเมืองและสงครามแบบสามเส้านี้จบลงด้วยการใช้เงินแลกกับสันติภาพ แต่หากพิจารณาความสัมพะนธ์ ซ่ง-เหลียว-ซีเซี่ย แล้วการทำข้อตกลงกับซีเซียส่งผลดีต่อราชวงศ์ซ่งเป็นอยางยิ่ง เพราะเท่ากับว่าราชวงศืซ่งมีข้อตกลงสันติภาพกับทั้งอาณาจักรเหลียวและอาณาจักรซีเซี่ย ขณะที่ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรเป็นไปแบบไม่ราบรื่น มีการทำสงครามกันเป็นระยะโดยไม่ต้องกังวลเรื่องที่เหลียและซี่เซี่ยจะรวมตัวกันมาบุกซ่งจึงส่งผลให้เศษฐกิจราชวงศ์ซ่งได้ดุลทั้งสองอาณาจักร..
หากต้องการข้อมูลหรือรายละเอียดเพิ่มเติม Kositthiphon.blogspot.com
Mongol Military
กองทัพมองโกล เป็นกองกำลังทหารม้าเป็นส่วนใหญ่ โดยจำนวนทหารมองโกลมี สองในสามของกองทัพทั้งหมดทหารม้าแบ่งออกเป็น
- ทหารม้าเบา คือทหารที่สวมเกราะเบาอย่างเช่นเกราะผ้าไหม เกราะหนังกวางหรือไม่สวมเกราะ ติดอาวุธเบาเช่นดาบโค้งและธนู
- ทหารม้าหนัก คือทหารสวมเกราะหนักทั้งคนและม้าศึก พวกเขาจะสวมเกราะที่ทำจากแผ่นเหล็กร้อยเข้าด้วยกันเหมือนเกราะจีนและติดอาวุธหนักเต็มอัตราคือ ดาบโค้ง ธนู ขวานน และทวนยาว ทหารม้าหนักมองโกลมักจะเป็นแนวหน้าในการบุกโจมตี
กองทัพม้ามองโกลจะแบ่งสายการบังคับบัญชาอย่างเป็นระบบ โดยไล่สายย่อยจากปมู่ กองร้อย กองพัน กองพล และกองทัพ โดยทหารม้าหมู่หนึ่งจะมีทหาร 10 นาย ผู้บังคับบัญชาหนึ่งนาย หนึ่งกองร้อยมีนายกองปกครอง สิบกองร้อยรวมเป็นหนึ่งกองทัพ มีแม่ทัพปกครอง สิบกองทัพรวมเป็นหนึ่งกองพลมีจอมพลปกครอง นักรบมองโกลจะยึดถือเป็นกฎศึกเพียงอย่างเดียวคือห้ามถอยหากผู้บังคับบัญชาสูงสุดไม่สั่ง..
ทหารราบมองโกล จากบันทึก บาทหลวงชาวเนเธอร์แลนด์ วิลเลี่ยม เดอ ลูบรัค “พระเท้าเปล่า” บันทึกว่า “พวกนักรบตาร์ต้าจะติดอาวุธหนักเท่ากับนักรบสามถึงห้าคน หากฆ่าพวกมันไปหนึ่งก็จะมีพวกมันอีกสิบคนโผล่พุ่งมาประหนึ่งจากขุมนรกโลกันต์ ข้าพเจ้าไม่เคยประจักษ์กองทัพใดที่จะมีระเบียบวินัยเช่นนี้นับแต่คของซีซาร์”
ทหารราบมองโกลมีหน้าที่เป็นกองปีกคุ้มกันให้กองทหารม้ส ส่วนสายการบังคับบัฐชาก็เหมือนกับกองทหารม้าทั้งสิ้น
ธนู กองทัพม้าธนู ของเจงกิสข่านหัวธนูใช้การแช่น้ำเกลือทำให้แข็งกว่าหัวธนูทั่วไปจึงสามารถรเจาะเกาะ
คันธนูทำจากเขาสัตว์หรือกระดูกสัตว์ รวมถึงใช้อ็นสัตว์ นำมาเคี่ยวทำเป็นกาวและใช้เอ็นส่วนที่เหนี่ยวที่สุดมาทำคันธนู
ธนูสมัยโบราณมีสองแบบคือยิงระยะไกลหรือ Long Bow ขนาดใหญ่พกพาลำบากและ
Composite bow ยิงระยะสั้นกว่าและพกพาสะดวกกว่า ธนูเขาสัตว์ของมองโกลและกระสุนที่หัวกระสุนมีความแข็งสามารถเจาะเกราะใหญ่และหนาได้ เป็นข้อได้เปรียบในหลายๆ สมรภูมิของมองโกล
กองทัพเรือมองโกล มองโกลมีความมุ่งหมายที่จะครองอาณาจักรโพ้นทะเล อันประกอบด้วย ญี่ปุ่น เกาะกิวชิว เกาะชวา ซึ่งจำเป็นต้องใช้กองทัพเรือ แต่ชาวมองโกลไม่มีความรู้ในเรื่องนี้..
ทัพเรือมองโกลโจมตีญี่ปุ่นครั้งแรก โดยมองโกลเกณฑ์กองเรือเกาหลี 900 ลำ นำทหารสองหมืนห้าพันคนขึ้นฝั่งที่ท่าเองฮากาตา เกาะกิวิว วันต่อมาเกิดการสู้รบอย่างดุเดือด แต่ไม่รู้แพ้รู้ชนะ คืนนั้นเกิดพายุใหญ่ทำลายเรือมองโกล พินาศกว่าครึ่ง มองโกลจึงต้องถอยกลับ
เจ็ดปีต่อมามองโกลส่งกองทัพเรือมหึมามาทำสงครามกับญี่ปุ่นอีกครั้งและประวัติศาสตร์ก็ซ้ำรอย นั้นคือเกิดพายุใหญ่ โหมกระหน่ำ ทัพเรือมองโกล..
ไม่มีการโจมตีญี่ปุ่นเป็นครั้งที่สาม..
ทหารมองโกล…เป็นทหารที่มีความชำนาญในพื้นที่ราบอดทนต่อสภาพอากาศหนาวจัด ร้อนจัดแต่ไม่ชอบร้อนชื่น ไม่สันทัดทางทะเล มีระเบียบ วินัย ที่สำคัญเป็นทัพที่เดินทัพได้ไวมาก และมีความรวดเร็วในการจู่โจม กล่าวกันหากม้ามองโกลเหยียบเข้าถึงที่ใดได้ทหารมองโกลก็สามารถยึดที่นั้นได้เช่นกัน ทหารมองโกลมีความเชียวชาญในการขี่ม้า และยิงธนูโดยกำเนิดเนืองจากเป็นสังคมปศุสัตว์ เมือเกิดมาเด็กชายทุกคนจะมีม้าหนึ่งตัวและธนูประจำกายเพื่อใช้ในการดำรงชีวิต..ด้วยเหตุนี้ความสันทันและเจนจัดบนหลังม้าจึงไม่ชนชาติใดยิ่งไปกว่ามองโกล
การข่าว หน่วยข่าวม้าเร็ว
ชาวมองโกลเป็พวกเร่รอ่นบนหลังม้ามาแต่กำเนิด ดังนั้นแล้วการส่งสารระหว่างเมืองหรือกองทัพจึงเป็นระบบม้าเร็วเป็นสำคัญ และระบบม้เร็วของมองโกลนั้นนับเป็นหน่วยข่าวที่รวดเร็วและแม่นยำที่สุดในโลก ณ ขณะนั้น
นายม้าเร็วของมองโกลนั้นจะสวมชุดเครื่องแบบชนิพิเศษคือเสื้อไหมติดตราอินทรีและมีกระิ่ดิ่งห้อยข้างเอวเพื่อเป็นการบอกเตือนผู้คนที่สัญจรไปมาและนายม้าเร็วนั้นยังจะได้รับอภิสทิธิ์ดังนี้
นายม้าเร็วไม่ต้องเสียภาษี นายม้าเร็วสามารถสั่งในขบวนแม่ทัพหรือขุนนางระดับสูงหลีกให้หยุดหลีกให้พ้นทาง หากม้าเร็วมีอาการบาเจ็บหรือตายลงระหว่างทาง นายม้าเร็วสามารถยึดม้าจากใครก็ได้ทั้งสิ้น ด้วยความสำเร็จของหน่วยม้าเร็วคือการวางจุดส่งข่าวตามเส้นทางต่าง ๆ โดยจะมีการตั้งกระโจมรับรองทุก ๆ 80 ไมล์ ในหนึึ่งกระโจมรับรองจะมีเหล่านาม้าเร็วเตรียมพร้อมคอยท่าอยู่พร้อมม้าเร็วสำรองอีกนับร้อยตัวประจำการอยู่ การส่งสารของนายม้าเร็วนั้นจะดำเนินไปตลอดเวลาทั้งกลางวันและกลางคืน 24 ชั่วโมง มีบันทึกว่าข่าวจากกรุงคาราโครัมสามารถแผ่กระจายไปทั่วจักรวรรดิภายในเวลาไม่กี่เดือน
- ทหารม้าเบา คือทหารที่สวมเกราะเบาอย่างเช่นเกราะผ้าไหม เกราะหนังกวางหรือไม่สวมเกราะ ติดอาวุธเบาเช่นดาบโค้งและธนู
- ทหารม้าหนัก คือทหารสวมเกราะหนักทั้งคนและม้าศึก พวกเขาจะสวมเกราะที่ทำจากแผ่นเหล็กร้อยเข้าด้วยกันเหมือนเกราะจีนและติดอาวุธหนักเต็มอัตราคือ ดาบโค้ง ธนู ขวานน และทวนยาว ทหารม้าหนักมองโกลมักจะเป็นแนวหน้าในการบุกโจมตี
กองทัพม้ามองโกลจะแบ่งสายการบังคับบัญชาอย่างเป็นระบบ โดยไล่สายย่อยจากปมู่ กองร้อย กองพัน กองพล และกองทัพ โดยทหารม้าหมู่หนึ่งจะมีทหาร 10 นาย ผู้บังคับบัญชาหนึ่งนาย หนึ่งกองร้อยมีนายกองปกครอง สิบกองร้อยรวมเป็นหนึ่งกองทัพ มีแม่ทัพปกครอง สิบกองทัพรวมเป็นหนึ่งกองพลมีจอมพลปกครอง นักรบมองโกลจะยึดถือเป็นกฎศึกเพียงอย่างเดียวคือห้ามถอยหากผู้บังคับบัญชาสูงสุดไม่สั่ง..
ทหารราบมองโกล จากบันทึก บาทหลวงชาวเนเธอร์แลนด์ วิลเลี่ยม เดอ ลูบรัค “พระเท้าเปล่า” บันทึกว่า “พวกนักรบตาร์ต้าจะติดอาวุธหนักเท่ากับนักรบสามถึงห้าคน หากฆ่าพวกมันไปหนึ่งก็จะมีพวกมันอีกสิบคนโผล่พุ่งมาประหนึ่งจากขุมนรกโลกันต์ ข้าพเจ้าไม่เคยประจักษ์กองทัพใดที่จะมีระเบียบวินัยเช่นนี้นับแต่คของซีซาร์”
ทหารราบมองโกลมีหน้าที่เป็นกองปีกคุ้มกันให้กองทหารม้ส ส่วนสายการบังคับบัฐชาก็เหมือนกับกองทหารม้าทั้งสิ้น
ธนู กองทัพม้าธนู ของเจงกิสข่านหัวธนูใช้การแช่น้ำเกลือทำให้แข็งกว่าหัวธนูทั่วไปจึงสามารถรเจาะเกาะ
คันธนูทำจากเขาสัตว์หรือกระดูกสัตว์ รวมถึงใช้อ็นสัตว์ นำมาเคี่ยวทำเป็นกาวและใช้เอ็นส่วนที่เหนี่ยวที่สุดมาทำคันธนู
ธนูสมัยโบราณมีสองแบบคือยิงระยะไกลหรือ Long Bow ขนาดใหญ่พกพาลำบากและ
Composite bow ยิงระยะสั้นกว่าและพกพาสะดวกกว่า ธนูเขาสัตว์ของมองโกลและกระสุนที่หัวกระสุนมีความแข็งสามารถเจาะเกราะใหญ่และหนาได้ เป็นข้อได้เปรียบในหลายๆ สมรภูมิของมองโกล
กองทัพเรือมองโกล มองโกลมีความมุ่งหมายที่จะครองอาณาจักรโพ้นทะเล อันประกอบด้วย ญี่ปุ่น เกาะกิวชิว เกาะชวา ซึ่งจำเป็นต้องใช้กองทัพเรือ แต่ชาวมองโกลไม่มีความรู้ในเรื่องนี้..
ทัพเรือมองโกลโจมตีญี่ปุ่นครั้งแรก โดยมองโกลเกณฑ์กองเรือเกาหลี 900 ลำ นำทหารสองหมืนห้าพันคนขึ้นฝั่งที่ท่าเองฮากาตา เกาะกิวิว วันต่อมาเกิดการสู้รบอย่างดุเดือด แต่ไม่รู้แพ้รู้ชนะ คืนนั้นเกิดพายุใหญ่ทำลายเรือมองโกล พินาศกว่าครึ่ง มองโกลจึงต้องถอยกลับ
เจ็ดปีต่อมามองโกลส่งกองทัพเรือมหึมามาทำสงครามกับญี่ปุ่นอีกครั้งและประวัติศาสตร์ก็ซ้ำรอย นั้นคือเกิดพายุใหญ่ โหมกระหน่ำ ทัพเรือมองโกล..
ไม่มีการโจมตีญี่ปุ่นเป็นครั้งที่สาม..
ทหารมองโกล…เป็นทหารที่มีความชำนาญในพื้นที่ราบอดทนต่อสภาพอากาศหนาวจัด ร้อนจัดแต่ไม่ชอบร้อนชื่น ไม่สันทัดทางทะเล มีระเบียบ วินัย ที่สำคัญเป็นทัพที่เดินทัพได้ไวมาก และมีความรวดเร็วในการจู่โจม กล่าวกันหากม้ามองโกลเหยียบเข้าถึงที่ใดได้ทหารมองโกลก็สามารถยึดที่นั้นได้เช่นกัน ทหารมองโกลมีความเชียวชาญในการขี่ม้า และยิงธนูโดยกำเนิดเนืองจากเป็นสังคมปศุสัตว์ เมือเกิดมาเด็กชายทุกคนจะมีม้าหนึ่งตัวและธนูประจำกายเพื่อใช้ในการดำรงชีวิต..ด้วยเหตุนี้ความสันทันและเจนจัดบนหลังม้าจึงไม่ชนชาติใดยิ่งไปกว่ามองโกล
การทำศึกของเจกิสข่านไม่เหนือน จักรพรรดิองค์ใดในโลกจะโหดร้ายและกระหายในสงครามมากกว่าที่จะขยายดินแดน โดยปรกติหากเมืองคู่กรณี ยอมอ่อนน้อม ก็จะมีการกำหนดให้ส่งราชบรรณการทุกปี แต่ เจงกิสข่านนั้นนอกจากเครื่องราชบรรณาการแล้ว ยังมีการเกณฑ์ไพร่พล เข้าร่วมในกองทัพด้วย…
ปืนใหญ่มองโกล…มองโกลสร้างปืนใหญ่ขึ้นโดยวิศวกรผู้เชี่ยชาญระดับสูงจากจีน เปอร์เซียและยุโรป นำดินปืนจากจีนไปผสมผสามกับการปาลูกไฟของมุสลิม และประยุกต์กับเทคโนโลยีการหล่อระฆังของยุโรป ซึ่งเป็นนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีแบบใหม่หมดจด ซึ่งเทคโนโลยีก้าวกระโดดนี้ มีความสำคัญ แต่ผลจากวิธีการที่เลือกนำมาผสมผสานซึ่งเทคโนโลยี เพื่อการสร้างสิ่งใหม่นั้นไม่ธรรมดา…การข่าว หน่วยข่าวม้าเร็ว
ชาวมองโกลเป็พวกเร่รอ่นบนหลังม้ามาแต่กำเนิด ดังนั้นแล้วการส่งสารระหว่างเมืองหรือกองทัพจึงเป็นระบบม้าเร็วเป็นสำคัญ และระบบม้เร็วของมองโกลนั้นนับเป็นหน่วยข่าวที่รวดเร็วและแม่นยำที่สุดในโลก ณ ขณะนั้น
นายม้าเร็วของมองโกลนั้นจะสวมชุดเครื่องแบบชนิพิเศษคือเสื้อไหมติดตราอินทรีและมีกระิ่ดิ่งห้อยข้างเอวเพื่อเป็นการบอกเตือนผู้คนที่สัญจรไปมาและนายม้าเร็วนั้นยังจะได้รับอภิสทิธิ์ดังนี้
นายม้าเร็วไม่ต้องเสียภาษี นายม้าเร็วสามารถสั่งในขบวนแม่ทัพหรือขุนนางระดับสูงหลีกให้หยุดหลีกให้พ้นทาง หากม้าเร็วมีอาการบาเจ็บหรือตายลงระหว่างทาง นายม้าเร็วสามารถยึดม้าจากใครก็ได้ทั้งสิ้น ด้วยความสำเร็จของหน่วยม้าเร็วคือการวางจุดส่งข่าวตามเส้นทางต่าง ๆ โดยจะมีการตั้งกระโจมรับรองทุก ๆ 80 ไมล์ ในหนึึ่งกระโจมรับรองจะมีเหล่านาม้าเร็วเตรียมพร้อมคอยท่าอยู่พร้อมม้าเร็วสำรองอีกนับร้อยตัวประจำการอยู่ การส่งสารของนายม้าเร็วนั้นจะดำเนินไปตลอดเวลาทั้งกลางวันและกลางคืน 24 ชั่วโมง มีบันทึกว่าข่าวจากกรุงคาราโครัมสามารถแผ่กระจายไปทั่วจักรวรรดิภายในเวลาไม่กี่เดือน
วันพุธที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2555
Temujin
กาบุลข่าน ผู้ยิ่งใหญ่ เผ่ามองโกลได้รับความร่มเย็นเป็นสุขในฐานะชาติผู้นำในเขตทะเลทรายโกบีทางเหนือ กาบุลข่านเดินทางไปขอบุตรสาวที่เผ่าทะทาเอยเพื่อเจริญสัมพันธไมตรี แต่หัวหน้าเผ่าทะทาเอยกลับส่งตัวกาบุลข่านไปให้เมืองกิม หรือ อาณาจักรจิน ประหาร ตั้งแต่นั้นมามองโกลและทะทาเอยจึงเริ่มทำสงครามกัน
เยซูไก ห้วหน้าเผ่าคนใหม่ รวบรวมคนที่ไร้เผ่าต่าง ๆ เข้าด้วยกันทำให้เป่ามองโกลมีจำนวนประชากรหลายหมื่นคนและได้เป็นเผ่าที่ใหญ่เผ่าหนึ่ง ซึ่งต่อมาเยซูไกได้ทำการ “ออกล่าหาภรรยา”ตามประเพณีมองโกลซึ่งได้แย่งภรรยาของหัวหน้าเผ่าเบี้ยฉี คือ ฮูหลั่น และด้วยเหตุนี้เมืองเผ่าทะทาเอยทราบข่าวจึงร่วมกับทัพกับเผ่าเบี้ยฉีโจมตีเผ่ามองโกล ซึ่งได้รับความเสียหายอย่างหนัก
ต่อมาเยซูไกนำทัพไปปราบเผ่าทาทาร์ ซึ่งสามารถจับหัวหน้าเผ่าทาทาร์ที่ชื่อเตมูจินได้ นำมาประหาร แล้วนำชื่อเตมูจินนี้มาตั้งให้กับบุตรชายของตน เมืองเตมูจิน 9 ขวบ ต้องเดินทางไปยังเผ่าหนจิลาเพื่อหมั้นกับสาวของเผ่านหนจิลาที่ชื่อว่า บูร์ไต ซึ่งตามประเพณีของชนเผ่า เตมูจิน เจ้าบ่าวจะต้องอยู่ที่เผ่าหนจิลา เป็นเวลา 2 ปี ระหว่างทางกลับของหัวหน้าเยซูไก เยซูไกถูกลอบสังหาร เชื่อว่าเป็นการแก้แค้นของเผ่าทาทาร์ จึงรีบนำตัวเตมูจินกลับโดยไม่ได้บอกเรื่อเยซูไกถูกสังหารให้เผ่าหนจิลาทราบ
เมื่อกลับมาถึงเผ่าปรากฎว่า โดนยึดอำนาจโดยตระกูลไฮซูอู้ ซึ่งทำให้เผ่ามองโกลสลายตัวไป หลายปีต่อมาตระกูล”ซูอู้รู้ข่าวว่า เตมูจินยังไม่ตาย จึงออกตามล่า ซึ่งในช่วงนี้มีข่าวลือต่างๆ การจับตัวและหลบหนีของเตมูจินตลอด..
การก่อร่างสร้างตัวหรือการสร้างวีรกรรมของเตมูจินกับน้อง เช่นการเข้าช่วยคนที่ถูกพวกทหารกิมจับ เนื่องจากถ้าใครอยู่แบบตัวคนเดียวไม่มีเผ่าอาจมีภัยได้ทุกเมือง เตมูจินเลือกเผ่าที่มีการรวมตังหรือสร้างเผ่าใหม่ และการที่ชาวมองโกลสังเกตเห็นลูกอดีตหัวหน้าเติบใหญ่ขึ้นกลับมาอยู่ และด้วยไม่ว่าเหตุผลใด เตมูจินได้รับเลือกให้เป็นหัวหน้าเผ่า และตั้งเป็นเผ่ามองโกลเผ่าใหม่ จากประชากรมองโกลที่เริ่มจากหลายๆ สิบขยายเป็นหลายๆ ร้อย
ต่อนั้น เตมูจินไปขอคู่มั่นที่เคยหมั้นไว้ที่เผ่าหนจินดาและนำกลับมายังเผ่ามองโกล ในขณะเดียวกันเผ่าเบี้ยฉีรู้การตั้งเผ่ามองโกลใหม่ได้นำทัพโจมตีเผ่ามองโกลขณะที่เตมูจินอยู่ทีเผ่าอื่นประชาชนส่วนใหญ่ของมองโกลหนีทัน แต่ว่าบูร์ไต ภรรยาเตมูจิหนีไม่รอดถูกเผ่าเบี้ยฉีจับได้และถูกเผ่าเบี้ยฉีย่ำยี
เมื่อเตมูจินทราบข่าว จึงนำทัพบุเผ่าเบี้ยฉีทันที.. ทัพของเตมูจินมีไม่ถึงพันนาย ในขณะที่นักรบเผ่าเบี้ยฉีมีมากว่า 20,000 นาย เตมูจินหนีฝ่าวงล้อมออกมา..ซึ่งทำให้เตมูจินได้เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ มากขึ้นจากเหตุการณ์ครั้งนี้
ต่อมาเตมูจินของความช่วยเหลือจากเผ่าเคอเรอิตและจาลา ทั้งสองเผ่าจึงร่วมมือกับเตมูจินโจมตีเผ่าเบี้ยฉี
ซึ่งสามารถขับไล่เผ่าเบี้ยฉีและช่วยภรรยาออกมาซึ่งในขณะนั้นบรูไต ตั้งท้อง และกระทั่งปัจจุบันไม่มีใครทราบว่าเป็นลูกเตมูจินหรือเผ่าเบี้ยฉี เมือคลอดออกมาตั้งชื่อว่า โจชิ
ชื่อเสียงของสามเผ่าที่ชนะสงครามกระจายออกไป เผ่าเล็กๆ ต่างเข้ามาร่วมอาศัยอยู่ด้วยเพื่อให้เผ่าขอตนปลอดภัยจากสงครามต่าง ๆ
เหตุการณ์ที่คาดไม่ถึงก็เกิดขึ้น เนื่องจากปัญหาแย่งฝูงม้า ชนเผ่าและข่านส่วนหนึ่งได้สังหารน้องชายจาบูลฮา หัวหน้าเผ่าจาลา สงครามระหว่างเผ่าจึงเกิดขึ้น
พ.ศ.1734 เผ่ามองโกลถูกล้อมโดย 13 ทัพของจาลาเป็นที่รู้จักกันในนาม "สงคราม 13 ทัพ" มองโกลส่วนหนึ่งหนีได้ด้วยการเปิดทางให้จากคนในของเผ่าจาลา ส่วนที่ถูกจับได้ ทหารจาลาโยงคนพวกนั้นลงหม้อทีน้ำกำลังเดือด คือต้มคนเป็นๆ และแจกจ่ายให้ทหารในทัพกิน…
พ.ศ. 1739(ค.ศ.1196)เมืองกิม ส่งทูตมายังมองโกล ให้เตมูจิช่วยปราบเผ่าทาทาร์เนื่องจากก่อเหตุปล้นชิงปศุสัตว์อยู่เสมอ และอาณาจักรก็ไม่คุ้นเคยสภาพอากาศทะเลทรายโกบี ฮ่องเต้เมืองกิมจึงขอให้เตมูจินข่านเป็นแม่ทพเมืองกิมและนำทหารไปปราบเผ่าทาทาร์(เนื่องจากมีชื่อเสียงเมื่อครั้งที่ปราบเผ่าเบี้ยฉี) เตมูจินตกลง จึงส่งทูตไปเผ่าเคอเรอิตเพื่อให้ร่วมทำสงคราม ฤดูร้อนปีเดียวกัน กองทัพเตมูจินและกองทัพโตกรุลข่านเข้าปราบเผ่าทาทาร์ คนของเผ่าทาทาร์บางส่วนหนีรอดไปได้
เมืองกิมส่งทูตมาให้ตำแหน่งเตมูจินให้เป็นผู้ปกครองทุกเผ่า ให้โตกรุลข่านเป็นอ๋องข่าน เตมูจินไม่สนในอำนาจที่เมืองกิมมอบให้ เขาไม่วางใจเมืองกิม ด้วยเหตุนี้เขาจึงพาชาวเผ่ามองโกลอพยพห่างออกจากอาณาจักรกิม แต่การย้ายเผ่า ทำให้เผ่าจาลารู้ที่ตั้งเผ่ามองโกล จาบูฉาจึงรวบรวมกำลังพลได้ 12 เผ่า อาทิ เผ่าเบี้ยฉี เผ่าทาทาร์ เผ่าหนจิลา เผ่าจาลา เผ่าไนแมนศ์ เป็นต้น
ถึงอย่างไรเผ่ามองโกลก็เป็นฝ่ายชนะ เตมูจินได้เริ่มทำการปราบเผ่าต่างๆ เริ่มจากเผ่าของตระกูลไฮซูอู้ และในปี พ.ศ. 1745 เตมูจินได้ยกทัพไปปราบเผ่าทาทาร์ซึ่งเขาได้ชัยชนะอย่างเด็ดขาดเตมูจินยกเลิกกฎบรรพบุรุษ ที่ว่าเมืองใดที่ชนะเผ่าทาทาร์ให้ประหารคนในเผ่าทั้งหมด ด้วยเหตุนี้เผ่าที่เป็นศัตรูของมองโกลก็ได้ริ่มยอมจำนนและร่วมกับเผ่ามองโกล
เผ่านมองโกลและเผาเคอเรอิตเข้าโจมตีไนแมนส์ แต่โดยการยุยงของจาบูฮาเผ่าเคอเรดอิตจึงนำทัพกลับสุดท้ายก็หันมาทำศึกกันเอง ในที่สุดมองโกลเป็นฝ่ายชนะ เผ่าเคอเรอิตที่เหลือบางส่วนหนีไปอยู่กับเผ่าไนแมนส์
เตมูจินทำศึกกับเผ่าไนแมนส์ ในขณะที่อายุ 42 ปี และได้รับชัยชนะ
ปี พ.ศ.1749 (ค.ศ. 1206) เตมูจินข่านได้รับชื่อใหม่เป็น เจงกิสข่าน และเปลี่ยนจากเผ่ามองโกลเป็นอาณาจักรมองโกล
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...