วันพฤหัสบดีที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2555
triangle
ขณะที่จีนอยู่ในช่วงความแตกแยกนั่น ชาวซี่ตันซึ่งอาศัยอยู่ในทุ่งหญ้าแถบมองโกเลียใน รวมตัวดันเป็นอาณาจักรเหลียวและสภาปนาตนเป็นข่าน ก่อนยกตนเองเป็นจักรพรรดิตามแบบจีน
อาณาจักรเหลียวเิร่มรุกราภาคเหนือของจีน โดยบีบให้จักรพรรดิราชวงศ์สิ้นยุคหลังยกดินแดนสิบหกหัวเมืองแถบเยียนจิง ซึ่งอยู่ใต้แนวกำแพงเมืองจีนให้แก่อาณาจักรเหลียวได้สำเร็จ
อารยชนอีกกลุ่มหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อความมั่นคงของราชวงศ์ซ่งคือ อาณาจักซีเซี่ยของชาวตังกุต ซึ่งเป็นชนเชื้อสายทิเบตที่อาศัยอยู่ในแถบที่ปัจจุบันเรียกว่า มณฑลกานซู่ และเขตปกครองเซี่ยหุยพวกเขาสะสมความมั่นคั่งจากการเป็นคนกลางในเส้นทางการค้าระหว่างจีนกับเอเชียกลางโดยในยุคราชวงศ์ถัง ผู้นำของชาวตังกุตได้รับแต่งตั้งจากจักรพรรดิจีนให้เป็นผู้เป็นผู้คุมเมืองหน้าด่าน ดูแลความสงบเรียบร้อยทางทิศตะวันตก และเมื่อถึงยุคราชวงศ์ซ่ง ผู้นำของชาวตังกุตได้ส่งคณะทูตมาถว่ายบรรณการต่อทั้งจักรพรรติราชวงศ์ซ่ง ผู้นำของชาวตังกุตได้ส่งคณะทูตมาถวายบรรณาการต่อทั้งจักรพรรดิราชวงศ์ซ่งและอาณาจักรเหลียว ปัญหาเกิดขึ้นใน ค.ศ. 1038 เมื่อหยวนเฮ่า ผู้นำของชาวตังกุตได้ส่งคณะทูตมาถวายบรรณาการต่อทั้งจักรพรรดิ์ราชวงศ์ต้นราชวงศ์ซ่ง ผู้นำของชาวตังกุตประกาศสถาปนาอาฯาจักรต้าเซี่ย และตั้งตนเป็นจักรพรรดิตามแบบจีน โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่ซิงวิ๋งหรือ ในปัจจุบันคือหบินชวส รวมทั้งไม่ยอมรับความสัมพันธ์นระบบบรรณการกับราชวงศ์ซ่งอีกต่อไป ราชวงศ์ซ่งมีปฏิกิริยาต่อเรื่องนี้ในทันที่ เพราะลำพังการทำสมาธิสัญญาฉานยวนซึ่งยอมรับความสัมพันธ์ในระบบบรรณาการกับราชวงศ์ซ่งอีกต่อไป ราชวงศ์ซ่งมีปฏิกริริยาต่อเรื่องนี้ในทันที เพราะลำพังการทำสนธิสัญญาฉานยวนซึ่งยามรับว่าจกรพรรดิเหลียวเป็น "โอรสแห่งสวรรค์" อีกองค์หนึ่งเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ ราชวงศ์ซ่งจึงส่งกำลังเข้าไปปราบปรามหยวนเฮ่าเมื่อ ค.ศ. 1040 แต่ไม่สำเร็จ
เมื่อสถาปนาราชวงศ์ซ่งแล้ว ทางภาคเหนือของจีนมีภัยคุกคาม ภาคใต้ยังไม่มีเอกภาพ จึงทรงดำเนินนโยบาย(ตามคำแนะนำของอัครเสนาบดี) "ภาคใต้ก่อนภาคเหนือ"
เมื่อราชวงศ์ซ่งสามรถปราบปรามราชวงศ์อั่นเหนือสำเร็จแล้วปิดฉากยุค"ห้าราชวงศ์ สิบอาณาจักร" อย่างถาวร ราชวงศ์ซ่งจึงเปลี่ยนนโยบายที่มีต่อเหลียวโดยพยายามใช้กำลังทหารยึดสิบหกหัวเมืองทางภาคเหนือคืนมา การทำสงครามยืดเยื้อ กระทั่งอาณาจักรเหลียวบุกเข้ามาเกือบประชิดราชธานีราชวงศ์ซ่ง จึงยอมทำข้อตกลงสันติภาพที่เรียกว่า "สนธิสัญญาฉานยวน"
อนารชนอีกกลุ่มที่มีอิทธิพลต่อความมั่นคงของราชวงศ์ซ่งคือ อาณาจักรซีเซี่ยของวาวตังกุด ซึ่่งเป็นชนเชื้อสายทิเบตที่อาศยอยู่ในแถบที่ปัจจุบันเรียกว่ามณฑลกานซู่ และเขตปกรองตนเองหนิงเซี่ยหุยโดยสะสมความมั่งคั่งจากากรเป็นคนกลางในเส้นทางการค้าระหว่างจีนกับเอเชียกลางดดยในยุคราชวงศ์ถัง ผู้นำของชาวตังกุตได้รับแต่ตั้งจากจักรพรรดิจีนให้เป็นผู้คุมเมืองหน้าดาน...ผู้นำตังกุตประกาศสถาปนาอาณาจักรต้าเซี่ย และตั้งตนเป็นจักรพรรดิตามแบบจีน โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่ซิงชิ่ง
ความพ่ายแพ้ของราชวงศ์ซ่งต่ออาณาจักรซีเซี่ยทำให้อาณาจักรเหลียวฉวยโอกาสเรียกร้องผลประโยชน์จากราชวงศ์ซ่งมากขึ้น โดยใน ค.ศ. 1042 จักพรรดิเหลียวซิงจง ส่งทูตมาเจรจา ของให้ราชวงศ์ซ่งยกดินแดนกวาน ซี่งเป็นพื้นที่ทางยุทธศาสตร์ตอนใต้ของปักกิ่งให้แก่อาณาจักรเหลียวซึ่งราชสำนักซ่งไม่ยินยอมยกให้ แต่ยินยอมส่งเงินรายปีให้แก่อาณาจักรเหลียวเพิ่ม..โดยแลกเปลี่ยนกับการที่อาณาจักรเหลียวจะช่วยบีบให้อาณาจักรซีเซี่ยยอมเป็นรัฐบรรณาการของราชวงศ์ซ่งต่อไป เมื่อได้ผลประโยชน์ดังกล่าวเพิ่มขึ้นในต้น ค.ศ. 1043 จักรพรรดิเหลียวชิงจงจึงส่งทูตไปของให้หยวนเฮ่ายอมอ่อนน้อมต่อราชวงศ์ซ่ง ซึ่งหยวนเฮ่ายื่นข้อเสนอว่าตนเองยินดีนับถือจักรพรรคิซ่งเหญินจง เป็นพระบิดา แต่จะไม่ยอมให้อาณาจักรซีเซี่ยเป็นรัฐบรรณาการของราชวงศ์ซ่ง...
นักการทูตคนสำคํยของราชวงศ์ซ๋งเป็นผู้นำในการคัดค้านข้อเสนอของหยวนเฮ่าโดยให้เหตุผลว่า หากราชวงศ์ซ่งไม่สามารถบีบให้อาณาจักณซีเซี่ยยอมเป็นรัฐบรรณาการ อาณาจักรเหลี่ยวก็จะยิ่งตระหนักถึงความอ่อนแดของราชวงศ์ซ่งและฉวยโอการเรียกร้องผละประโยชน์ต่างๆ มากขึ้น และหากราชวงศ์ซ่งยอมรับว่าอาณาจักรซีเซี่ยเป็นรัฐที่มีสถานะเท่าเี่ยกับตน จักรพรรดิเหลียวก็อาจอ้างได้วาในเมืออาณาจักซีเซี่ยเป็นรัฐบรรณการของอาณาจักเหลียว ราชวงศ์ซ่งซึ่งมีสถานะเที่ยเท่ากับอาณาจักรซีเซี่ยก็ความเป็นรัฐบรรณการของอาณาจักรเหลียวเช่นกัน...
การปฏิเสธของราชวงศ์ซ่งสร้างความไม่พอใจแก่หยวนเฮ่าเป็นอย่างมาก เขาได้พิจารณาแล้วเห็นว่าผู้ที่ได้ประโยชน์ที่แท้จากการนี้คือ อาณาจักรเหลียว ทั้่งนี้เพราะภัยคุกคามจากซีเซี่ยทำให้ซ่งจำต้องยอนยอมต่าข้อเรียกร้องต่าง ๆ ของเหลียว ขณะที่ซีเซี่ยไม่ได้อะไรเลย เขาจึงหันมาดำิเนินนธบายบั่นทอนอำนาจของอาณาจักเหลียว .. จักรพรรดิเหลียวขิงจง ไม่พอพระทัยอยางยิ่งและได้แจ้งให้ราชสำนักซ่งทราบวว่าพระองค์จะใช้กำลังทหารเข้าจัดการกับซีเซี่ย และขอให้ราชวงศ์ซ่งงดเว้นการทำข้อตกลงสันติภาพใดๆ กับหยวนเฮ่า...
ความสัมพันธ์ทากการเมืองและสงครามแบบสามเส้านี้จบลงด้วยการใช้เงินแลกกับสันติภาพ แต่หากพิจารณาความสัมพะนธ์ ซ่ง-เหลียว-ซีเซี่ย แล้วการทำข้อตกลงกับซีเซียส่งผลดีต่อราชวงศ์ซ่งเป็นอยางยิ่ง เพราะเท่ากับว่าราชวงศืซ่งมีข้อตกลงสันติภาพกับทั้งอาณาจักรเหลียวและอาณาจักรซีเซี่ย ขณะที่ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรเป็นไปแบบไม่ราบรื่น มีการทำสงครามกันเป็นระยะโดยไม่ต้องกังวลเรื่องที่เหลียและซี่เซี่ยจะรวมตัวกันมาบุกซ่งจึงส่งผลให้เศษฐกิจราชวงศ์ซ่งได้ดุลทั้งสองอาณาจักร..
หากต้องการข้อมูลหรือรายละเอียดเพิ่มเติม Kositthiphon.blogspot.com
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น