วันพฤหัสบดีที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2555

Region




ศาสนา ได้สิ่งที่ธรรมชาติของมนุษย์มีความต้องการอย่างลึกซึ้งภายในและขณะเดียวกันศาสนาก็มีอิทธิพลต่อชีวิตและสังคมของมนุษย์ทั้งด้านกี และด้านร้าย สุดแต่สภานการณ์ ช่วงเวลา และสภาพสังคมในสภาพสังคมและการเปลนทำนองเดียวกันสภาพสังคมและการเปลี่นแปลงของสังคมก็มีอิทธิพลต่อศาสนาเช่นกัน
                ในอดีที่ผ่านมาหลายพันปีจนถึงปัจจุบัน ประวัติศาสตร์บันทึกไว้ว่าบางครั้งศาสนาก็ช่วยแก้สภานการณ์ที่เลวร้าย วิกฤตให้สงบลงได้ บางรั้งศาสนาก็เป็นสกเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการจราจล ฆาปันกัน บางครั้งบุคคลในศาสนาก็เข้าไปเกี่ยวข้อง ก้าวก่ายต่อการเมือง การปกครองเศรษฐกิจและสงครามเสียเอง ดังนั้นจึงอาจได้ว่า ศาสนามีอิทธิพลต่อสังคม กละขณะเดียวกันสังคมก็มีอิทธพลต่อศาสนาเช่นกัน
บทบาทและอิทธิพลของสังคมต่อศาสนา
                กล่าวคือ บุคคล สังคม และภาพแวดลิ้มทางสังคม และทางภูมิศาสตร์ตอลดจนวัวัฒนธรรมและการเมืองการปกครอง ล้วนมีส่วนสำคัญที่อาจสามารถเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงศาสนา และมีอิทธิพลต่อศาสนาในด้านต่าง ๆ ได้
                บทบาทและอิทธิพลของศาสนาต่อสังคมส่วนรวม
ความสัมพันธต่อบุคคล บุคคลต่อบุคคล เริ่มจากครอบครัวขยายสู่ชุมชน และประทเศชาติในการจัดระบบของสังคมได้รอิทธิพลจากศาสนาเป็นส่วนมาก กาจัดอัดับในรุปการปกครอง การจัดรูปแบบของสังคม เป็นต้นโดยความเชื่อที่ว่า ผู้ปกครองหรือกษัตริย์นั้น มักจะจุติจาสวรรค์ กังทีเรียกันว่าสมมติเทพ คือเป็นบุคคลอีระดับหนึ่งดำรงฐานลดหลั่นกนลงมาตามลำดับ ..การขจัดปัญหาเรื่องชนชั้น ตามความเชื่อถือทางศาสนาในทุกสังคม แม้จะแตกต่างทางชั้นวรรระอร่างไรก็ตามสามารถรวมกันได้ เพราะอาศัยศาสนาเป็นศูนย์กลางและศูนย์รวมทางสังคมโดยศาสนาอีกอย่างคือ การประกอบพิธีสำคัญๆ ของสัคมนั้นๆ

                ศาสนานำความจริญก้าวหน้าต่าง ๆ ให้แก่มนุษยืมากมาย ทุกประเทศยอมรับว่า ความก้าหน้าทางศิลปวิทยาการทุกชนิดเกิดจากศาสนา  เป็นบ่อเกิดแห่งการศึกษา  มนุษย์ได้รับประโยชน์ อันเกิดจาอิทธพลทธิพลของศาสนาของศาสนาในด้านต่าง ๆ  ศาสนาเป็นสิ่งช่วยจูงในเต้าใจ ให้มนุษยืมีความมั่นคง เป็นอนหนึ่งอันเดียวกัน มีความสงบจิตใจ สบายใจตามหลักธรรองศาสนาที่ตนนับถือ
                ในเรื่องความเชื่อ ศาสนาเป็นเสมือนความเร้นลับของมนุษยื โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วยนที่เป็นไสยศาสตร์ เวทมนต์ คาถา ซึ่งนักสังคมวิทยาลงความเห็นว่าเป็นเรื่องไม่มีเหตุผล แต่ในแง่ของจิตวิทยาสังคม ต้องยอมรับในประสิทธิผลของอำนาจเร้นลั ไสยศาสตร์ และเวทย์มนต์คาถา ในลักษณที่เป็นการต่อสู้ทางอารมณ์ในภาวะการณ์ที่มนุษย์ไม่สามารถจะช่วยตัวเองได้ จึงต้องดาศัสิ่งเหล่านี้เป็นที่พึ่ง เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวผูกพันทางใจ
                ศาสนาเป็นเสมือนสายใยที่เชื่อมมนุษยืกับสังคมเข้าด้วยกันในฐานะที่ศาสาเป้นสถาบันทางสัฝคมที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวเหนื่องมนุษย์ดับสังคมให้เข้าด้วยกันในฐานะที่ศาสนาเป็นสถาบันทางสังคมที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับสถาบันที่สำคัญอื่นๆ ในสัคม ซึ่งสามารรถแทรกอยู่ในสังคมแทบทุกชนชั้น ทุกวงการ ทุกสถาบันสัคม



                                                ชาวยิว  ชาวคริสต์  ชาวมุสลิม
                ศานายิวหรือศาสนายูดาห์ เกิดขึ้นในท่ามกลางสภาพสังคมที่ชาวยิวกำลังรับความทุกข์ ลำบาก ตกเป็นทาสถูกดขี่ขมเหงใช้งานหนัก โดนรังแก ถูกฆ่า ตามอำเภอใจของผู้มีอำนาจกครอง ชาวยิวทุคนหวังว่าจะมีผู้มาช่วยให้พ้นทุกข์ พ้นสภาพการเป็นทาส ซึ่งมีสถานะในสังคมเป็นเพียงพลเมืองชั้นต่ำสุด ยูดาห์เกิดมาเพื่อปลดป่อยชาวยิวจากทุกข์ยที่ถูกคุโทษ และภัยที่ถูกคุกคามทั้งปวง หลักธรรมคำสอนของศาสนามีวัตถุประสงค์ให้ชาวยิวร่วมใจกันสามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อการปลดแอกและสร้างชาติ สร้างประเทศบ้านเมืองที่เป็นอิสระเป็นหลักฐานมั่นคง
                สภาพสังคมของชาวยิวก่อนเกิดศาสนายิวเป็นเช่นนี้ จึงทำให้เกิดศาสนายิว และทำให้ศาสูกปกครองนายิวเน้นหลักเรื่องชาตินยม การรวมชาติ การช่วยกันสร้างชาติ ดดยมีหลักธรรมคำสอนให้มีความเชื่อมั่นศรัทธาในพรจ้าองค์เดียวสูงสุด และให้ความหวังและกำลังใจให้มีแรงบันดาลใจในการต่อสู้เพื่อชนชาติ ว่าชนชาติยิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงเลื่อก(มีเพียงชาติเดียวในโลกที่พระเจ้าทรงงเลือก) และจะให้ความช่วยเหลือให้ได้พบอินแดนอันอุดมสมบูรณ์ สงบสุข ใช้ตั้งบ้านเมืองสร้างชาติ ซึ่งเรียกว่าดินแดนแห่งสัญญา เป็นพันธสัญญาระหว่างพระเจ้ากับมนุษย์
                จากหลักธรรมคำสอน ซึ่งมีความเชื่อว่ามาจากพระเจ้าดดยตรงว่าพระเจ้าจะประทานความช่วยเหลื่อชนชาติตนอย่างแน่นอน  ซึ่งกำลังศรัทธาและความเชื่อมั่นนี้ในที่สุดชาวยิดจึงสามารถสร้างชาติและประเทศบ้านเมืองได้สำเร็จ
                ศาสนายิงเกิดขึ้นมาเพื่อช่วยชนชาติยิวโดยเฉพาะ และชนชาติยิวก็มีความเชื่อแลศรัทธาในหลักธรรมคำสอนของศาสนาอย่างลึกซึ้ง 


             ศาสนาคริสต์เกิดขึ้นท่ามกลางสังคมของชาวยิวที่ถูกกดขี่โดยชาวโรมันโดยตกเป็นเมืองขึ้น ถูกกดขี่ ขาดอิสระภาพ สภาพความเป็นอยุ่อัตคัตยากจน  สภาพสังคมของชาวยิวขณะนั้นต้องการผุ้ช่วยเหลือ ผู้สังสอนให้ประพฟติปฏิบัติในทางที่ถูก  ต้องการความรักความเมตตากรุณา ปลอบประดลมให้คลายจากความทุกข์ที่ได้รับอยุ่
                ด้วยความเชื่อที่ว่าพระเจ้าะไม่ทอดทิ้งชาวยิว พระเจ้าส่งผู้มรไถ่บาปเพื่อช่วยเหลือชาวยิว ซึ่งเรียกว่า Messiah ชาวยิวรอคอยผุ้ที่พระเจ้าจะส่งมาช่วยพวกเขาและเมือพระเยซูปรากฎตัวขึ้น และประกาศว่าเป็นบุตรของพระเจ้าพระเยซูมาในขณะที่ประชาชนรอคอย พระเยซุมาเพื่อให้ความหวังเป็นความจริง
                ระยะเวลาที่พระเยซูได้รับการยอมรบจากผู้ศรัทธานับถือว่าพระองค์เป็นบุตรของพระเจ้า เป็นพระฟู้ไถ่บาปให้มวลมนุษย์นั้นมีอยุ่เพืยงไม่กีปีก็ตรึงกางเขนพระเยซูและสาวกออกเผยแพร่ศาสนาไปยังชนบท ปราชนผู้ทุกขืยกาต้ต้อยในสังคมผู้เจ็บป่วยผู้อคอยความหวัง พระองค์ทรงสั่งสอนและปลอบโยนแก่ผู้เศร้าโศก นำความหวังความเข้าใจมาสู่ผุ้สำนึกผิ พระองค์ทำให้คำบาปกลับใจ มีผู้โจมตี ติเตียน พระองค์ว่าทรงคลุกคลีอยู่ท่ามกลางคนบาป คนเลว คนจน คคนสกปรก ต่ำต้อย คนป่วยพิการ... พระเยซูสอนให้มวลมนุษย์รกกันให้อภัยกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
                ศาสนาคริสต์แตกต่างจากศาสนายิว คือพระเยซูมีช่วงเวลาที่ประกาศศาสนาของพระอค์น้อยเหลือเกิดน เพี่ยงเวลา 3 ปี หากพระองค์มีอายุยืนนานดังเช่นศาสดาของศาสนาอื่น ศาสนาคริสต์อาจแผ่ไพศาลในโลกมากกว่านี้ และความเชื่อของสาวกพระเยซู   และมิชชั่นนารี ที่สืบกันมา ซึ่งยึดมั่นอุดมการณ์ ในการเผยแพร่ การเผยแพร่ศาสนาคริสต์เป็นขบวนการที่มีระบบและมีเงินทุนรองรับทำงานเป็นขั้นตอน และร่วมมือร่วมแรงร่วมใจ ทังฝ่ายพระและผุ้แกครองประเทศ ดดยเฉพาะในยุคล่าอาณานิคมของมหาอำนาจตะวันตก ในสมัยนั้นการเมือง และการเผยแพร่ศาสนาคริสต์จะมาคู่กน บางครั้งผู้ปกครองประเทศมหาอำนาจเหล่านั้นก็ใช้ศาสนาเป็นเครื่องมือหรือบงหน้าแต่ถึงอย่างไรมิชชันารีก็เผยแพร่ศาสนาอย่างแท้จริง โดยต้องการให้ประชาชนในประเทศต่าง ๆ หันมานบถือศาสนาคริสต์
                ทั้งการเมืองและการศาสนาจึงต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน โดยปริยาย จากประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาจะเห็นว่าประเทศที่ต้องตกเป็นอาณานิคมประเทศมหาอำนาจนั้น ในเวลาต่อมาประชาชนจะหันไปนับถือศาสนาคริสต์มากขึ้น


                ศาสนาอิสลาม  เกิดขึ้นในสภาพสังคมที่แตกต่าง การใช้ชีวิตของคนในสังคมอาหรับนั้นมีอิสระเสรีมกากว่าสภาพสังคมหละหลวม ไม่มีกฎระเบียบ ไม่เคารพสิทธิ การรบลาฆ่าฟันเป็นเรื่องปกติ การล้างแค้นเป็นหน้าที่ความเคารพนับถือ สิ่งลึกลับซ้อนเร้นเหนือธรรมชาติ ผีสางเทวดา เวทย์มนต์จะคาภา ไสยศาสตร์เป็นสิ่งจำเปน  จากสภาพสังคมดังกลาศาสนาที่เกิดขึ้นในสังคมเช่นนี้ ต้องมีความเด็ดขาด จริงจัง จึงจะควบคุมคนในสังคมนั้นได้ ศาสนาอิสลามจึงมีหลักธรรมคำสอนที่เป็นกฎหมาย ระเบียบ วิธีปฎิบัติในการกำรงชีวิตเป็นศุนย์รวมจิตใจ เป็นธรรมนูญสูงสุดของชีววิต ซึ่งมีคำสอนละเยดลึกซึ้ง ครอบคลุมการดำรงชีวิตตั้งแต่เกิดกระทั้งตายในทุกๆด้าน
                ศาสดาผู้ก่อตั้งคือ พระมูฮัมหมัด กว่าพระองค์จะประกาศศาสนได้สำเร็จ ต้องต่อสู้เพื่อให้ผุ้ต่ต้านยอมจำนน  การเผยแพร่ศาสนาอิสลาม ท่านศาสดาจะใช้วิธีนุ่มนวล สั่งสอนให้เชื่อฟังและศรัทธา และสำหรับผู้ไม่เชื่อฟัง ต่อต้าน ท่าจึงจะใช้กำลัง คือ ใช้พระคุณตามด้วยพระเดช ใช้ทั้งธรรมะและกองทัพ เพราะอุปนิสัยการเป็นนักสู้และมีอิสระเสรีภาพมากมาเป็นเวลานานของชาวอาหรับ จะสู้กระทั่งแพ้จึงจะรับฟัง การจะยอมใครง่ายๆ นั้นเป็นเรื่องยาก แต่ถ้ายอมรับฟังแล้ว ยอมรับนับถือแล้วก็จะยอมตายถวายชีวิต ด้วยความเด็ดเดี่ยว กล้าหาญ และสละแม้ชีวิต ของชาวอาหรับในการเผยแพร่ศาสนานี้เอง ที่ทำให้ศาสนาอิสลามกลายเป็นศาสนาสำคญของโลก
                เหตุบาดหมางในอดีตระหว่างชาวยิวและอิสลาม กล่าวคือ ชาวยิวบางกลุ่มคื อผู้ลอบทพร้ายทรยศ หักหลัง ท่านศาสนดา มูฮัมหมัด อันเป็นเหตุให้อิสลามไม่ลงรอยกับยิวตลอดมา กระทั่งปัจจุบัน ปัญหาในปาเลสไตต์ก็ยังไคงไม่สงบ และในเรื่อง เยรุซาเล็ม และประวัติศาสตร์ของชาติยิวชาวอิสลามก็ไม่ยอมรับประวัติศาสตร์เยรูซาเล็มตั้งแต่ชาวยิวเข้ามาในดินแดนนี้ หรือตั้งแต่ยุคกำเนิดพระเยซู

                โดยจะเห็นได้ว่าทั้งสามศาสนา ต่างมีรากฐานและนับถือพรเจ้าองค์เดียวกัน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ส่วนหนึ่งเหมือนกัน   ศาสนาคริสต์เข้ากันได้กับทั้ง คริสต์และ อิสลาม ชาวคริสต์มีลักษณะประณีประนอม ไม่อ่อนหรือแข็งเกินไป คำสอนเน้นเรื่องความรัก ความเมตตา และเสียสละแก่เพื่อนมนุษย์
             ศาสนายูดาห์เหมาะสำหรัชาวยิว โดยคำสอนมุ่งเน้นเรื่องความเชื่อ ศรัทาต่อพระเจ้า และเชื่อว่าพระเจ้าได้เลือกชนชาวยิว และจะคอยช่วยเหลือชนชาวยิวตลอดไป อันเป็นพลังให้ชาวยิวสร้างชาติก่อตั้งประเทศได้ เป็นการสร้างศรัทาสามัคคี และความผูกพัจากความเชื่อ และแรงบันดาลใจจากศาสนา
                ศาสนาอิสลามก็เหมาะกับชาวอาหรับ และสภาพสังคมที่หลากหลาย เป็นการทำให้สังคมมีระเบียบ สงบสุข และอยู่ร่วมกันอย่างสันติ และสามัคคีกัน เป็นศาสนาที่มำสอนที่สามารถควบคุมสังคมได้อย่างดียิ่ง

วันอังคารที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2555

Masyaf

   เป็นราชวงศ์ในยุคที่ที่ขึ้นครองราชหลังจากราชวงศ์อุมัยยะฮ์ถูกโค่นล้ม ได้ย้ายเมืองหลวงจากจากเมือง “ชาม” (ดามัสกัส ซีเรียในปัจจุบัน)มาที่กรุงแบกแดด
  ดินแดนอิสลามในยุคนี้ จึงแบ่งออกเป็น ที่ดามัสกัสซึ่งราชวงศ์เดิมอ าศัยอยู่ และราชวงศ์ใหม่ที่กรุงแบกแดด และยังมีที่ อียิป กรุงไคโร พวกชีอะห์ได้ตั้งราชวงศ์ขึ้นมาคือ ราชวงศ์ “ฟาติมิดส์” อิสลามที่ไคโรนั้น มีกลุ่มที่น่ากลัวที่สุดของอิสลามคือ พวกAssasin หรือพวกนักฆ่าอันมีเมืองหลวงอยู่ที่เมือง Masyaf ซึ่งเป็นกลุ่มที่ชื่อเสียงขึ้นมาหลังจากทำการตีเมืองคืนจาก ซาลาดิน กล่าวคือ
    เมื่อ ซาลาดิน หรือ จีฮัทธ์ทำสงครามกับพวกครูเสด เสร็จสิ้นโดยการทำสัญญากับพระเจ้าริชาร์ดใจสิงห์ จึงเดินทางมาปราบพวกชีอะห์ตามบัญชา ของ เคาะห์ลีฟะห์แห่งแบกแดด  โดยมีตำนานหรือเรื่องเล่าขานกัน ว่า เมืองครั้งซาลาดีนยึดเมือง Masyaf ได้จากพวก Assasin ซึ่งต้องเป็นทางผ่านที่จะไปยังกรุงไคโร นั้น ขณะที่ ซาลาดิน นอนอหลับอยู่ในเมือง  Masyaf ภายใต้การป้องกันอย่างแน่นหนา พวกมือสังหารได้ส่งขนมเค้กใส่ยาพิษ ไปว่าไว้ในห้องของซาลาดีน และในที่สุดก็สามารถตีเมืองที่ยึดครองโดยซาลาดีนคืนได้ การณ์ครั้งนี้ทำให้ชื่อเสียงของ Assasin เป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวาง




ในการละมาดของชาวอิสลามนั้นผู้ละมาดต้องออกพระนามเคาะหฺลีฟะหฺของตน ซึ่งอิสลามในอียิปต์และอิสลามในกรุงแบกแดดนั้นต่างฝ่ายต่างมีเคาะหฺลีฟะห์ของตนเอง เมือครั้งซาลาดินเคายึดกรุงไคโร จึงบังคับให้ผู้ทำการสวดมนต์หรือละมาดนั้นทุกครั้งจะต้องออกพระนามเคาะห์ลีฟะหฺแห่งแบกแดด เป็นอันว่า ซาลาดีน จึงเป็นผุปกครอง อิสลามในกรุง ไคโรตั้งแต่บันนั้น และขึ้นตรงต่อเคาะหฺลีฟะห์แห่งแบกแดด
   มองโกลนั้นก็เช่นเดียวกัน ภายใต้การนำกองทัพของเจ้าชาย ฮุเลกูผุ้มีความสามารถในการทำสงครามนำทัพ ทหารมองโกล 150,000 นายเข้าตี เมืองหลวงของเหล่ามือสังหารแตกในครั้งเดียวและเดินทัพไปยังแบกแดด เพื่อทำการโจมตีกรุงแบกแดด

วันจันทร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2555

assassination

   soc4
  “การลอบสังหาร” เป็นรูปแบบของความรุนแรงทางการเมืองที่นักรัฐศาสตร์ไม่ควรมองข้าม สาเหตุแห่งการลอบสังหาร คือ แย่งชิงอำนาจ หนึ่ง ทำไปเพื่อนำสู่ผลประโยชน์ หนึ่ง และ เหตุผลอื่นๆ หนึ่ง เช่นการฆ่าด้วยความบ้า หรืออยากดังเป็นต้น
     assassin เป็นคำที่มีบ่อเกิดจากเปอร์เซียและซีเรีย ประมาณศตวรรษที่ 8-14 ในการลอบสังหารช่วงแรก ๆ เป็นการกรทำของพวกสมาชิกกลุ่ม Nizaris กลุ่มชาวมุสลิม ซึ่งใช้การฆ่าแบบจู่โจมโดยเจ้าหน้าที่ลับ ขณะที่ผู้คนมักมองว่า หลุ่ม Nizaris เป็นกลุ่มที่สังคมไม่ให้การยอมรับ และไม่มีใครคบหา จากทัศนคติ เช่นนี้จึงได้กลายมาเป็นหนึ่งในชื่อของกลุ่มว่า “Hashshashin” ที่รากศัพท์หมายถึง “ผู้เสพกัญชา”
   มีบางแหล่งระบุชัดว่า คำๆ นี้ถือกำเนิดนยุคศตวรรษที่ 11 เพื่อใช้อธิบายพฤติกรรมของ Hassan-i Sabbah ผู้นำกลุ่มชาวมุสลิมที่กุมอำนาจอยางมากในตะวันออกกลาง ผู้เน้นปกครองด้วยการใช้กำลังความรุนแรง ซึ่งการลอบสังหารก็จัดว่าเป็นหนึ่งในวิธีการที่ถูกเขานำมาใช้ เชื่อกันว่าชาวตะวันตกที่นำคำนี้มาใช้เป็นคนแรก คือ Benjamin of Tudela ช่วงศตวรรษที่ 12
    เมื่อตำนานเรื่อนี้แพร่ออกไป คำว่า “Hashshashin” ได้เดินทางผ่านชาวปรังเศสและ อิตาลีhashshashin_by_couvertoire-d4o7e0s 630px-ACR_STORY_11 กระทั่งถูกนำมาใช้อย่างกว้างขวางในยุโรป จนปรากฎเป็นคำภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 16 ว่า Assasin และเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป สำหรับใช้เรียกขาน นักฆ่าคนทรยศ ในห้วงเวลานั้น
   ในทาง “ปรัชญาการเมือง” ยอมรับกันว่าการ “ฆ่า” เป็นคุณสมบัติที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ของธรรมชาติมนุษย์และชีวิตสังคม ยิ่งไปกว่านั้นคือ “รัฐศาสตร์แบบจารีต”ยังนับสนุนความรุนแรงบางชนิดให้มีความชอบธรรม เช่น การปฏิวัติ รัฐประหาร ต่อต้านระบอบอการปกครองที่เลวร้าย…
   การลอบสังหารเป็น “ความรุนแรงทางตรง” ซึ่งจัดเป็นรูปแบบหนึ่งของความรุนแรงทางการเมืองข้างน้อย ในแง่ที่เป็น “การก่อความรุนแรงโดยปัเจกบุคคล” ขณะที่ความรุนแรงทางการเมืองส่วนใหญ่ที่เป็นที่สนใจในทางวิชาการด้านรัฐศาสตร์มากกว่า มักได้แก่ “การใช้ความรุนแรงรวมหมู่”  ไม่ว่าจะเป็นความรุนแรงโดยรัฐ การฆ่าล้างเผ่าพันธ์ สงครามกลางเมือง การก่อการจราจล ตลอดจนความรุนแรงโดยกลุ่มองค์กรที่ไม่ใช่รัฐ
    assasin
ผู้ลอบสังหาร ตำนานนักฆ่ามีมาตั้งแต่สมัยสงครามครูเสดครั้งที่ 3 หลังจากซาลาดินสงบศึกกับพรเจ้าริชาร์ดใจสิงห์ แล้วกลับมาพักที่ดามัสกัส ซาลาดินผู้นำนักรับที่เกรียงไกร มาเกี่ยวข้องกับนักฆ่า หรือ Assasin ได้อย่างไร กล่าวคือ เมือง Masyaf ประเทศซีเรีย ดินแดนแห่งนักลอบสังหาร ป้อมแห่งนักล่าสังหาร และเหล่าบรรดานักฆ่านั้นได้สร้างความปวดร้าวแก่ซาลาดิน กล่าวคือ masyaf_castle1
   Rachid ad-Din Sinan ผู้มีฉายานามว่า The old man of the Mountain ท่านเป็นสาวกของกลุ่ม Hashshashi ในวัยเด็กได้เดินทางมายังเมือง Alamut in Iran ศูนย์หลางของบรรดาเหล่า Assassin และได้รับการฝึก และในปี 1162 จึงเดินทางไปยังซีเรียและทำการยึดเมืองทางตอนเหนือของซีเรียมากมาย จากนั้นในปี 1176 ก้เป็นผู้นำกองทัพในการสู้รบกาบซาลาดินที Masyaf และได้รทำการยึดครอง และปกครองตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ซึ่งการต่อสู้กับกองทัพซาลาดินเป็นผลงานที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของเหล่า assasin

Tibet



     เขตปกครองตนเองธิเบต เป็นเขตปกครองตนเองของประเทศจีน เมืองหลวงคือ "ลาซา" มีเชื้อสายมาจากชาวอินเดีย ชาวทิเบตมีพระเป็นผู้นำของเขตปกครองพิเศษนี้ ซึ่งนับถือศษสนาพุทธนิกายวัชรยานคล้ายกับภูฎาน
     ทิเบธตั้งอยู่บนเทือกเขาหิมาลัยเป็นที่ราบสูงที่สูงที่สุดในโลก ได้รับฉายาว่า หลังคาของโลก ฺธิเบตมีอากาศที่หนาวเย็น และอ็อกซิเจนต่ำ 
พลเมืองชายชาวธิเบตกว่าครึ่งบวชเป็นพระ ก่อนจีนจะยึดครองธิเบต ธิเบตมีสามเณริกามากที่สุดในโลก มีคัมภีร์มากมาย พลเมืองนับถือศาสนาอย่างเคร่งครัด ซึ่งได้รับฉายาว่า "แดนแห่งพระธรรม"
  ก่อนคริสต์ศักราช ชนชาติทิเบตอาศัยอยู่ที่ราบสูง ชิงไห่-ทิเบต มีการไปมาหาสู่กับชาวฮั่นที่อาศัยอยู่ในแผ่นดินใหญ่จีน ผ่านระยะเวลาอันยาวนาน  เผ่าชนต่างๆ ในทีราบสูงลิงไห่-ทิเบตก็ค่อยๆ รวมกันเป็นเอกภาพและกลายเป็นชนชาติธิเบต

     อิทธิพลมองโกล

     การติดต่อระหว่างธิเบตกับมองโกลที่มีลายลักษณ์อักษรครั้งแรกคือการพบปะระหว่าง เจงกิสข่าน กับซังปะ คุงคุรวาและศิษย์อีกหกคนซึ่งอาจเป็นการพบกันในเขตจักรวรรดิ์ตันกัต
   เจ้าชายแห่งมองโกลเข้าควบคุมโกโกนอร์เพื่อหาโอกาสเข้าตีจีนในสมัยราชวงศ์ซ่ง จากทางตะวันตกเขาได้ส่งนายพลคอร์ดาสำรวจธิเบต ในระหว่างสำรวจครั้งนี้ วัดของนิกายกรรมะปะ ถูกเผาและคน อีก 500 คนถูกสังหาร
   เจ้าชายมองโกลเชิญสักยะบัณฑิตผู้นำนิกายสักยะ มายังเมืองหลวงของพระองค์ สักยะบัณฑิตไปถึงโกโกนอร์พร้อมด้วยหลานชายสองคน คือ โดรกอน โชกยัล พักปะ และชนะ ดอร์เจ ซึ่งถือว่าเป็นการยอมจำนนต่อมองโกล เหตุการณ์นี้เป็นเหตุการณ์ที่นักประวัติศาสตร์จีนสมัยใหม่กล่าวว่าธิเบตเป็นส่วนหนึ่งของจีน อย่างไรก็ตามมีข้อโต้แย้งจากนักประวัติศาสตร์ที่ศึกษาประวัติศาสตร์ธิเบตว่ายุคของมองโกลธิเบตกับจีนเป็นหน่วยการเมืองคนละหน่วยกัน



    เมืองมองเก้ เป็นข่านสูงสุดของมองโกล เขามอบหมายให้น้องชาย คือ กุบไลข่าน (คูบิไล ข่าน) เป็นผู้ดูแลธิเบต และหาโอกาสรุกรานจีน
    สักยะบัณฑิตถึงแก่กรรม กุบไลข่านจึงตั้งให้ โครกอน โชกยัล พักปะ เป็นตัวแทนของธิเบต
    กุบไลข่านได้รับเลือกให้เป็นข่านสูงสุดหลังจาก มองเก้ ข่านสวรรคต
    โครกอน โชกยัล พักปะ กลับสู่ธิเบตและตั้งให้นิกายสักยะเป็นผู้ปกครองสูงสุด
    โครกอน โชกยับ พักปะ เดินทางไปพบกุบไลข่านอีกครั้งที่เมืองคานบา(ปักกิ่ง)เขาได้ประดิษฐ์อักษรสำหรับภาษามองโกเลีย เรียกว่า อักษร พัก-ปา ทำให้ได้รับการยืนยันอีกครั้งว่าเขาคือผู้มีอำนาจปกครองธิเบต
    นิกายสักยะมีอำนาจในธิเบตถึงพุทธศตวรรษที่ 19 แม้ว่าจะมีการกบฎโดยนิกายกาจู ที่ได้รับการสนับสนุนจากฮีลากีข่าน ในเขตอิลข่าน การกบฎถูกปราบโดยความร่วมมือของนิกายสักยะและทหารมองโกลตะวันออก โดยมีการเผาวัดของนิกายกาจู และทีคนถูกฆ่าถึง 10,000 คน
    

กษัตริย์มองโกลนามว่า อัลตัลข่าน ได้พบกับประมุขสงฆ์ของนิกายเกลุกที่ชื่อว่า สอดนัมยาโส แล้วเลื้อมใส เนื่องจาท่านสืบเชื้อสายมาจากนิกายสักยะ และพักโมดรุ ซึ่งเป็นตระกูลที่มีอิทธิพลในธิเบต มีการดัดแปลงวัดที่นิกายอื่นอ่อนแดในการปกครอง และทิ้งให้ร้างเป็นวักนิกายเกลุก (หมวกเหลือง) กษัตริย์ทองโกลทรงเชื่อง่าประมุขสงฆ์นี้เคยเป็นอาจารย์ของพระองค์ในชาติก่อน เมื่อพระองค์เสวยพระชาติเป็นกุบไลข่าน จึงถวายตำแหน่ง "ทะไลลามะ" ("ทะไล"เป็นภาษามองโกลแปลวว่า ทะเล หรือ กว้างใหญ่ "ลามะ" หมายถึงพระหรือคฤหัสถ์ที่มีความรู้ความชำนาญ แต่ชาวธิเบตนิยมใช้คำว่า ไคยาวา ริมโปเช คือ ชัยรัตนะ) ซี่งเป็นต้นกำเนิด "ทะไล ลามะ" และท่านสอดนัมวังยาโส ก็ถวายตำแหน่าง "ธรรมราชาทรงความบริสุทธิ์" แก่อัลตัน ข่าน เป็นการตอบแทน
   

siege....

     ต้าหลี่เป็นเมืองเอกของเขตปกครองตนเองชนชาติไป๋ ต้าหลี่ มณฑลยูนนาน ทางตอนใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่บนเทีอกเขาชางซานทางด้านตะวันตก และทะเลสาบเอ๋อไห่ทางด้านตะวันออก เป็นที่ตั้งถ่นฐานชาวไบ๋ และชาวอี้ มาแต่โบราณ
     ต้าหลี่เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรน่านเจ้าซึ่งเป็นอาณาจักของชาวไป๋ในช่วงศตวรรษที่ 8-9 ต่อมาได้เป็นเมืองหลวง อาณาจักรต้าหลี่ ในปี พ.ศ. 1480-1796 และยังเป็นศูนย์กลางการเคลื่อนไหวของกลุ่มกบฎจีนมุสลิม (จีนฮ่อ)พระว่างปี พ.ศ. 2399-2406
     ต้าหลี่ยังมีชื่อเสียในฐานะเป็นแหล่งผลิตหินอ่อนหลากหลายชนิด ซึ่งนำมาใช้ในการก่อสร้างและประดับตกแต่งอาคาร

     ยูนนานเป็นแหล่งอารยธรรมชนเผ่าต่างๆ ที่เก่าแก่นับพันปี การขุดค้นพบยืนยันว่ามีมนุษย์ที่มีอารยธรรมอาศัยอยู่มากกว่า สองพันปี ในช่วงสมัยสามก๊กเป็นถ่อนของชนเผ่าใหญ่ 6 กลุ่ม อำนาจราชสำนักจากจงหยวนไม่สามารถแผ่ขนยมาถึงดินแดนส่วนนี้
     ในสมัยจักรพรรดิถังเสวียนจง ก็เช่นเดียวกัน จักพรรดิถังเสวียนจงจึงแต่งตั้ง พีเล่อเก๋อจากเผ่าหมิงชี่ขึ้นเป็นกษัตริย์แห่งยูนนาน พีเล่อเก๋อจึงก่อตั้งอาณาจักรหนานจ้าว(น่านเจ้า)ขึ้นมา นักประวัติศาสตร์เชื่อว่าอาณาจักรนี้เป็นของชนชาติไป๋และโลโล (ชนชาติที่พูดภาษาตระกูลธิเบตสายหนึ่ง)K5516214-0
   จากแผนที่ พื้นที่ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือราชวงศ์ซ่ง ทางตอนเหนือคือราชสำนักเหลียว ทางตะวันตกคือซีเซี่ย และทางใต้สุดคือ ต้าหลี่ อาณาจักรที่อยู่ทางเหนือต้าหลี่ คือ ทู่ฝาน






   ชนชาติไป๋เป็นชนชาติหนึ่งที่พูดภาษาในตะกูล ทิเบโต-เบอร์ทม่า ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยที่ใหญ่ที่สุดใน 5 เผ่าของยูนนาน นับถือศาสนาพุทธและอิสลาม ต้าหลี่ตั้งอยู่ริมทะเลสาปเอ๋อไห่ มีทเวเขาล้อมรอบอายุกว่า 1500 ปี อาณาจักรต้าหลี่ปกครองยูนนานกว่า 315 ปี มีกษัตริย์ 22 องค์กว่าครึ่งที่สละราชสมบัติออกผนวช…
      เจ้าชายคูบิไล ได้รับราชโองการให้เคลื่อนทัพโจมตี อาณาจักรต้าหลี่ เจ้าชายคูบิไลจึงส่งทูตมายื่นข้อเสนอต่อกษัตริย์อาณาจักรตาหลี่ ซึ่งเป็นหุ่นเชิดขุนนางเก๋าไตเชียง ผู้คุมอำนาจอยู่เบื้องหลังซึงท้าทายอำนาจกองทัพเจ้าชายคูลิไลโดยสั่งประหารทูตทั้งหมด  เมือเตรียมความพร้อมแล้วจึงเคลื่อนทัพจากเมืองหลิน-เตา มุ่งไปยังทิศใต้ถึงที่ราบยุนนาน ทรงเดินทัพอย่างยากลำบาก โดยฝ่านมณฑลเสฉวนตางไปยังหุบเขาลัดเข้าอาณาจักรต้าหลี่ดินแดนแหล่งต้นน้ำแยงซี ชุนพลบายันนำกองทหราข้ามน้ำในเวลากลางคืน และโจมตีโดยทหารกองทัพต้าหลี่คาดไม่ถึงจึงแตกพ่ยไม่เป็นขยวน เจ้าชายคูบิไลจึงยึดครองเมืองหลวงอาณาจักต้าหลี่โดยปราศจากการต่อต้าน และประหารเก๋าไตเซียงขุนนางผู้กุมอำนาจสูงสุดด้วยการตัดคอ และสังประหารผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการสังหารคณะทูตของพระองค์ และสั่งให้ขุนนางมองโกระดับสูงปกครองต้าหลี่ต่อไป
     
     mouse011

        พวกต้าหลี่ที่หนีมองโกลมาก็ลี้ภัยลงไปยังที่ราบทางใต้ ซึ่งเป็นดินแดนของขอม และเป็นข้าทาสของพวกขอมอยู่หลายปี แต่ต่อมาไม่นาน ผู้นำเชื่อสายต้าหลี่ ก็แข็งข้อต่อพวกขอม และได้สถาปนาราชวงศ์ปกครองแผ่นดินเหนือลุ่มน้ำยม

   เมื่อพิชิตอาณาจักรต้าหลี่แล้ว คูิบิไลข่าน หรือ กุบไลข่าน ส่งกองทัพออกไปสองทิศทางเพื่อสกัดราชวงศ์ซ่งพระองค์ทรงให้ยกทัพไปบีบบังคับธิเบตให้ยอมจำนน และโจมตีอาณาจักรอันนัม(เวียนดนามเหนือ-ใต้)แบบสายฟ้าแลบ เพื่อสกัดกั้นการถอยลงมาของราชวงศ์ซ่ง
     มองโกลสุ่งทูตมายังอาณาจักรอันนัม พร้อมให้กษัตริย์เวียตนามเดินทางมาเข้าเผ้า  กษัตริย์เวียดนามทรงกริ้วและสังตัดหัวฑูตมองโกลทั้งหมด กุไลข่านจึงบุกอันนัมแม้ว่าทหารมองโกลจะต้องถอยทัพถึง 2 ครั้งเนื่องจากต้องเจอกับอากาศร้อนแล้ง และโรคระบาดพร้อมด้วยการโจมตีแบบกองโจรกละการวางกับดัก แต่ท้ายที่สุดกษัตริย์อันนัมเลือกจะถวายบรรณาการ และกุลไล่ข่านก็พอใจ ด้วยเป็นไปดังที่ประสงค์ จึงไม่มีการเข้ารุกรานอันนัมอีก..

Mongke Khan

เจ้าชายบาตู
   โอโกไตข่านได้รับการยั่วยุจกบรรดาขุนนางเกี่ยวกับเจ้าชายตูลิ จึงเกิดความระแวง จึงแสร้งทำเป็นป่วยและทรงให้เจ้าชายตูลิเข้าเฝ้าเป็นการด่วน เมือเจ้าชายตูลิรู้ข่าวจึงรีบมา หมอหลวงจึงทูลว่าต้องมนต์ดำ ทางแก้คือจะต้องให้ผู้เป็นน้องรับเคราะห์แทนจึงจะหายประชวร เจ้าชายตูลิด้วยความห่วงพระเชษฐามิรู้ว่าเป็นกลจึงรับพิธีล้างเคราะห์  โอโกไตข่านเมือได้รู้ถึงความภักดีจึงรู้สึกโทมนัสที่คิดระแวงน้อง
       เมือเจ้าชายตูลิขณะกำลังจะสิ้นพระชนม์ โอโกไตข่านจึงให้สัตย์สัญญากับเจ้าชายตูลิว่าหากพระองค์สวรรคตเมือได โอรสองค์โตของตูลิจะได้ขึ้นครองราช…
เจ้าชายคูยัค 
 


   ในปี ค.ศ. 1242 กองทัพมองโกลบุกเข้าถึงนคราเวียนนาที่งดงามแห่งหนึ่งในยุโรปทัพมองโกลตั้งค่ายล้อมเมืองเตรียมบุกครั้งใหญ่ ข่าวการสวรรคตอย่างกระทันหันของโอโกไต ข่านจึงมาถึงกอลทัพมองโกล เจ้าชายบาตูจำต้องถอยกำลังออกจากยุโรปเพื่อกลับไปเลือก คาฆานองค์ต่อไป ณ กรุงคาราโครัม




    เจ้าชายบาตู ข่าน ผู้พิชิตยุโรป
    เจ้าชายมองเก้ โอรสองค์โตของเจ้าชายตูลิ
    เจ้าชายคูยัค ข่าน โอรสองค์โตของโอโกไตข่าน
เจ้าชายมองเก้ 






       เจ้าชายบาตูทรงปฏิเสธเนื่องจากพระองค์มีอาณาจักรของพระองค์เองแล้ว  จึงมีเพียงเจ้าชายมองเก้ และเจ้าชายคูยัค ฝ่ายหนึ่งมีพระนางเซอร์กัจตานิเบกิผู้เป็นอัครมเหสีของเจ้าชายตูบิเสนอให้ลูกชายตนขึ้นครองราชย์ตามสัตย์สัญญาที่โอโกไตข่านทรงสัญญาไว้ก่อนสวรรคต  อีกฝ่ายหนึ่งมีพระนางตูรากีนาผู้เป็นอัครมเหสีของโอโกไตข่านที่ถือสิทธิ์ว่าลูกชายตนคือเป็นโอรสที่ทรงสืบสายเลือดโดยตรงและชอบธรรม  เพราะเหตุนี้ที่ทำให้สภาคูรับไตโต้เถียงกันอย่างรุนแรงและแตกเป็นสองฝ่ายในที่สุด ผลที่ออกมาต้องใช้เวลาถึง 4 ปีจึงจะรู้ผล โดยเจ้าชายคูยัคข่านได้ขึ้นครองราช แม้จะทำศึกเพื่อให้ข่านอื่นๆ ยอมรับตนแต่ภายในราชสำนักมองโกลเองเกิดการฉ้อราษฎรด้วยอำนาจที่แท้จริงตกอยู่ในมือพระมารดา บรรดาขุนศึกและข่านที่จงรักภักดีรู้สึกอดสู้ต่อกาลนี้ ต่อมาอีกสองปี คูยัคข่านก็สิ้นพระชนม์อย่างกะทันหัน
       บรรดาขุนศึกและพระราชวงศ์มองโกลต่างพร้อมใจกันทูลเชิญเจ้าชายมองเก้โอรสเจ้าชายตูลิขึ้นครองบัลลังค์ เป็นคาฆานองค์ที่ 4 แห่งอาณาจักรวรรดิมองโก
       พระนางตูรากีคงยืนยันที่จะเอาสายเลือดของโอโกไตข่านขึ้นครองรา โดยให้พระนัดดาคือ เจ้าชายซีเรมุนเป็นคาฆาน
      จึงเกิดศึกชิงบัลลังค์ นับเป็นเวลา6 ปี ซึ่งในทีสุดเจ้าชายมองเก้ ขึ้นครองราชย์เป็นคาฆานอย่างชอบธรรมและประหารผู้ต่อต้านจนหมดสิ้น
“ข้อจะเจริญรอยตามพระบรมอัยกาเจงกิสข่าน ข้าจะส่งกองทัพมองโกลออกไปพิชิตแผ่นกินโลทั้งประจิมและบูรพาทิศให้เป็นของชาวมองโกลทั้งหมด”
        มองเก้เป็นคาฆานองค์ที่ 4 ทรงเป็นพระราชโอรสของเจ้าชายตูลิและพระนางเซอร์กัจตานิ (จวงเชิงฮองเฮา) ทรงมีพระอนุชา(น้อง)อีก 3 พรองค์คือ เจ้าชายคูบิไล เจ้าชายฮูเลกู และจ้าชายอริโบเค ซึ่งล้วนเป็นยอดนักรบที่มีฝีมือทางการสงคราม
    โดยมีนโยบายดังเดิมคือขยายอาณาจักรมองโกล และเล็งเห็นว่ามองโกลจะต้องพิชิตจักรวรรดิจีนซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่นครหังโจว และจักวรรดิอาหรับอับบาสิดส์ของชาวมุสลิมที่กรุงแบกแดด โดยในการครั้งนี้มีขุนศึกคู่พระทัยคือ พระอนุชาคูบิไลและเฮเลกู

วันอาทิตย์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2555

Magyarország


      ในวันรุ่งขึ้น กองทัพมองโกลอีสายนำโดยเจ้าชายบาตูข่าน นำทัพหลวงเข้าสู่ฮังการี และเตรียมการเข้าล้อมเมืองบูดาและเปสต์(ในเวลานั้นแบ่งเป็นสองนครด้วยแม่น้ำดานูบ) กองทัพฮังการีและผร่างเศสเคลื่อนพล 70,000 นายตั้งมั่น ณ หมู่บ้านโมฮี ริมฝั่งแม่น้ำซาโต มองโกลสามารถเข้าประชิดค่าย
      มองโกลใช้ยุทธวิธีล้อมค่ายและ่ก่อกวนทุประเภท ปฏิบัติการทางจิตวิทยาที่ได้ผลของโมงโกลคือทหารและอัศวินฮังการีไม่เคยเจอวิธีการและอาววุธแบบนี้(ระเบิดควัน ระเบิดไข่เน่า ระเบิดเสีย และประทัด) จึงเสียขวัญ การล้อมและข่มขวัญดำเนินไป 6 วัน เจ้าชายบาตูจึงส่งกองทัพเข้าโจมตีค่ายและสามารถหักค่ายเข้าไปได้ เจ้าชายบีลารีบนำกองทัพหนีไปทางตะวันตกอย่างเร่งด่วน ในศึกครั้งนี้เจ้าชายบิลาเสด็จหนีไปได้แต่กองทัพฮังการี 70,000 นายตายทั้งหมด

      เมื่อกองทัพมองโกลสายโปแลนด์โจมตีเมืองต่าง ๆ ตามรายทางจนสิ้นและมาถึงฮังการี กองทัพมองโกลทั้งสองสายจึ่งเ้ข้าล้อมกรุงบูดาและเปสต์ไว้ แต่เมืองนี้ไร้กองกำลังคุมกันเมือง มองโกลจึงจึงบุกเข้ายึดและทำลายจนพินาศในที่สุด....



             โยไกลา หรือ สมเต็จพระเจ้าวลาดิสเลาสที่ 2 แห่งโปแลนด์ ทรงปกครองโปแลนด์ รวม 48 ปีและปกครองลิทัวเนียด้วย ทรงเปลี่ยนศาสนามานับถือคริสต์ เป็นผู้วางรากฐานการรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรของสหราชอาณาจักโปแลนด์-ลิทัวเนีย และยังทรงเป็นผู้ก่อตั้งสาขา ราชวงศ์ยากัลลัน ของราชวงศ์เกดิมินิคส์ที่ปกครองทั้งสองอาณาจักรกระทั่งปี ค.ศ. 1572 และกลายเป็นราชวงศ์ที่มีอิมธิพลมากที่สุดราชวงศหนึ่งในยุคกลาง
   ฮังการีผนึกกำลังกับโปแลนด์เป็นพัมธมิตรทางการเมืองอันทรงพลานุภาพ ราชวงศ์ยากีโลเนียน ขยายเขตอิทธิพลพันธมิตรแกนคู่จรดทะเลบอลติกทางเหนือ และทะเลดำทางใต้
ผงาดขึ้นเป็นอาณาจักใหญ่ที่สุดในยุโรปร่วมสองร้อยปี พลเมืองมีทั้ง เชื้อชาติ สลาฟ ฮังกาเรียน โรมาเนีย มอลดาเวียน เยอรมัน และชนเผ่ามุสลิม ต่างสงบสุขภายใต้เสถียรภาพทางการเมือง และเศรษฐกิจอันแข็งแกร่งและขันติธรรมในการนับถือศาสนา หลังสิ้นราชวงศ์มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบราชาธิปดี แต่ประวัติศาสตร์ต้องกลับตาลปัตร ด้วยตำแหน่งกษัตริย์องค์สุดท้ายเป็นของราชวงศ์ฮังการี
       คริสต์ศตวรรษที่ 17 ยุโรปตอนกลางอ่อนแอลงเป็นลำดับ ด้วยมีศึกติดพันกับรัสเซีย ชาวนายูเครนลุกฮือ และการแผ่อิทธิพลของพวกเติร์ก ชนเผ่าสวีดีชรณรงค์เพื่อปลดแดกตนเอง โปแลนด์ตกที่นั่งลำบาก ฮังกาีรีตกเป็นเมืองขึ้น อ็อตโตมัน เติร์ก และต้องอยู่ใต้ "แอก" ราชวงศ์แฮบสเบิร์กตั้งแต่นั้นมา ฮังการีและโปแลนด์สิ้นชื่อ...คริสต์ศตวรรษที่ 18 ฮังการีมีฐานะเพียงจังหวัดเล็ก ๆ ล้อมรอบด้วยชนเผ่าต่าง ๆ ภายใต้อำนาจจักรวรรดิออสเตรีย   โปแลนด์ถูกแบ่งออกเป็น 3 ส่วน อยู่ใต้อำนาจของรัสเซีย ปรัสเซีย และ ออสเตรีย.....
     
   

Renewed Trump era ( Again )

                        ไม่กี่ชั่วโมงข้างหน้า โดนัลด์ ทรัปม์ จะหลับมาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาอีกครั้ง โดยเขาจะเข้าพิธีสาบานตนเืพ่...