อังกฤษแสดงให้เห็นถึงการเป็นจ้าวแห่งทะเลกว่าศตรวรรษในยุทธนาวีจัตแลนด์ เป็นการปะทะเต็มอัตราศึกของกองทัพเรือทั้งสองฝ่าย ใช้เวลา 2 วัน ในทะเลเหนือนอกคาบสมุทรจัตแลนด์ แม้ผลของยุทธนาวีไม่มีฝ่ายใดแพ้ชนะ แม้กองเรื่อเยอรมนี่สมารถหลบหนีกองเรืออังกฤษที่มีกำลังเหนือกว่า และถึงแม้จะสร้างความเสียหายให้แก่กองเรืออังกฤษได้มากกว่า แต่ในทางยุทธศาสตร์ ฝ่ายอังกฤษแสดงสิทธิในการควบคุมทะเล และกองเรือผิวน้ำส่วนใหญ่ของเยอรมนีถูกกักอยู่แต่ในท่ากระทั่งสงครามยุติ
เมื่อพระเจ้าไกเซอร์ที่ 2 ขึ้นครองราชย์ ทรงเป็นกษัตริย์ที่สนพระทัยและให้ความสำคัญในกิจการทหารเรือเป็นอยางมาก ทรงกำหนดนโยบาย พัฒนาสมุทานุภาพ เสริมสร้างกำลังทางทะเลเพื่อคุ้มครงอการค้าขายำบต่างชาติ อันจะเป็นหนทางของอาณาจักร เพื่อก้าวขึ้นสู่การเป็นประเทศมหาอำนาจของโลกในที่สุด
ราชนาวีอังกฤษจับตาการเติบโตอย่างไม่กระพริบตาประเมินว่าจะเป็นปัญหาต่อตนหรือไม่ จึงมีการแข่งขันการเสริมสร้างกำลังทางเรือขนานใหญ่ระว่างสองประเทศ รวมถึงการแบ่งข้างตั้งกลุ่มขึ้นอย่างชัดเจนเพื่อให้การคุ้มครอง การค้าทางทะเลและเป็นเหตุผลหนึ่งของสงครามโลกครั้งนี้
เมื่อเข้าสู่สงคราม เยอรมันจึงตระหนักว่าแสนยานุภาพทางทะเลเทียบได้เพียงครึ่งของฝ่ายอังกฤษ และด้วยความได้ปรียบทางภูมิศาสตร์ ที่ตั้งเกาะอังกฤษสามารถปิดกั้นทางออกสู่ทะเลของฝ่ายเยอรมัน กองเรือทะเลลึกของเยอรมันจึงด้อยประสิทธิภาพ
ฝ่ายเยอรมันรับรู้ถึงข้อเสียเปรียบนี้ครั้นจะบุกเข้าสู้ซึ่งๆ หน้าก็เกรงกริ่งอยู่ จึงใช้วิธี “ร้องท้าหน้าค่าย” หว้งจะให้อักฤษออกมาสู้รบด้วยซึ่งก็เป็นไปดังที่ฝ่ายเยอรมันคาดไว้ แต่กองเรือที่ออกมารบของอังกฤษนั้น..
โดยประมาณที่มีการบันทึกไว้ เป็นการปะทะกันด้วยเรื่อผิวน้ำทั้งสิ้นทางฝ่ายอังกฤษมีประมาณ 150 ลำฝ่ายเยอรมันกว่า100ลำ เป็นการประทะในแบบเรือต่อเรือ ลำต่อลำ ปืนกระบอกต่อกระบอกคือเป็นการดวลกันนั้นเอง
ทางด้านขวัญและกำลังใจของทหารเยอรมนีไม่เป็นรองฝ่ายอังกฤษ ซึ่งเทคโนโลยีบางอย่างเหนือกว่าทางฝั่งอังกฤษด้วยซึ่งทางฝ่ายอังกฤษก็ยอมรับในประเด็นนี้(เรื่อต่อใหม่ทันสมัยกว่า) ฝ่ายเยอรมนีสูญเสียทหาร 2,500 นาย ฝ่ายอังกฤษสูญเสียกว่า 6,000 พันนายซึ่งส่งผลให้บรรดาทหารในกองเรือเกิดความฮักเหิมคะนองเพราะมองด้วยสายตาตนแล้วฝ่ายตนได้เปรียบ แต่ฝ่ายยุทธศาสตร์กับมองในทางตรงกันข้าม..เยอรมันจะสูญเสียไปมากว่านี้ไม่ได้แล้ว จึงเปรียนบทบาทจากการรุกเป็นเพียงการรุกรานจากกองทัพเรืออังกฤษ
จากเหตุผลดังกล่าวและความเหนือกว่าทั้งทางยุทธศาสตร์และจำนวนของอังกฤษ ฝ่ายบรรดาทหารซึ่งเห็นว่าจะต้องแพ้สงครามทั้งที่สงครามไม่แพ้จึงเกิดเป็นการสั่งสมและนำสู่การปฏิวัติรัฐประหาร การสละราชย์ของไกเซอร์ที่ 2 และนำมาสู่การสิ้นสุดของสงครามในที่สุด…
วันจันทร์ที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556
วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2556
WWI:บอลข่าน
ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซีมีเลียน ของออสเตรีย-ฮังการี แล้วพระราชนัดดา อาร์คดยุคฟรานซ์ เฟอร์ดิมานด์ ได้รับตำแหน่งองค์รัชทายาทสืบต่อจากอาณ์คดยุครูดอล์ฟ ซึ่งถูกลอบปลงประชนเมื่อเสด็จราษฎรที่กรุงซาราเจโว โดยชาวเซอร์เบียจึงนำมาสู่ภาวะสงคราม
การเคลื่อนไหวของเซอร์เบียมีรัสเซียคอยในการช่วยเหลืออยู่อิตาลีประกาศตัวเป็นกลางตั้งแต่เริ่มสงคราม เมื่อเริ่มสงครามกองทัพถูกแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนหนึ่งบุกโจมตีเซอร์เบีย ขณะที่อีกส่วนโจมตีรัสเซีย การบุกเซอร์เบียนั้นไม่ประสบความสำเร็จ แต่การบุกรัสเซียสามารถเอาชนะรัสเซียได้ในสมรภูมิเล็มเบิร์ก และล้อมเมืองพริเซ็มมิวส์ได้แต่ก็ต้องถอนทัพออกในเดือนมีนาคม ปี 1915
23 พฤษภาคม 1915 อิตาลีประกาศสงครามต่อ ออสเตรีย-ฮังการี และประกาศสงครามต่อเยอรมันในสิบห้าเดือนให้หลัง
แม้ว่าในทางการทหาร อิตาลีจะมีความเหนือกวาทางด้านกำลังพลก็ตาม แต่ข้อได้เปรียบนี้ไม่ส่งผลดีแต่ประการในเนื่องจากสภาพภูมิประเทศที่สลับซับซ้อนและยุทธศาสตร์และยุทธวีธีที่ใช้ด้วย ในช่วงสิบเดือนแรกของปี 1915 ออสเตรีย-ฮังการีใช้ทหารกองหนุนส่วนใหญ่สู้รบกับอิตาลี แต่ทูตเยอรมันและออสเตรีย-ฮังการีสามารถชักชวนบัลแกเรียเข้าร่วมโจมตีเซอร์เบีย จังหวัดสโลวีเนีย โครเอเซียและบอสเนียของออสเตรีย-ฮังการีเป็นพื้นที่จัดเตรียมทหารให้แก่ออสเตรีย-ฮังการี ซึ่งรุกรานเ.ซอร์เบียและสู้รบกับรัสเซีย อิตาลี มอนเตเนโกรเป็นพันธมิตรกับเซอร์เบีย
เซอร์เบียถูกยึดครองนานกว่าหนึ่งเดือนเล็กน้อย เมื่อฝ่ายมหาอำนาจกลางเริ่มโจมตีทางเหนือตั้งแต่เดือนตุลาคม อีกสีวนถัดมา บัลแกเรียร่วมโจมตีจากตะวันออก กองทัพเซอร์เบียเผชิญกับความพ่ายแพ้ ถอยทัพไปยังอัลเบเนีย และหยุดป้องกันที่การโจมตีของแบลแกเรีย ชาวเซิร์ปประสบความพ่ายแพ้ยุทธการโคโซโว มอนเตเนโกรช่วยคุ้มกันการล่าถอยของเซอร์เบียไปยังชายฝั่งเอเดรียติกในยุทธการมอยคอแวทส์ เมื่อวันที่ 6-7 มกราคม ปี 1916 แต่สุดท้ายก็ส่งผลให้ออสเตรียยึดครองมอนเตเนโกรเช่นเดียวกัน กองทัพเซอร์เบียถูกอพยพสูกรีซโดยทางเรือ
ปลายปี 1915 รัฐบาลฝรั่งศสและอังกฤษยกพลขึ้นบกที่ซาโลนิกาของกรีซ เพื่อเสนอความข่วยเหลือและกดดันรัฐบาลกรีซประกาศสงครามต่อฝ่ายมหาอำนาจกลาง พระมหากษัตริย์กรีซทรงนิยมเยอรมนี ทรงปลดรัฐบาลนิยมสัมพันธมิตรก่อนที่กองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรจะมาถึง
ความร้าวฉานระหว่างกษัติรย์กรีซและสัมพันธ์มิตรเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ กรีซถูกแบ่งเป็นภูมิภาคซึ่งยังภักดีต่อกษัตริย์และจงรักภักดีต่อรัฐบาลเฉพาะการณ์หลังการเผชิญหน้าระหว่างฝ่ายนิยมกษัตริย์และฝ่ายสัมพันธมิตร พระมหากษัตริย์ต้องยอมสละราชย์ โดยราชโอรสองค์ที่ 2 ขึ้นครองราชย์และกรีซจึงรวมกันอีกครั้งและร่วมสงครามอย่างเป็นทางการโดยอยู่ฝ่ายสัมพันธมิตร กองทัพกรีซทั้งหมดถูกระดมและเริ่มเข้าร่วมในปฏิบัติการทางการทหารต่อฝ่ายมหาอำนาจกลางบนแนวรบมาซิโดเนีย
แนวรบมาซิโดเนียไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ กองทัพออสเตรีย-ฮังการี และเยอรมันถอนกำลัง กองทัพบัลแกเรียประสบความพ่ายแพ้เพียงครังเดียวและไม่กี่วันให้หลัง บัลแกเรียก็สามารถเอาชนะกองทัพกรีซและอังกฤษได้ที่ยุทธการดอเรียนแต่เพื่อป้องกันการถูกยึดครอง บัลแกเรียได้ลงนามสงบศึก เมื่อวันที่ 29 กันยายน 1918
โดยมีการสรุปว่าสมดุลทางยุทธศาสตร์และปฏิบัติการเอนเอียงไปทางฝ่านสัมพันธมิตรแล้วอย่างไม่ต้องสงสัยและหนึ่งวันหลังจากออกจากสงคราม ระหว่างการประชุมกับเจ้าหน้าทีรัฐ ยืนยันให้มีการเจรจรสันติภาพทันที
การหายไปของแนวรบมาซิโดเนียหมายความถึง ถนนสู่บูดาเปสต์และเวียนนาเปิดกว้าง เมื่อบัลแกเลียยอมจำนนเท่ากับฝ่ายมหาอำนาจกลางสูญเสียทหารราบ 278 กองพัน ปืนใหญ 1,500 กระบอกซึ่งเทียบเท่ากับกองพลของเยรมนีราว 25 -30 กองพล ซึ่งเคยยึดแนวดังกล่าวก่อนหน้านี้ กองบัญชาการสูงสุดของเยอรมนีจึงตัดสินใจส่ง 7 กองพลทหารราบ และ 1 กองพลทหารม้ามายังแนวหน้า กองกำลังเหล่านี้ไม่เพียงพอที่จะสถาปนาแนวรบขึ้นมาใหม่ได้อีก
บัลแกเรียBulgaria เป็นประเทศทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป มีชายฝั่งบนทะเลดำไปทางตะวันออก พรมแดนติดต่อกับประเทศกรีซและประเทศตุรกีทางใต้ เซอร์เบียและมาซิโดเนียทางตะวันออก และโรมาเนียทางเหนือตามแม่น้ำดานูบ ประกอบด้วยชนชาติสลาฟและชนชาติบัลการ์(ชนชาติยูเครนที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานในบอลข่าน)ถูกปกครองโดยอาณาจักรไบแซนไทน์และออตโตมันตามลำดับ
วันศุกร์ที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2556
WWI:แนวร่วมกับข้อผูกมัด
สัญญาและประกาศฝ่ายสัมพันธมิตรที่ทำกับผู้แทนของประชาชนในตะวันออกกลางนำโดยอังกฤ ซึ่งได้ยิวและอาหรับ โดยมีจุดประสงค์ที่จะให้คนเหล่านี้เป็นฝ่ายเดียวกับสัมพันธ์มิตร สัญญาดังกล่าวระบุข้อควาที่แสดงความเห็นอกเห็นใจประชาชนที่อยู่ภายใต้การปกครองของเติร์ก และจะช่วยให้ประชาชนเหล่านั้นมีสิทธิในการปกครองตนเองเมืองสงครามสิ้นสุด ซึ่งมีลักษณะผูกมัดตนเองอังกฤษจะต้องรับผิดชอบต่อคำสัญญาดังกล่าว 3 ประการด้วยกัน
ประการแรก เป็นสัญญาที่อังกฤทำกับผู้แทนฝ่ายอาหรับ โดยมีจุดมุ่งหมายคือให้อาหรับเป็ฯฝ่ายเดียวกับอังกฤษและอังกฤษจะช่วยให้อาหรับได้รับสิทธิของตนในตะวันออกกลาง
ประการที่ 2 เป็ฯสัญญาที่อังกฤษทำกับผู้แทนของฝ่ายยิวโดยมีความต้องการเหมือนกันคือให้ยิวเป็ยฝ่ายเดียวกับตน และอังกฤษก็จะช่วยให้ความหวังของยิวประสบผลสำเร็จนั้นคือ การสร้างประเทศชาติยิว
ประการที่ 3 เป็นคำสัญญาปลีกย่อยที่อังกฤษทำกับอาหรับหลายคนและรวมทั้งการที่ฝรั่งเศสเสนอข้อเรียกร้องให้อังกฤษตระหนักถึงความปรารถนาของฝรั่งเศสในการมีอิทธิพลในเลอวองบริเลอวอง บริเวณฝั่งตะวันออกของเมดิเติร์เรเนียน
การติดต่อโดยฝ่านจดหมายหลายฉบับระหว่างอาหรับ และอังกฤษ คือชารีฟ ฮุ่สเซน แห่งเมกกะ ผู้เป็นข้าราชภายใต้การปกครองของออตโตมัน และเซอร์เฮนรี่ แมคมาฮาน ข้าหลวงใหญ่อังกฤษประจำอียิปต์ เป็นการติดต่อแลกเปลี่ยนข้อตกลงที่เรียกว่าการติดต่อระหว่างฮุสเซน แมคมาฮอน ซึ่งในจดหมายเหล่านั้นได้บรรจุข้อความเกี่ยวกับการปฏิวัติของอาหรับและการเข้าร่วมสงครามของอาหรับโดยเป็นฝ่ายเดียวกับสัมพันธมิตร
จดหมายฉบับแรกลงวันที่ 14 กรกฏาคม 1915 ฮุสเซนเรียกร้องให้อังกฤษพิจารณาถึงเอกราชของจังหวัดอาหรับหลายแห่งในดินแดนที่แบ่งแยกต่าง ๆ คือ ซีเรรีย อิรัก จอร์แดน อิสราเอล ซาอุดิอาระเบีย และส่วนหนึ่งของตุรกี แต่ในจดหมายของแมคมาฮอน ลงวันที่ 24 ตุลาคม 1915 ระบุว่าเอกราชดังกล่าวไม่รวมถึงท้องถิ่นที่มิใช้อาหรับแท้จริง ได้แก่ เมอร์ซิน และอเลกซานเครดตา และเมืองอื่น ๆ ในซีเรีย อันได้แก่ดามัสกัส ฮมอส์ ฮามา และอเลปโป อังกฤษอ้างว่ายังคงมีฐานะเข้มแข็งในดินแดนดังกล่าว ตลอดจนในบาซรา และแบกอดดในอิรัก ยังมีข้อความในจดหมายอีกลายฉบับซึ่งเป็นข้อความปกป้องผลประโยชน์ของฝรั่งเศส จดหมายฉบับสุดท้ายลงวันที่ 30 มกราคม 1916 ในขณะที่การปฏิวัติของอาหรับ เริ่มวันที่ 5 มุนายน 1916
จดหมายระหว่างฮุสเซ่นและแมมาฮอน จึงเป็ฯสิ่งที่ถูกเพ่งเล็งในรายละเอียดและถูกวิพากษ์วิจารณ์มาก ไม่มีการพิทพ์อย่างเป็ฯทางการ กระทั่งปี 1939 หลังสงครามยุติ 21 ปี จึงมีการตั้งคณะกรรมการพิเศษอังกฤษและอาหรับ เพื่อพิจารณาหาคุรค่าความสำคัญของจดหมารย ที่มีต่อปาเลสไตน์
ในขณะเดียวกัน นอกจากอังกฤษจะทำสัญญากับอาหรับตามที่ระบุในจดหมายติดต่อดังกล่าวแล้ว อังกฤษยังได้ทำการเจรจาทำสัญญากับฝรั่งเศสและรัสเซีย ระหว่างปี 1915 และ 1916 เป็นข้อตกลงที่เรียกว่า ซิกเคส-พิคอท เป็นการพิจารณาถึงส่วนต่าง ๆ ของตะวันออกกลางซึ่งจะถูกแบ่งออกเป็น 5 ส่วนคือ
ฝั่งเอลวองทางตะวันออกของเมติเตอร์เรเนียนซึ่งฝรั่งเศสเรียกร้อง
ดินแดนภายในซีเรียฝรั่งเศสจะให้ความช่วยเหลือ
เขตปาเลสไตน์จะทำให้เป็นเขตระหว่างชาติ
ทรานส์จอร์แดน ซึ่งเป็นอินแดนอาหรับจะอยู่ภายใต้การักขาของอังกฤษและรวมถึงส่วนใหญ่ของอิรักด้วย
แบกแดด และบาซรา จะเป็นดินแดนที่อังกฤษควบคุม
แม้ข้อตกลงดังกล่าวจะเป็นสัญญาลับ แต่ฝ่ายอาหรับก็ล่วงรู้ อูสเซนจึงยื่นข้อเสนอให้อังกฤษอธิบายสัญญาดังกบล่าว อังกฤษแจ้งว่า ข้อตกลงดังกล่าวเป็นเพียงการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งไม่ว่ากรณีใดๆ ก็ตามไม่ถือว่าเป็นเรื่องสำคัญ หรือจะใช้เป็นตัวแทรของสถานการณ์ได้ ทั้งนี้เพราะรัสเซียได้ถอนตนออกไปจากสงครา อย่างไรก็ตามเมื่อสงครามสิ้นสุดสัญญาดังกล่าวมีผลต่อซีเรียซึ่งฝรั่งเศสเองก็ต้องการ
“คำประกาศ บัลผอร์ The Balfour Declaration” เป็นคำประกาศเพื่อ “บ้านเกิดเมืองนอนของยิวในปาเลสไตน์” แทนที่จะกำหนดว่าปาเลสไตน์เป็น “บ้านเกิดเมืองนอนของประชาชนชาวยิว” และคำประการศนี้ยังกล่าวถึงสิทธิของผุ้มี่มิใช่ชาวยิวในปาเลสไตน และยิวในที่อื่น ๆ จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง ขณะเดียวกันฝ่ายมหาอำนาจกลางก็พยายามหาหนทางเพื่อขัดขวางความสนีบสนุนของฝ่ายสัมพันธมิตรที่มีต่อ “ไซออนนิสต์”
เมื่อสงครามเริ่มขึ้นองคการยิวประกาศตนเป็นกลาง แต่ยังคงมีสำนักงานในเยอรมนี การปฏิวัตจิรัศเซียได้เปลี่ยนสถานการณ์ในรัสเซีย โดยการนำยิวจำนวนมากมาสู่ตำแหน่างที่สำคัญของรัฐบาล ความรู้สึกที่รุนแรงในรัสเซียสำหรับการละทิ้งสงครามได้กลายเป็นเรื่องสำคัญของการปฏิวัติ ทั้งกระทรวงต่างประเทศอังกฤษและกลุ่มผุ้นำเยอรมันมีความเห็นตรงกันว่ายิวในรัสเซียเป็นผู้นำในการกระทำดังกล่าว เยอรมันจึงขอร้องแกมบังคับเติร์ก ซึ่งเป็นมมิตรกับตนในยอมแก่ยิว แต่เติร์กยังไม่ปฏิบัติตามเนื่องจากเกรงว่าจะทำให้อาหรับที่เป็นฝ่ายเดียวกับตนเกิดความไม่พอใจ แต่นี่สุดขณะที่กองทัพเติร์กออกจากปาเลสไตน์ก็เป็นการเปิดโอกาสใน “ไซออนนิสต์”เข้าสู่ปาเลสไตน์ดังคำประกาศบัลฟอร์
อังกฤษผู้ต้องการการสนับสนุนจากยิวจึงประกาศตัวเป็นฝ่ายเดียวกัย “ไซออนนิสต์” โดยเห็นว่า ทั้งยิวในอเมริก หรือในตะวันออกกลางก็กำลังเจริญเติบโตขึ้นเรื่อย ๆ “มาร์ค ซิกเคซ” คิดว่าการที่อเมริกาว่างตัวเป็นกลางนั้นเป็นเพราะยิวที่เป็นฝ่ายเดียวกับเยอรมนีเป็นสาเหตุ นายกรัฐมนตรีอังกฤลอยด์ จอร์จ สังเกตว่า ความช่วยเหลืของยิวที่มีต่ออังกฤนั้นเป็นสิ่งที่มีคุณค่ามาก และมีประโยชน์อย่างยิ่งเมื่อสัมพันธมิตรกำลังทรุด
ข้อผูกมัดที่มีต่ออาหรับ
เกี่ยวกับการยึดครองเมืองหลวงของอิรัก โดยข้อความสำคัญที่แสดงว่าอังกฤษผูกมัดตนเองกับอาหารับ มีดังนี้
“เชื้อชาติอาหรับอาจเติบโตขึ้นอีกครั้งเพื่อความยิ่งใหญ่และเพื่อชื่เสียงในหมู่ประชาชนของโลก เชื้อชาตินั้นจะรวมกันและรักกัน.. ดังนี้นข้าพเจ้าถูกบังคับให้เชื้อเชิญท่านโดยฝ่านผู้แทนอาวุโสและเป็นชนชั้นสูง ให้มีส่วนร่วมในการจัดการเกี่ยวกับงานด้านพลเรือนของท่าน ด้วยการร่วมมือกับผู้แทนฝ่ายการเมืองของอังกฤษ ผู้ซึ่งได้ร่วมมอกับกองทัพอังกฤษเพื่อว่าท่านอาจจะสามารถรวมกับเพื่อนของท่าน ในความปรารถนาของท่านที่จะสร้างชาติ”
สาส์นทีส่งแก่ชารีฟ อูสเซน “มหาอำนาจทั้ง 3 มีความตั้งใจอย่างแน่วแน่ว่าเชื้อชาติอาหรับจะได้รับโอกาสอย่างเต็มที่อีกครั้งหนึ่ง ในการสร้างชาติในโลกนี้ ซึ่งสามารถทำสำเร็จได้โดยการรวมตัวกันของพวกอาหรับเอง ฝ่ายสัมพันธมิตรจะช่วยเหลือในด้ารการใช้ความคิ และยังกระตุ้นให้อาหรับร่วมกันพิจารณาว่า “มิตรภาพของยิวทั่วโลกที่มีต่ออาหรับนั้นเป็นสิ่งที่มีค่าอย่างยิ่งในประเทศทั้งหมดที่ซึ่งยิวมีอิทธิพลทางการเมืองอยู่”
ซีเรีย “การประกาศต่อบุคคลทั้ง 7 Declaration to the Seven” อังกฤษยืนยันว่านโยบายของอังกฤษก็คือ “การพิจารณาเอกราชอธิปไตยโดยสมบูรณ์ของอาหรับ”ไม่ว่าดินแดนว่าจะกอ่นหรือระหว่างสงครมก็ตา ม และยังยืนยันวนโยบาย “สนับสนุนอาหรับในการต่อสู้เพื่อเอกราช”และยืนยันอีกครั้งเกียวกับ การยึดครองแบกอดดและเยรูซาเลมโดยกองทัพ ว่า “มันเป็นความปรารถนาของรัฐบาลของพระเจ้าอยู่หัวที่ว่า รัฐบาลในอนาคตของดินแดนเหล่านี้ควรจะขึ้นอยู่กับความยินยอมของผู้ถูกปกครอง และนโยบายนี้จะดำเนินต่อไป โดยมีความสนับสนุนของรัฐบาลของพระเจ้าอยู่หัว
เซอร์ เอ็มันด์ อัลเลนบี แจ้งแก่อมีร์ ไฟซาล ว่า “ข้าพเจ้าเตือนความทรงจำของอามีร์ ไฟซาล ว่าฝ่ายสัมพนันธมิตรรู้สึกเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่จะตกลงกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง และจะกระตุ้นให้บุคคลเหล่านั้นมีความเชื่อถือในอังกฤษ”
คำประกาศร่วมกันของอังกฤษและฝรั่งเสศ “การสร้างรัฐบาลของประเทศชาติและการปกครองที่อำนาจของรัฐบาลมาจากการเลือกตั้งโดยอิสระของประชาชนพื้นเมือง ไม่มีความปรารถนาที่จะบังคับสถาบันพิเศษเฉพาะใดๆ เหนือประชาชนของอินแดนเหล่านี้ สถาบันพิเศษเฉพาะจะต้องเป็นของเขาเองและโดยความช่วยเหลือเท่าเทียมกัน ซึ่งจะนำไปสู่รัฐบาลที่มีการปกครองอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นอิสระ ซึ่งเลือกโดยประชาชน
คำประกาศต่าง ๆข้างต้นทีฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำโดยอังกฤษให้ความหวังไว้แก่ฝ่ายอาหรับ ซึ่งคำประกาศพร้อมด้วยความสนับสนุนได้แพร่หลายไปอย่างกว้างขวางโดยการพิมพ์และการแจกใบปลิว อาจกล่าวได้ว่าจากคำประกาศเล่านี้ ทำให้ประชาชนมีแรงกระตุ้น และทำให้ความปรารถนาของพวกเขาอยู่ในระดับสู (มีความหวัง) ซึ่งฝ่ายสัมพันธมิตรนำโดยอังกฤษต้องรับผิดชอบต่อคำประกาศดังกล่าวที่มีต่ออาหรับ...
วันพฤหัสบดีที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2556
WWI:ชาตินิยมอาหรับ
นับแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 กระทั่งการปฏิวัติของพวกยังเติร์ก ชาวอาหรับที่นับถือคริสต์ศาสนาเท่านั้นที่ต้องการอิสรภาพ ส่วนชาวอาหรับมุสลิมปรารถนาเพียงการปฏิรูปและการให้อำนาจแก่ชาวอาหรับเท่านั้น
ชาตินิยมอาหรับส่วนใหญ่ เป็นศัตรูกับรฐบาลออกโตมัน ซารีฟ ฮุสเซน และโอรสอีกลายองค์เป็นผู้นำขบวนการชาตินิยมภายในเวลา 2-3 เดือนก่อนสงคราม โอรสของฮุสเซน องค์หนึ่งได้ตั้งกงสุลทั่วไปและแต่ตั้งชาวอังกฤษประจำไคโร การกระทำครั้งนี้สร้างความตึงเครียดระหว่าง ซารีฟและสุลต่านและนำเข้าสู่วิกฤต แต่ถ้าสุลต่านขับไล่ซารีฟด้วยสาเหตุนี้ย่อมเกิดการปฏิวัติแน่นอนเหตุเพราะซารีฟเป็นกษัตริย์ที่ได้รับความนิยมจากประชาชน
การต่อต้านจักรวรรดิและลัทธิชาตินิยมทั้งตุรกีและอาหรับเด่นชัดขึ้นเมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามในตะวันออกกลางปะทุหลังยุโรปเล็กน้อย อังกฤษและฝรั่งเศสประกาศสงครามต่อออตโตมัน อังกฤษผนวกไซปรัส และประกาศให้อียิปต์เป็นดินแดนในอาณัติ ก่อนการประกาศสงครามกับเติร์กอังกฤษทั้งกองทัพบกและกองทัพเรือของอังกฤษจากอินเดียมุ่งสู่ลุ่มแม่น้ำไทกริส-ยูเฟติส ในอิรักและได้รับความขช่วยเหลือจากคูเวต อังกฤษตอบแทนด้วยการให้อิสรภาพแคเวตและอยู่ภายใต้การอารักขาของอังกฤษต่อมาอังกฤษก็ยึดเมืองฟาโอในอีรักได้อีก
สุลต่านกาหลิบของจักรวรรดิออตโตมันประกาศสงครามศักดิ์สิทธิซึ่งสร้างความวิตกให้แก่ทั้งอังกฤษและฝรั่งเศษเกี่ยวกับผลกระทบต่อชาวมุสลิมจำนวนมากในอินเดีย และในแอฟริกาเหนือ ชาวยุโรปที่นับถือลัทธิแพนอิสลาม หรือลัทธิความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของอิสลาม และขอร้องมิให้สงครามขยายตัวไปมากกว่านี้ และคำนึงถึงอันตรายของการปฏิวัติมุสลิมด้วย
ซารีฟ ฮุสเซนแห่งเมกกะวางเฉยกับการประกาศสงครามศักดิ์สิทธิซึ่งเป็นโอกาสให้อังกฤษสามารถชักชวนซารีฟแห่งเมกกะให้สนับสนุนฝ่ายสัมพันธมิตร ซึ่งก็ช่วยบรรเทาการข่มาขู่การปฏิวัติมุสลิมได้ สถานการณ์ดังกล่าวจึงเป็นจุดประสงค์ขึ้นพื้นฐาน ซึ่งอยู่เบื้องหลังการติดต่อระหว่างรัฐบาลอังกฤษกับซารีฟแห่งเมกกะ เป็นการติดต่อที่เรียกว่า จดหมายโต้ตอบระหว่าง ฮุสเซน-แมคมาฮอน Husain-Mcmahon Correspondence
ซึ่งทำให้อาหรับบางพวกเข้าสู่สงครามโดยเป็นฝ่ายสัมพันธมิตร มีการปฏิวัติโดยฝ่านการแลกเปลี่ยนทางจดหมายหลายฉบับระหว่าง ปี 1915-1916 ได้จัดให้มีความผูกพันทางทหาร ซึ่งตั้งอยู่บนรากฐานของความเข้าใจทางการเมืองที่คลุมเคลือ และอังกฤษยังตกลงจะสนับสนุนเอกราชของอาหรับในทุกดินแดนที่ฮุสเซนเรียกร้อง
ฮุสเซนยอมรับรู้ความมีอำนาจสูงสุดของอังกฤษในเอเดนแต่ฮุสเซนยังข้องใจในดินแดนบางแห่ง..ดินแดนดังกล่าว แมคมาฮอนให้เหตุผลว่ามิใช่อาหรับอย่างแท้จริง แต่ซารีฟยืนยันว่าดินแดนเหล่านี้เป็นอาหรับอย่างแท้จริง ซารีฟให้เหตุผลว่าไม่ว่าอาหรับมุสลิมหรืออาหรับคริสเตียนเป็น "ผู้สืบเชื้อสายจาบิดาคนเดียวกัน" การขัดแย้งในเรื่องดังกล่าวนี้ต่อมาได้ก่อให้เกิดปัญหาปาเลสไตน์
สาเหตุอีกประกาศที่ทำให้อาหรับสนับสนุนฝ่ายไตรสัมพันธมิตรคือ ความไร้ความเมตตาของข้าหลวงออตโตมันและผู้บังคับบัญชาแห่งซีเรีย "เจมาล ปาซา" ในระยะแรกปาชาพยายามเอาชนะใจอาหรับโดยให้คำมั่นสัญญาต่าง ๆ เขาประกาศว่าอุดมการณ์ของอาหรับและเติร์กไม่ขัดแย้งกัน พวกเขาเป็นพี่น้องกัน และยังเรียกร้องให้ชาวอาหรับร่วมทำสงครามศักดิ์สิทธิเพื่อป้องกันศาสนาอิสลามด้วย
ชาวอาหรับไม่เชื่อ ปาชาจึงใช้วิธีรุนแรง
การถูกข่มขูจกาความกดดันทางทหารในคาบสมุทรและการประหัตประหารในซีเรียทำให้อาหรับเริ่มเสริมสร้างกองทหารของตนให้เข้มแข็งขึ้น การปฏิวัติของอาหรับมิได้หมายถึงขบวนการของกลุ่มชนจำนวนมากไม่มีการจลาจลผู้ครองอิรักมีความสงสัยในความสามารถของอาหรับในการต่อสู้เพื่อิสรภาพ ข้าหลวงอังกฤษประจำอินเดียพิจารณาการปฏิวัติอาหรับว่าเป็นสิ่งที่ไม่พอใจ เนื่องมาจากกลัวว่าความเป็นเอกราชของอาหรับอาจมีผลกระทบกระเทือนต่อแผรการณ์ของรัฐบาลบริติชอินเดีย ในการผนวกอิรักภาคใต้และอาจจะก่อให้เกิดการจลาจลในหมู่ชาวมุสลิมของรัฐบาลบริติชอินเดียในการผนวกอิรักภาคใต้และจะก่อให้เกิดการจลาจลในหมู่ชาวมุสลิม 90 ล้านคนในอินเดีย
ชาตินิยมอาหรับส่วนใหญ่ เป็นศัตรูกับรฐบาลออกโตมัน ซารีฟ ฮุสเซน และโอรสอีกลายองค์เป็นผู้นำขบวนการชาตินิยมภายในเวลา 2-3 เดือนก่อนสงคราม โอรสของฮุสเซน องค์หนึ่งได้ตั้งกงสุลทั่วไปและแต่ตั้งชาวอังกฤษประจำไคโร การกระทำครั้งนี้สร้างความตึงเครียดระหว่าง ซารีฟและสุลต่านและนำเข้าสู่วิกฤต แต่ถ้าสุลต่านขับไล่ซารีฟด้วยสาเหตุนี้ย่อมเกิดการปฏิวัติแน่นอนเหตุเพราะซารีฟเป็นกษัตริย์ที่ได้รับความนิยมจากประชาชน
การต่อต้านจักรวรรดิและลัทธิชาตินิยมทั้งตุรกีและอาหรับเด่นชัดขึ้นเมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามในตะวันออกกลางปะทุหลังยุโรปเล็กน้อย อังกฤษและฝรั่งเศสประกาศสงครามต่อออตโตมัน อังกฤษผนวกไซปรัส และประกาศให้อียิปต์เป็นดินแดนในอาณัติ ก่อนการประกาศสงครามกับเติร์กอังกฤษทั้งกองทัพบกและกองทัพเรือของอังกฤษจากอินเดียมุ่งสู่ลุ่มแม่น้ำไทกริส-ยูเฟติส ในอิรักและได้รับความขช่วยเหลือจากคูเวต อังกฤษตอบแทนด้วยการให้อิสรภาพแคเวตและอยู่ภายใต้การอารักขาของอังกฤษต่อมาอังกฤษก็ยึดเมืองฟาโอในอีรักได้อีก
สุลต่านกาหลิบของจักรวรรดิออตโตมันประกาศสงครามศักดิ์สิทธิซึ่งสร้างความวิตกให้แก่ทั้งอังกฤษและฝรั่งเศษเกี่ยวกับผลกระทบต่อชาวมุสลิมจำนวนมากในอินเดีย และในแอฟริกาเหนือ ชาวยุโรปที่นับถือลัทธิแพนอิสลาม หรือลัทธิความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของอิสลาม และขอร้องมิให้สงครามขยายตัวไปมากกว่านี้ และคำนึงถึงอันตรายของการปฏิวัติมุสลิมด้วย
ซารีฟ ฮุสเซนแห่งเมกกะวางเฉยกับการประกาศสงครามศักดิ์สิทธิซึ่งเป็นโอกาสให้อังกฤษสามารถชักชวนซารีฟแห่งเมกกะให้สนับสนุนฝ่ายสัมพันธมิตร ซึ่งก็ช่วยบรรเทาการข่มาขู่การปฏิวัติมุสลิมได้ สถานการณ์ดังกล่าวจึงเป็นจุดประสงค์ขึ้นพื้นฐาน ซึ่งอยู่เบื้องหลังการติดต่อระหว่างรัฐบาลอังกฤษกับซารีฟแห่งเมกกะ เป็นการติดต่อที่เรียกว่า จดหมายโต้ตอบระหว่าง ฮุสเซน-แมคมาฮอน Husain-Mcmahon Correspondence
ซึ่งทำให้อาหรับบางพวกเข้าสู่สงครามโดยเป็นฝ่ายสัมพันธมิตร มีการปฏิวัติโดยฝ่านการแลกเปลี่ยนทางจดหมายหลายฉบับระหว่าง ปี 1915-1916 ได้จัดให้มีความผูกพันทางทหาร ซึ่งตั้งอยู่บนรากฐานของความเข้าใจทางการเมืองที่คลุมเคลือ และอังกฤษยังตกลงจะสนับสนุนเอกราชของอาหรับในทุกดินแดนที่ฮุสเซนเรียกร้อง
ฮุสเซนยอมรับรู้ความมีอำนาจสูงสุดของอังกฤษในเอเดนแต่ฮุสเซนยังข้องใจในดินแดนบางแห่ง..ดินแดนดังกล่าว แมคมาฮอนให้เหตุผลว่ามิใช่อาหรับอย่างแท้จริง แต่ซารีฟยืนยันว่าดินแดนเหล่านี้เป็นอาหรับอย่างแท้จริง ซารีฟให้เหตุผลว่าไม่ว่าอาหรับมุสลิมหรืออาหรับคริสเตียนเป็น "ผู้สืบเชื้อสายจาบิดาคนเดียวกัน" การขัดแย้งในเรื่องดังกล่าวนี้ต่อมาได้ก่อให้เกิดปัญหาปาเลสไตน์
สาเหตุอีกประกาศที่ทำให้อาหรับสนับสนุนฝ่ายไตรสัมพันธมิตรคือ ความไร้ความเมตตาของข้าหลวงออตโตมันและผู้บังคับบัญชาแห่งซีเรีย "เจมาล ปาซา" ในระยะแรกปาชาพยายามเอาชนะใจอาหรับโดยให้คำมั่นสัญญาต่าง ๆ เขาประกาศว่าอุดมการณ์ของอาหรับและเติร์กไม่ขัดแย้งกัน พวกเขาเป็นพี่น้องกัน และยังเรียกร้องให้ชาวอาหรับร่วมทำสงครามศักดิ์สิทธิเพื่อป้องกันศาสนาอิสลามด้วย
ชาวอาหรับไม่เชื่อ ปาชาจึงใช้วิธีรุนแรง
การถูกข่มขูจกาความกดดันทางทหารในคาบสมุทรและการประหัตประหารในซีเรียทำให้อาหรับเริ่มเสริมสร้างกองทหารของตนให้เข้มแข็งขึ้น การปฏิวัติของอาหรับมิได้หมายถึงขบวนการของกลุ่มชนจำนวนมากไม่มีการจลาจลผู้ครองอิรักมีความสงสัยในความสามารถของอาหรับในการต่อสู้เพื่อิสรภาพ ข้าหลวงอังกฤษประจำอินเดียพิจารณาการปฏิวัติอาหรับว่าเป็นสิ่งที่ไม่พอใจ เนื่องมาจากกลัวว่าความเป็นเอกราชของอาหรับอาจมีผลกระทบกระเทือนต่อแผรการณ์ของรัฐบาลบริติชอินเดีย ในการผนวกอิรักภาคใต้และอาจจะก่อให้เกิดการจลาจลในหมู่ชาวมุสลิมของรัฐบาลบริติชอินเดียในการผนวกอิรักภาคใต้และจะก่อให้เกิดการจลาจลในหมู่ชาวมุสลิม 90 ล้านคนในอินเดีย
วันพุธที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2556
WWI:ตะวันออกกลาง
ก่อนสงครามจะปะทุ2-3 ปีการแข่งขันของมหาอำนาจยุโรปเพื่อเข้ามามีอิทธิพลเหนือตะวันออกกลาง โดยมีจุดมุ่งหมายเดียกันคื อการได้สัมปทานอุตสาหกรรน้ำมันในตะวันออกกลาง โดยเป็นการแข่งขันระหว่างประเทศมหาอำนาจคือ อังกฤษ ฝรั่งเศษและเยอรมนีแม้ปัญหาดังกล่าวจะมิใช่สาเหตุสำคัญประการเดียวที่เป็นต้นเหตุแห่งสงคราม แต่ปัญหาในตะวันออกกลางมีความสำคัญมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องอุตสาหกรรมน้ำมัน โดยที่แต่ละประเทศต้องการมีอิทธิพลและผงประโยชน์แต่เพียงผู้เดียในอิรักโดยเฉพาะอังกฤษกับเยรมนี
ตะวันออกกลางเป็นดินแดนส่วนสำคัญส่วนหนึ่งของจักวรรดิออตโตมัน ซึ่งมีอาณาบริเวณกว้างขวางมาก แต่รัฐบาลของจักรวรรดิซึ่งเป็นเติร์กนั้นไม่มีประสิทธิภาพ กรทั่งยุโรปเรียกจักรวรรดินี้ว่าเป็น “คนป่วยของยุโรป”
เติร์กหนุ่ม(Young turk) เป็นกลุ่มทหารชั้นกลางมีการศึกษาและค่อนข้างหัวรุนแรงไม่พอใจสุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2 แห่งจัรวรรดิออตโตมันเนื่องจากการนำรัฐธรรมนูญมาใข้ให้อำนาจเด็ดขาดแก่สุลต่าน พวกเตอร์หนุ่มทำการปฏิวัติและสำเร็จ เติร์กหนุ่มจึงเป็นผู้ปฏิบัติการของรัฐบาลในระยะแรกเติร์กหนุ่มสามารถทำให้เกิดความสมานฉันท์โดยเฉพาะระหว่างเติร์กและอาหรับ แต่ตัวกระตุ้นที่สำคัญคือลัทธิตุรกีซึ่งความรู้สึกเช่นนี้ เกิดมานานแล้ว และก็เป็นสาเหตุอันหนึ่งที่นำไปสู่การปฏิวัติ
ความไม่พอใจที่แฝงอยู่ภายในใจของเติร์กหนุ่มเติบโตขึ้นประกอบกับความคิดที่ว่าเหตุใดจักรวรรดิออตโตมันจึงเป็นรวมของชนหลายเชื่อชาติ..แม้แต่บอลข่านก็เกิดลัทธิชาตินิยมของชนเชื่อชาติต่าง ๆ เช่น กรีก ชาตินิยมบัลแกเลีย ชาตินิยมโรมมาเนียนซึ่งลัทธิชาตินิยมบอลข่านนั้นมีศูนญ์รวมอยู่ทศาสนา
ในคริสตศตวรรษที่ 19 ชาวอาร์เมเนียน ซึ่งอยู่กระจัดกระจายบริเวณที่ราบสูงอาร์เมเนียทางทิศตะวันออกของตุรกี เป็นผุ้นำความคิดของลัทธิชาตินิยมมาสู่ใจกลางอาณาจักรออตโตมัน เป็นความคิดเกี่ยวกับความรู้สักของมนุษย์ชาติซึ่งเป็นแรงกระตุ้นให้พวกเตอร์กในจักรวรรดิสอบสวนเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของตนเอง ซึ่งเป็นความรู้สึกใหม่ แต่ก็ถูกสนับสนุนและผลักดันโดยความไม่พอใจที่ซ่อนอยู่ในใจของขาวเติร์กโดยไม่รู้ตัวดังนั้นแม้จะพยายามยุคสมัยแห่งการสามัคคีระหว่างเติร์กและอาหรับ และชนชาติอื่นๆ ในจักรวรรดิ แต่ความรู้สึกชาตินิยมก็ทำลายความพยายามดังกล่าวพวกเติร์กกลับทำจักวรรดิให้กลายเป็นตุรกี..การกระทำดังกล่าวของเติร์กเป็นแรงผลักที่ฝ่ายอาหรับต้องแสวงหาเอกลักษณ์ของตัวเอง และนำไปสู่ลัทธิชาตินิยมอาหรับในที่สุด..
คาบสมุทรอาหรับ ซีเรีย และอิรัก
เป็นการต่อสู้ที่รุนแรงและขมขื่น ต่อสู้ในระยะทางไกลและพื้นที่กว้างใหญ่ ด้วยกองทัพอันยิ่งใหญ่ แม้ว่ายุโรปจะมีการเตียมการณ์รบมาหลายปีก่อนสงคราม แต่ในการต่อสู้จริง นั้นเป็นลักษณะของการปฏิวัติโดยใช้เลห์กลทางทหาร
ในตอนต้น ๆ ของสงคราม ดังกฤษจะใช้ตะวันออกกลางเป็ฯแนวหน้าสำคัญ พยายามนำประเทศต่าง ๆ ในคาบสมุทรบอลข่านเข้าสู่สงครามโดยเป็นฝ่ายสัมพันธมิตร ซึ่งถ้าเป็นจริงดังนั้นแล้ว ไม่เพียงแต่ประวัติศาสตร์ของตะวันออกกลางเท่านั้นทีจะเปลี่ยนแปลงแม้แต่ประวัติศาสตร์ของรัสเซียก็อาจมีการเปลี่ยนแปลงไปด้วย
อังกฤษยกพลขึ้นบกที่แกลิลิโปลิ ขณะที่พวกเติร์ยังมั่นคงอยู่ หากกองทัพอังกฤษขึ้นฝั่งที่ซีเรียที่ซึ่งชาวอาหรับกำลังก่อจลาจลนั้นอาจทำให้สงครามในตะวันออกกลางระเบิดขึ้นเร็วกว่านี้ แต่ถึงอย่างไรก็ตามซีเรียก็มิได้ปฏิวัติ กองทัพเติร์กในทุกๆ แนวหน้าต่อสู้อย่างกล้าหาญและมีจุดมุ่งหมาย
กุมภาพันธ์ ปี 1915 กองทัพเติร์กได้ไปถึงคลองสุเอซ และในเดือนเดียวกัน ชนเผ่าเดียวกับเติร์กในอิหร่านทางตะวันตกได้ตัดท่อส่งน้ำมันถึงท่านเรื่อ เป็นการขทมขู่อังกฤษ และสร้างความเสียหายแก่อังกฤษ เท่ากับบอกว่าหากอังกฤษจะยึดครองตะวันออกกลางนั้น อังกฤษจะต้องมีกองทัพอันยิ่งใหญ่ประจำอยู่ในตะวันออกกลางตลอดเวลาของสงคราม
สิงหาคม 1915 กองทัพอังกฤษในภาคใต้ของอิรัก พยายามที่จะยึดครองแบกแดดซึ่งอยู่ทางตอนเหนือและบรรเทาความกดดันเรื่องปัญหาท่อส่งน้ำมัน ในการเคลื่อนพลครั้งนี้ทำให้เกิดการปะทะกับกองทัพเติร์กอันเข้มแข็งและอังกฤษได้รับความเสียหาย และถอยไปในเดือนธันวาคม ปีเดียวกัน กระทั่ง มีนาคม ปี 1917 ภายหลังการต่อสู้อันทำให้ทหารทั้งชาวอินเดียและอังกฤษล้มตายเป็นจำนวนมาก ในที่สุดอังกฤษก็สามารถยึดแบกแดดได้ ในขณะเดียวกันอียิปต์ซึ่งเป็นแนวหน้าอีกแห่งและมีการต่อสู้กันอย่างรุนแรง อังกฤษไม่ยอมรับคำแนะนำของอเมริกาที่เร่งเร้าให้เติร์กทำสันติภาพอยางมีเกียรติ
ธันวาคม ปี 1917 อังกฤษยึดเยรูซาเลมและตุลาคมปี ถัดมาก็สามารถยึดดามัสกัน เมืองหลวงของซีเรียได้ ในตอนเริ่มของสงครามนั้นอังกฤษไม่สามารถหยั่งรู้ได้ว่า การต่อสู้จะรุนแรงแต่ด้วยความฉลาดรอบคอบของอังกฤษ ที่ช่วยให้อังกฤษสามารถได้รับความสนับสนุนจากท้องถิ่นที่อังกฤษยึดครองได้ ตลอดจนข้อเสนอที่อังกฤษทำไว้กับ “ชารีฟ ฮุสเซน แห่งเมกกะ เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม ค.ศ. 1914 ซึ่งก็มีส่วนช่วยอังกฤษอยู่มาก…
ตะวันออกกลางเป็นดินแดนส่วนสำคัญส่วนหนึ่งของจักวรรดิออตโตมัน ซึ่งมีอาณาบริเวณกว้างขวางมาก แต่รัฐบาลของจักรวรรดิซึ่งเป็นเติร์กนั้นไม่มีประสิทธิภาพ กรทั่งยุโรปเรียกจักรวรรดินี้ว่าเป็น “คนป่วยของยุโรป”
เติร์กหนุ่ม(Young turk) เป็นกลุ่มทหารชั้นกลางมีการศึกษาและค่อนข้างหัวรุนแรงไม่พอใจสุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2 แห่งจัรวรรดิออตโตมันเนื่องจากการนำรัฐธรรมนูญมาใข้ให้อำนาจเด็ดขาดแก่สุลต่าน พวกเตอร์หนุ่มทำการปฏิวัติและสำเร็จ เติร์กหนุ่มจึงเป็นผู้ปฏิบัติการของรัฐบาลในระยะแรกเติร์กหนุ่มสามารถทำให้เกิดความสมานฉันท์โดยเฉพาะระหว่างเติร์กและอาหรับ แต่ตัวกระตุ้นที่สำคัญคือลัทธิตุรกีซึ่งความรู้สึกเช่นนี้ เกิดมานานแล้ว และก็เป็นสาเหตุอันหนึ่งที่นำไปสู่การปฏิวัติ
ความไม่พอใจที่แฝงอยู่ภายในใจของเติร์กหนุ่มเติบโตขึ้นประกอบกับความคิดที่ว่าเหตุใดจักรวรรดิออตโตมันจึงเป็นรวมของชนหลายเชื่อชาติ..แม้แต่บอลข่านก็เกิดลัทธิชาตินิยมของชนเชื่อชาติต่าง ๆ เช่น กรีก ชาตินิยมบัลแกเลีย ชาตินิยมโรมมาเนียนซึ่งลัทธิชาตินิยมบอลข่านนั้นมีศูนญ์รวมอยู่ทศาสนา
ในคริสตศตวรรษที่ 19 ชาวอาร์เมเนียน ซึ่งอยู่กระจัดกระจายบริเวณที่ราบสูงอาร์เมเนียทางทิศตะวันออกของตุรกี เป็นผุ้นำความคิดของลัทธิชาตินิยมมาสู่ใจกลางอาณาจักรออตโตมัน เป็นความคิดเกี่ยวกับความรู้สักของมนุษย์ชาติซึ่งเป็นแรงกระตุ้นให้พวกเตอร์กในจักรวรรดิสอบสวนเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของตนเอง ซึ่งเป็นความรู้สึกใหม่ แต่ก็ถูกสนับสนุนและผลักดันโดยความไม่พอใจที่ซ่อนอยู่ในใจของขาวเติร์กโดยไม่รู้ตัวดังนั้นแม้จะพยายามยุคสมัยแห่งการสามัคคีระหว่างเติร์กและอาหรับ และชนชาติอื่นๆ ในจักรวรรดิ แต่ความรู้สึกชาตินิยมก็ทำลายความพยายามดังกล่าวพวกเติร์กกลับทำจักวรรดิให้กลายเป็นตุรกี..การกระทำดังกล่าวของเติร์กเป็นแรงผลักที่ฝ่ายอาหรับต้องแสวงหาเอกลักษณ์ของตัวเอง และนำไปสู่ลัทธิชาตินิยมอาหรับในที่สุด..
คาบสมุทรอาหรับ ซีเรีย และอิรัก
เป็นการต่อสู้ที่รุนแรงและขมขื่น ต่อสู้ในระยะทางไกลและพื้นที่กว้างใหญ่ ด้วยกองทัพอันยิ่งใหญ่ แม้ว่ายุโรปจะมีการเตียมการณ์รบมาหลายปีก่อนสงคราม แต่ในการต่อสู้จริง นั้นเป็นลักษณะของการปฏิวัติโดยใช้เลห์กลทางทหาร
ในตอนต้น ๆ ของสงคราม ดังกฤษจะใช้ตะวันออกกลางเป็ฯแนวหน้าสำคัญ พยายามนำประเทศต่าง ๆ ในคาบสมุทรบอลข่านเข้าสู่สงครามโดยเป็นฝ่ายสัมพันธมิตร ซึ่งถ้าเป็นจริงดังนั้นแล้ว ไม่เพียงแต่ประวัติศาสตร์ของตะวันออกกลางเท่านั้นทีจะเปลี่ยนแปลงแม้แต่ประวัติศาสตร์ของรัสเซียก็อาจมีการเปลี่ยนแปลงไปด้วย
อังกฤษยกพลขึ้นบกที่แกลิลิโปลิ ขณะที่พวกเติร์ยังมั่นคงอยู่ หากกองทัพอังกฤษขึ้นฝั่งที่ซีเรียที่ซึ่งชาวอาหรับกำลังก่อจลาจลนั้นอาจทำให้สงครามในตะวันออกกลางระเบิดขึ้นเร็วกว่านี้ แต่ถึงอย่างไรก็ตามซีเรียก็มิได้ปฏิวัติ กองทัพเติร์กในทุกๆ แนวหน้าต่อสู้อย่างกล้าหาญและมีจุดมุ่งหมาย
กุมภาพันธ์ ปี 1915 กองทัพเติร์กได้ไปถึงคลองสุเอซ และในเดือนเดียวกัน ชนเผ่าเดียวกับเติร์กในอิหร่านทางตะวันตกได้ตัดท่อส่งน้ำมันถึงท่านเรื่อ เป็นการขทมขู่อังกฤษ และสร้างความเสียหายแก่อังกฤษ เท่ากับบอกว่าหากอังกฤษจะยึดครองตะวันออกกลางนั้น อังกฤษจะต้องมีกองทัพอันยิ่งใหญ่ประจำอยู่ในตะวันออกกลางตลอดเวลาของสงคราม
สิงหาคม 1915 กองทัพอังกฤษในภาคใต้ของอิรัก พยายามที่จะยึดครองแบกแดดซึ่งอยู่ทางตอนเหนือและบรรเทาความกดดันเรื่องปัญหาท่อส่งน้ำมัน ในการเคลื่อนพลครั้งนี้ทำให้เกิดการปะทะกับกองทัพเติร์กอันเข้มแข็งและอังกฤษได้รับความเสียหาย และถอยไปในเดือนธันวาคม ปีเดียวกัน กระทั่ง มีนาคม ปี 1917 ภายหลังการต่อสู้อันทำให้ทหารทั้งชาวอินเดียและอังกฤษล้มตายเป็นจำนวนมาก ในที่สุดอังกฤษก็สามารถยึดแบกแดดได้ ในขณะเดียวกันอียิปต์ซึ่งเป็นแนวหน้าอีกแห่งและมีการต่อสู้กันอย่างรุนแรง อังกฤษไม่ยอมรับคำแนะนำของอเมริกาที่เร่งเร้าให้เติร์กทำสันติภาพอยางมีเกียรติ
ธันวาคม ปี 1917 อังกฤษยึดเยรูซาเลมและตุลาคมปี ถัดมาก็สามารถยึดดามัสกัน เมืองหลวงของซีเรียได้ ในตอนเริ่มของสงครามนั้นอังกฤษไม่สามารถหยั่งรู้ได้ว่า การต่อสู้จะรุนแรงแต่ด้วยความฉลาดรอบคอบของอังกฤษ ที่ช่วยให้อังกฤษสามารถได้รับความสนับสนุนจากท้องถิ่นที่อังกฤษยึดครองได้ ตลอดจนข้อเสนอที่อังกฤษทำไว้กับ “ชารีฟ ฮุสเซน แห่งเมกกะ เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม ค.ศ. 1914 ซึ่งก็มีส่วนช่วยอังกฤษอยู่มาก…
วันอังคารที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556
WWI: แอฟริกา
ชาวยุึโรปส่วนใหญไม่สนใจแอฟริกา เนื่องจากดอนแดนตอนเหนือของแอฟริกาที่อยู่ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลทรายซาฮารา เป็นที่ดินที่มีประชากรอยู่อย่างหนาแน่นจึงไม่มีที่ว่างพอให้ชาวยุโรปเข้าไปแสวงหาผลประโยชน์ และทางแอฟริการใต้ซึ่งมีทรัพยกรธรรมชาตินั้นเป็นเมืองปิดซึ่งห้ามคนแปลกห้าเข้าเมือง ในขณะที่แอฟริกากลางเป็นป่าดงดิบไม่มีใครรู้จักดินแดนแห่งนี้มาก่อน ชาวยุโรปจึงไม่กล้าเสี่ยงลงทุนด้านเกษตรกรรมในแอฟริกา
หนึ่งในข้ออ้างในการเข้ายึดครองแอฟริกาคือชาวอังกฤษคิดว่า อังกฤษจะต้องยึดครองเส้นทางที่จะไปยังประเทศอินเดียเพื่อเป็นหลักประกันความมั่นคง ทั่้งทางด้านการเมืองและการค้า อังกฤษจึงพยายามกีดกันฝรั่งเศสเข้ามามีอิทธิพลในอียิปต์ แต่แล้วอังกฤษก็ดำเนินนโยบายผิดพลาดโดยยอมให้นักวิศวกรฝรั่งเศสทำการขุดคลองสุเอซ เพราะเมื่อคลองสุเอซสำเร็จลงผู้ที่เฝ้าอยู่ตรงคอคอดปากคลองสุเอซ คือฝรั่งเศสและชาวอียิปต์ ซึ่งเป็นเจ้าของแผ่นดิน อังกฤษจึงเปลี่ยนแปลงนโยบายทางการเมืองในทวีปแอฟริกา โดยให้ความสำคัญกับอียิปต์และลุ่มแม่น้ำไนล์ว่าเป็นบริเวณที่มีความสำคัญอันดับหนึ่งของแอฟริกา
สมัยล่าอาณานิคม ยุโรปมีการประชุมเพื่อทำการแบ่งแอฟริกา โดยจัดขึ้นที่กรุงเบอลิน เยรมนีเมื่อปี 1884 การประชุมครั้งนี้ชื่อว่า การปรุชุมแห่งเบอร์ลินเกี่ยวกับคองโก มีผู้แทนจาก 12 ประเทศเข้าร่วมประชุม ส่วนใหญ่เป็นประเทศในยุโรป มีเพียง อเมริกาและและตุรกีที่ไม่อยู่ในทวีปยุโรป
บริสมาร์คเห็นเป็นโอกาสเหมาะที่จะผลักดันให้เยอรมนีมีบทบาทในระดับโลก และต้องการที่จะขัดขวางความมักใหญ่ใฝ่สูงของฝรั่งเศส อย่างไรก็ดี บิสมาร์คเห้นว่าฝรั่งเศสควรจะได้รับดินแดนบางส่วนเพื่อเป็นการทดแทนกับการที่ฝรั่งเศสต้องเสียแคว้นเอลซาส โลธริงแกนให้กับเยอรมัน เื่พื่อป้องกันการฝูกใจเจ็บจากฝรั่งเศส นอกจากนี้บิสมาร์คยังพบทางออกที่ดีที่จะไม่ทำให้เกิดความขัดแย้งระหว่างเยอมนีและอังกฤษ(ในขณะนั้นอังกฤษเป็นประเทศมหาอำนาจ ในขณะที่เยอรมนีเพิ่งจะสร้างประเทศ) บิสมาร์คมองเห็นประโยชน์อันมหาศาลจากการแบ่งดินแดนที่อยู่ลึกเข้าไปในทวีปแอฟริกา
สาเหตุที่สำคัญอีกประการที่ทำให้เกิดการจัดการแบ่งปันแอฟริกา จัดขึ้นที่เมืองเบอร์ลินซ์ คือ พระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 2 กษัตริย์แห่งเบลเยี่ยมทรงพยายามทำให้เกิดสถานการณ์ต่าง ๆ ในดินแดนแถบลุ่มน้ำคองโก สืบเนื่องมาจากพระองค์มีความสนพระทัยและปรารถนาที่จะครอบครองดินแดนส่วนในของทวีปแอฟริกาเป็นอย่างยิ่งเพื่อไม่ให้ประเทศต่างๆ ทราบความปรารถนา พระองค์จึงจัดตั้งองค์การนานาชาติภายใต้พระนามแฝงว่า "สมาคมนานาชาติแห่งแอฟริกา"โดยมีจุดประสงค์ของสมาคม เพื่อทำการค้นคว้าทางวิชาการเกี่ยวกับการช่วยเหลือมนุษย์ร่วมโลก..ในแอฟริกาสำหรับประเทศต่าง ๆ ของยุโรป
โดยว่าจ้างนักสำรวจชาวอังกฤษ คือ สแตนเลย์ ซึ่งแปลงสัญชาติเป็นอเมริกัน ทำการสำรวจลึกเข้าไปภายในโดยเริ่มจากแม่น้ำคองโก เข้าไปมีเนื้อที่กว่า สองล้านห้าแสนตารางกิโลเมตร ดอนแดนเหล่นี้กลายเป็นสมบัติส่วนตัวของพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งเบลเยี่ยม แต่พระองค์ทรงเป็นหนีรัฐบาลเบลเยี่ยมเป็นเงินจำนวนมากที่กู้มาใช้ในการสำรวจ พระองค์ไม่สามารถหาเงินคือนได้ รัฐบาลเบลเยียมจึงสั่งยึดแคว้นคองโกเป็นของรัฐ
ยุโรปเกรงว่า เบลเยี่ยมจะกองโดยและผูกขาดผลประโยชน์ และหวาดเกรงเยอรมันและเบลเยี่ยมจะมีอิทธิพลและยึดครองดินแดนส่วนในของทวีปแอฟริกาเป็นจำนวนมาก ซึงจะกระทบกระเทือนต่อผลประโยชน์ของประเทต่างๆ ที่เพิ่งจะได้รับในแอฟริกา จึงเกิดความตรึงเครียดและความหวาดระแวงซึ่งกันและกัน
ผลของการประชุมคือ ให้คองโกเป็นรัฐอิสระ (เป็นสมบัติส่วนตัวของพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งเบลเยี่ยม) แต่จะต้องเปิดตลาดเสรีสำหรับการค้าของนานาชาติ,ให้สิทธิในการเดินเรือในแม่น้ำคองโกและแม่น้ำไนเจอแก่นานาชาติ,ประกันเสรีภาพของชาวพื้นเมือง,ยุติการมีทาสและการค้าทาสทั่วโลก,วางกฎเกฎฑ์เกี่ยวกับการค้าอาวุธในแอฟริกากลางแบ่งเขตอิทธิพลของมหาอำนาจต่าง ๆ , แบ่งดินแดนที่เหลืออยู่ลึกเข้าไปในพื้นทวีป
ดังนั้นในสงครามโลกครั้งนี้ แอฟริกาจึงเป็นเขตสงครามที่ประเทศเจ้าอาณานิคมต่าง ๆ ซึ่งเป็นคู่สงครามด้วยกันทั้งนั้นจะต้องปกป้องผลประโยชน์ของตนในแอฟริกา
การปะทะกันครั้งแรกๆ ของสงครามเกิดในกองทัพอาณานิคมอังกฤษ ฝรั่งเศษและเยอรมนี กองทัพฝรั่งเศสและอังกฤษรุกรานโตโกแลนด์ อันเป็นดินแดนในอารักขาของเยอรมนี..
กองทัพเยอรมนีในแอฟริกาตะวันตกเฉียงใต้ โจมตี แอฟริการใต้ การต่อสู้ประปรายและป่าเถื่อนดำเนินจนกระทั่งสงครามสิ้นสุด
กองทัพอาณานิคมเยอรมันในแอฟริกาตะวันออกของเยอรมี นำโดยพันเอก พอล เอมิล ฟอน เลทโท-เวอร์เบค สู้รบในสงครามกองโจรและยอมจำนนสองสับดาห์หลังสัญญาสงบศึกมีผลใช้บังคับในยุโรป
*สงครามกองโจร เป็นการปฏิบัติการทางการทหารและกึ่งทหาร โดยใช้กำลังรบนอกแบบ กำลังประชาชนในดินแดนที่ฝ่ายตรงข้ามยึดครอง หรือในดินแดนของฝ่ายตรงข้าม มีทหารหน่วยรบพิเศษเป็นผู้กำกับดูแลและให้คำแนะนำสำหรับสงครามกองโจรนั้นถือได้ว่าเป็นการปฏิบัติทางทหารโดยเปิดผยของกลุ่มก่อความไม่สงบ หรือขบวนการต่อต้านติดอาวุธ ภารกิจที่มอบให้กองโจรทำได้แก่ การซุ่มโจมตี การวางระเบิด และการลอบสังหาร โดยกำลังรบของกลุ่มต่อต้านที่ผ่านกระบวนการจัดตั้งแล้วสามารถปฏิบัติการทางทหารในลักษณะที่กล่าวมาได้โดยกำลังของตนเองเพียงลำพัง ส่วนใหญ่แล้วลักษณะของการปฏิบัติการจะเป็นการขัดขวางเส้นทาง การรบกวนการติดต่อสื่อสารและขัดขวางการซ่อมบำรุงของฝ่ายข้าศึกด้วยการวางทุ่นระเบิด กับระเบิด นอกจากนี้กองโจรอาจถูกใช้ในการรวบรวมข่าวสารอีกด้วย
หนึ่งในข้ออ้างในการเข้ายึดครองแอฟริกาคือชาวอังกฤษคิดว่า อังกฤษจะต้องยึดครองเส้นทางที่จะไปยังประเทศอินเดียเพื่อเป็นหลักประกันความมั่นคง ทั่้งทางด้านการเมืองและการค้า อังกฤษจึงพยายามกีดกันฝรั่งเศสเข้ามามีอิทธิพลในอียิปต์ แต่แล้วอังกฤษก็ดำเนินนโยบายผิดพลาดโดยยอมให้นักวิศวกรฝรั่งเศสทำการขุดคลองสุเอซ เพราะเมื่อคลองสุเอซสำเร็จลงผู้ที่เฝ้าอยู่ตรงคอคอดปากคลองสุเอซ คือฝรั่งเศสและชาวอียิปต์ ซึ่งเป็นเจ้าของแผ่นดิน อังกฤษจึงเปลี่ยนแปลงนโยบายทางการเมืองในทวีปแอฟริกา โดยให้ความสำคัญกับอียิปต์และลุ่มแม่น้ำไนล์ว่าเป็นบริเวณที่มีความสำคัญอันดับหนึ่งของแอฟริกา
สมัยล่าอาณานิคม ยุโรปมีการประชุมเพื่อทำการแบ่งแอฟริกา โดยจัดขึ้นที่กรุงเบอลิน เยรมนีเมื่อปี 1884 การประชุมครั้งนี้ชื่อว่า การปรุชุมแห่งเบอร์ลินเกี่ยวกับคองโก มีผู้แทนจาก 12 ประเทศเข้าร่วมประชุม ส่วนใหญ่เป็นประเทศในยุโรป มีเพียง อเมริกาและและตุรกีที่ไม่อยู่ในทวีปยุโรป
บริสมาร์คเห็นเป็นโอกาสเหมาะที่จะผลักดันให้เยอรมนีมีบทบาทในระดับโลก และต้องการที่จะขัดขวางความมักใหญ่ใฝ่สูงของฝรั่งเศส อย่างไรก็ดี บิสมาร์คเห้นว่าฝรั่งเศสควรจะได้รับดินแดนบางส่วนเพื่อเป็นการทดแทนกับการที่ฝรั่งเศสต้องเสียแคว้นเอลซาส โลธริงแกนให้กับเยอรมัน เื่พื่อป้องกันการฝูกใจเจ็บจากฝรั่งเศส นอกจากนี้บิสมาร์คยังพบทางออกที่ดีที่จะไม่ทำให้เกิดความขัดแย้งระหว่างเยอมนีและอังกฤษ(ในขณะนั้นอังกฤษเป็นประเทศมหาอำนาจ ในขณะที่เยอรมนีเพิ่งจะสร้างประเทศ) บิสมาร์คมองเห็นประโยชน์อันมหาศาลจากการแบ่งดินแดนที่อยู่ลึกเข้าไปในทวีปแอฟริกา
สาเหตุที่สำคัญอีกประการที่ทำให้เกิดการจัดการแบ่งปันแอฟริกา จัดขึ้นที่เมืองเบอร์ลินซ์ คือ พระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 2 กษัตริย์แห่งเบลเยี่ยมทรงพยายามทำให้เกิดสถานการณ์ต่าง ๆ ในดินแดนแถบลุ่มน้ำคองโก สืบเนื่องมาจากพระองค์มีความสนพระทัยและปรารถนาที่จะครอบครองดินแดนส่วนในของทวีปแอฟริกาเป็นอย่างยิ่งเพื่อไม่ให้ประเทศต่างๆ ทราบความปรารถนา พระองค์จึงจัดตั้งองค์การนานาชาติภายใต้พระนามแฝงว่า "สมาคมนานาชาติแห่งแอฟริกา"โดยมีจุดประสงค์ของสมาคม เพื่อทำการค้นคว้าทางวิชาการเกี่ยวกับการช่วยเหลือมนุษย์ร่วมโลก..ในแอฟริกาสำหรับประเทศต่าง ๆ ของยุโรป
โดยว่าจ้างนักสำรวจชาวอังกฤษ คือ สแตนเลย์ ซึ่งแปลงสัญชาติเป็นอเมริกัน ทำการสำรวจลึกเข้าไปภายในโดยเริ่มจากแม่น้ำคองโก เข้าไปมีเนื้อที่กว่า สองล้านห้าแสนตารางกิโลเมตร ดอนแดนเหล่นี้กลายเป็นสมบัติส่วนตัวของพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งเบลเยี่ยม แต่พระองค์ทรงเป็นหนีรัฐบาลเบลเยี่ยมเป็นเงินจำนวนมากที่กู้มาใช้ในการสำรวจ พระองค์ไม่สามารถหาเงินคือนได้ รัฐบาลเบลเยียมจึงสั่งยึดแคว้นคองโกเป็นของรัฐ
ยุโรปเกรงว่า เบลเยี่ยมจะกองโดยและผูกขาดผลประโยชน์ และหวาดเกรงเยอรมันและเบลเยี่ยมจะมีอิทธิพลและยึดครองดินแดนส่วนในของทวีปแอฟริกาเป็นจำนวนมาก ซึงจะกระทบกระเทือนต่อผลประโยชน์ของประเทต่างๆ ที่เพิ่งจะได้รับในแอฟริกา จึงเกิดความตรึงเครียดและความหวาดระแวงซึ่งกันและกัน
ผลของการประชุมคือ ให้คองโกเป็นรัฐอิสระ (เป็นสมบัติส่วนตัวของพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งเบลเยี่ยม) แต่จะต้องเปิดตลาดเสรีสำหรับการค้าของนานาชาติ,ให้สิทธิในการเดินเรือในแม่น้ำคองโกและแม่น้ำไนเจอแก่นานาชาติ,ประกันเสรีภาพของชาวพื้นเมือง,ยุติการมีทาสและการค้าทาสทั่วโลก,วางกฎเกฎฑ์เกี่ยวกับการค้าอาวุธในแอฟริกากลางแบ่งเขตอิทธิพลของมหาอำนาจต่าง ๆ , แบ่งดินแดนที่เหลืออยู่ลึกเข้าไปในพื้นทวีป
ดังนั้นในสงครามโลกครั้งนี้ แอฟริกาจึงเป็นเขตสงครามที่ประเทศเจ้าอาณานิคมต่าง ๆ ซึ่งเป็นคู่สงครามด้วยกันทั้งนั้นจะต้องปกป้องผลประโยชน์ของตนในแอฟริกา
การปะทะกันครั้งแรกๆ ของสงครามเกิดในกองทัพอาณานิคมอังกฤษ ฝรั่งเศษและเยอรมนี กองทัพฝรั่งเศสและอังกฤษรุกรานโตโกแลนด์ อันเป็นดินแดนในอารักขาของเยอรมนี..
กองทัพเยอรมนีในแอฟริกาตะวันตกเฉียงใต้ โจมตี แอฟริการใต้ การต่อสู้ประปรายและป่าเถื่อนดำเนินจนกระทั่งสงครามสิ้นสุด
กองทัพอาณานิคมเยอรมันในแอฟริกาตะวันออกของเยอรมี นำโดยพันเอก พอล เอมิล ฟอน เลทโท-เวอร์เบค สู้รบในสงครามกองโจรและยอมจำนนสองสับดาห์หลังสัญญาสงบศึกมีผลใช้บังคับในยุโรป
*สงครามกองโจร เป็นการปฏิบัติการทางการทหารและกึ่งทหาร โดยใช้กำลังรบนอกแบบ กำลังประชาชนในดินแดนที่ฝ่ายตรงข้ามยึดครอง หรือในดินแดนของฝ่ายตรงข้าม มีทหารหน่วยรบพิเศษเป็นผู้กำกับดูแลและให้คำแนะนำสำหรับสงครามกองโจรนั้นถือได้ว่าเป็นการปฏิบัติทางทหารโดยเปิดผยของกลุ่มก่อความไม่สงบ หรือขบวนการต่อต้านติดอาวุธ ภารกิจที่มอบให้กองโจรทำได้แก่ การซุ่มโจมตี การวางระเบิด และการลอบสังหาร โดยกำลังรบของกลุ่มต่อต้านที่ผ่านกระบวนการจัดตั้งแล้วสามารถปฏิบัติการทางทหารในลักษณะที่กล่าวมาได้โดยกำลังของตนเองเพียงลำพัง ส่วนใหญ่แล้วลักษณะของการปฏิบัติการจะเป็นการขัดขวางเส้นทาง การรบกวนการติดต่อสื่อสารและขัดขวางการซ่อมบำรุงของฝ่ายข้าศึกด้วยการวางทุ่นระเบิด กับระเบิด นอกจากนี้กองโจรอาจถูกใช้ในการรวบรวมข่าวสารอีกด้วย
วันจันทร์ที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2556
WWI:ราซีย์สกายาฟิดิรัตซียา
ในสมัย "ซาแห่งสันติภาพ" หรือซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย เนืองจากสามารถแ้ปัญหาจากการปฏิวัติทุกรูปแบบ ทางด้านต่างประเทศรัสเซียดำเนินนธยบายเป็นมิตรกับจักวรรดิเยอมนีและจักวรรดิออตโตมัน กระทั่งเกิดปัญหารเรืองดินแดนในคาบสมุทรบอลข่าน รสเซียจึงเปลี่ยนนโยบายไปเป็นมิตรกับฝรั้่งเศสและอังกฤษ กลุ่มต่อต้านระบบกษัตริย์ได้หายไปอย่างรวดเร็ว มีเพียงกลุ่มหนึ่งได้พยายามวางแผนลอบปลงพระชนม์ แต่ถูกขัดขวางโดยตำรวจลับรัสเซีย นักศึกษาจำนวนหนึ่งถูกแขวนคอ รวมทั้งอเล็กซานเดอร์ อุลยานอฟ ซึ่งเป็นพี่ชาย วลาดีมีร์ เลนิน ซึ่งอีกหลายปีต่อมาใช้เวลาส่วนใหญ่กับขบวนการปฏิวัติใต้ดอน เพื่อล้างแค้นให้พี่ชาย
อเล็กซานเดอร์ที่ 3 สเด็จสวรรคต เมือพระชนมายุได้ 49 พรรษา มกุฎราชกุมารนิโคลัสขึ้นเป็ฯซษร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย ทรงเป็นจักรพรรดิ์องค์สุดท้ายของรัสเซีย ทรงครองราชย์พร้อมกับการเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสไม่สามารถตกลงอะไรกันได้กับอังกฤษ และได้รับการกล่าวขานว่าเป็นจักรพรรดิที่อ่อนแดไม่สามารถจักการกับสถานการณ์ที่ปั่นป่วนของประเทศพ่ายแพ้การรบทางเรือในสางครามรัสเซ๊ย-ญี่ปุ่น และทรงเข้าบัญชาการรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 รัสเซียประกาศสงครามกับมหาอำนาจกลางเมือวันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 1914 โดยเข้ากับฝ่ายไตรสัมพันธมิตร ทำการรบแนวรบด้านตะวันออก
แนวรบด้านตะวันออกและตะวันตกนั้นแม้จะแยกกันทางภูมิศาสตร์แต่เหตุการณ์ในเขตสงครามทั้งสองมีอิทธิพลต่อกันเป็นอย่างมาก
แนวรบทางด้านตะวันออกใหญ่กว่าแนวรบทางตะวันตกมาก เขตสงครามจำกัดขอบเขตอยางหยาบ ๆ โดย ทะเลบอลติก ทางตะวันตก มินสก์ทางตะวันออก เซนต์ปีเตอร์เบิร์กทางเหนือ และทะเลดำทางใต้ คิดเป็นระยะทางกว่า 1,600 กิโลเมตร ซึ่งมีผลอย่างรุนแรงต่อธรรมชาติของสงคราม เนื่องจากแนวรบยาวความหนาแน่นของทหารต่ำกว่าแนวรบด้านตะวันตก และแตกง่ายกว่า และเมื่อแตกแล้วเป็นการยากสำหรับฝ่ายตั้งรับที่จะส่งกำลังหนุนมาช่วย กล่าวคือฝ่ายป้องกันในแนวรบด้านตะวันออกไม่มีข้อได้เปรียบเหมือนกับแนวรบด้านตะวันตก
สงครามเริ่มโดยการรุกรานปรัสเซีย และจังหวัดกาลิเซียของออสเตรีย-ฮังการี ความพยายยามแรกของรัสเซียประสบความล้มเหลว แต่สามารถควบคุมกาลิเซียเกือบทั้งหมดได้ ซึ่งเป็นผลให้เยอรมันต้องแบ่งทหารส่งมาทางตะวันออก
ความสนใจหลักของการสู้รบไปอยู่ที่ส่วนกลางของโปแลนด์ทางตะวันออกของแม่น้ำวิลตูลา ในยุทธการแม่น้ำวิลตูลา ฝ่ายเยอรมนีประสบความสำเร็จเล็กน้อยแต่สามารถกันรัีสเซียให้อยู่ในระยะที่ปลดภัยได้
ในปี 1915 กองบัญชาการเยอมนีตัดสิใจทุ่มเทความพยายามส่วนใหญ่บนแนวรบด้านตะวันออกและย้ายกองกำลังขนาดใหญ่มาจากตะวันตก ฝ่ายมหาอำนาจกลางเริ่มด้วยการรุกกอลิซขทอร์นอฟในกาลิเซีย หลังยุทธการทะเลสาบมาซูเรียกำลังเยอรมนีและออกเตรีย - ฮังการีในแนรบด้านตะวันออดำนเนินการอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาร่วมกันไม่นานการรุกจะเปลี่ยนไปเป็นการคืบหน้าโดยทั่งไปกละตามด้วยการล่าถอยทางยุทธศาตร์ของกองทัพรัสเซีย (สาเหตุของการผันกลับนี้เกิดจากข้อผิดพลาดในแง่ยุทธวิธี )
กลางปี 1915 รัสเซียถูกขับออกจากโปแลนด์และถูกผลักดันหลายร้อยกิโลเมตรจากชายแดนของระเทศมหาอำนาจกลาง ปลายปีเดียวกันนี้ เยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการีสามารถหยุดยั้งการบุกของรัสเซียได้
ปี 1916 ในเดือนมิถุนายน รัสเซียมีอกองพลทหารราบ 140 กองพลในขณะที่ออสเตรียและเยอมันีมี 105 กองพล กองทหารม้ารัสเซีย 40 กองพลในขณะที่ฝ่ายมหาอำนาจกลางมี 22 กองพล การระดมอุตสาหกรรมและการเพ่ิมการส่งออก จึงส่งผลให้รัสเซียเป็นฝ่ายบุกต่อไปได้
การโจมตีครั้งใหญ่บนแนวรบด้านตะวันตกเฉียงใต้โดยการนำของพลเอกอเล็กเซย์ บรูซิลอฟ (เรียกว่าการรุกของบรูซิลอฟ)เริ่มขึ้นในเดือนมิถุนา โดยเป้าหมายการโจมตีคือส่วนของแนวรบที่ควบคุมโดยออสเตรีย-ฮังการี ซึ่งประุสบความสำเร็จอย่างน่าประทับใจในช่วงแรกกองทัพรัสเซียรุกเข้าไปลึก 50-70 กิโลเมตร จับกุมเชลยได้หลายแสนคน และปืนใหญ่อีกหลายร้อยกระบอก
การมาถึงของกองหนุน ความพ่ายแพ้ของโรมาเนีย ความล้มเหลวของพันธมิตรตะวันตกในการสั่นสะเทือนการป้องกันของเยอรมนีทำให้การรุกของรัสเซียสิ้นสุดลงในเดือนกันยายน
14 สิงหาคม ค.ศ. 1916 โรมาเนียเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายไตรพันธมิตร และทำการรุกประสบความสำเร็จกระทั่งเดือนกันยน โรมาเนียเริ่มประสบความสูญเสียอย่างหนักและพ่ายแพ้หลายครั้ง เนื่องจากยุทโธปกรณ์และขาดความช่วยเหลือจากรัสเซีย
ปี 1917 กองทัพเยอมันสามารถสมทบกับกองทัพออสเตรีย-ฮังการีในทรานซิลวาเนียและกรุงบูชาเรสต์ถูกขึดโดยฝ่ายมหาอำนาจกลางในเดือนธันวาคม ไม่นานนักความไม่สงบก็แผ่กระจายไปทั่งรัสเซีย ขณะที่ซาร์แห่งรัสเซียยังคงบัญชาการรบอยู่แนวหน้า จักรพรรดินีอเล็กซานดราซึ่งไร้ความสามารถในการปกครองไม่สามารถปราบปรามกลุ่มประท้วงได้และนำไปสู่การฆาตกรรม"รัสปูติน" ปลายปี 1916
มีนาคม 1917 การชุมนุมที่กรุงเซนต์ปีเตอร์เบิร์กลงเอยด้วยการสละราชบัลลังก์ของพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย และการจัดตั้งรัฐบาลชั่วคราวซึ่งมีความอ่อนแอและแบ่งปันอำนาจกับกลุ่มสัคมนิยมเปโตรกราดโซเวียต การจัดการดังกล่าวสร้างความสับสนและนำไปสู่ความวุ่นวายทั้งในแนวหน้าและในแผ่นดินรัสเซีย กองทัพรัสเซียด้อยประสิทธิภาพลงกว่าเดิม
สงครามและรัฐบาลชั่วคราวของรัศเซียไม่เป็ฯนิยมของประชาชนมากขึ้นเรื่อยๆ ความไม่พอใจดังกล่าวได้นำไปสู่การขึ้นครองอำนาจของพรรคบอลเชวิค นำโดย วลาดีนีย์ เลนิน ซึ่งให้สัญญากับชาวรัสเซียว่าจะดึงรัสเซียออกจากสงครามและทำให้รัสเซียกลับมายิ่งใหญ่อีกครั้ง
ชัยชนะของพรรคบอลเชวิคในการปฏิวัติเดืิอนตุลาคม ตามด้วยการสงบศึกชั่วคราวและการเจรจากับเยอมนี ซึ่งในตอนแรก พรรคบอลเชวิคปฏิเสธข้อเสนอของเยรมนี แต่เมื่อกองทัพเยอมันีบุกถึงยูเครน เขาจึงต้องยอมเซ็นสัญญาเบรสต์-ลีโตเวส เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 1918 ซึ่งทำให้รสเซียออกจาสงครา และยอมยกดินแดนในแก่ฝ่ายมหาอำนาจกลาง...
อเล็กซานเดอร์ที่ 3 สเด็จสวรรคต เมือพระชนมายุได้ 49 พรรษา มกุฎราชกุมารนิโคลัสขึ้นเป็ฯซษร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย ทรงเป็นจักรพรรดิ์องค์สุดท้ายของรัสเซีย ทรงครองราชย์พร้อมกับการเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสไม่สามารถตกลงอะไรกันได้กับอังกฤษ และได้รับการกล่าวขานว่าเป็นจักรพรรดิที่อ่อนแดไม่สามารถจักการกับสถานการณ์ที่ปั่นป่วนของประเทศพ่ายแพ้การรบทางเรือในสางครามรัสเซ๊ย-ญี่ปุ่น และทรงเข้าบัญชาการรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 รัสเซียประกาศสงครามกับมหาอำนาจกลางเมือวันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 1914 โดยเข้ากับฝ่ายไตรสัมพันธมิตร ทำการรบแนวรบด้านตะวันออก
แนวรบด้านตะวันออกและตะวันตกนั้นแม้จะแยกกันทางภูมิศาสตร์แต่เหตุการณ์ในเขตสงครามทั้งสองมีอิทธิพลต่อกันเป็นอย่างมาก
แนวรบทางด้านตะวันออกใหญ่กว่าแนวรบทางตะวันตกมาก เขตสงครามจำกัดขอบเขตอยางหยาบ ๆ โดย ทะเลบอลติก ทางตะวันตก มินสก์ทางตะวันออก เซนต์ปีเตอร์เบิร์กทางเหนือ และทะเลดำทางใต้ คิดเป็นระยะทางกว่า 1,600 กิโลเมตร ซึ่งมีผลอย่างรุนแรงต่อธรรมชาติของสงคราม เนื่องจากแนวรบยาวความหนาแน่นของทหารต่ำกว่าแนวรบด้านตะวันตก และแตกง่ายกว่า และเมื่อแตกแล้วเป็นการยากสำหรับฝ่ายตั้งรับที่จะส่งกำลังหนุนมาช่วย กล่าวคือฝ่ายป้องกันในแนวรบด้านตะวันออกไม่มีข้อได้เปรียบเหมือนกับแนวรบด้านตะวันตก
สงครามเริ่มโดยการรุกรานปรัสเซีย และจังหวัดกาลิเซียของออสเตรีย-ฮังการี ความพยายยามแรกของรัสเซียประสบความล้มเหลว แต่สามารถควบคุมกาลิเซียเกือบทั้งหมดได้ ซึ่งเป็นผลให้เยอรมันต้องแบ่งทหารส่งมาทางตะวันออก
ความสนใจหลักของการสู้รบไปอยู่ที่ส่วนกลางของโปแลนด์ทางตะวันออกของแม่น้ำวิลตูลา ในยุทธการแม่น้ำวิลตูลา ฝ่ายเยอรมนีประสบความสำเร็จเล็กน้อยแต่สามารถกันรัีสเซียให้อยู่ในระยะที่ปลดภัยได้
ในปี 1915 กองบัญชาการเยอมนีตัดสิใจทุ่มเทความพยายามส่วนใหญ่บนแนวรบด้านตะวันออกและย้ายกองกำลังขนาดใหญ่มาจากตะวันตก ฝ่ายมหาอำนาจกลางเริ่มด้วยการรุกกอลิซขทอร์นอฟในกาลิเซีย หลังยุทธการทะเลสาบมาซูเรียกำลังเยอรมนีและออกเตรีย - ฮังการีในแนรบด้านตะวันออดำนเนินการอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาร่วมกันไม่นานการรุกจะเปลี่ยนไปเป็นการคืบหน้าโดยทั่งไปกละตามด้วยการล่าถอยทางยุทธศาตร์ของกองทัพรัสเซีย (สาเหตุของการผันกลับนี้เกิดจากข้อผิดพลาดในแง่ยุทธวิธี )
กลางปี 1915 รัสเซียถูกขับออกจากโปแลนด์และถูกผลักดันหลายร้อยกิโลเมตรจากชายแดนของระเทศมหาอำนาจกลาง ปลายปีเดียวกันนี้ เยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการีสามารถหยุดยั้งการบุกของรัสเซียได้
ปี 1916 ในเดือนมิถุนายน รัสเซียมีอกองพลทหารราบ 140 กองพลในขณะที่ออสเตรียและเยอมันีมี 105 กองพล กองทหารม้ารัสเซีย 40 กองพลในขณะที่ฝ่ายมหาอำนาจกลางมี 22 กองพล การระดมอุตสาหกรรมและการเพ่ิมการส่งออก จึงส่งผลให้รัสเซียเป็นฝ่ายบุกต่อไปได้
การโจมตีครั้งใหญ่บนแนวรบด้านตะวันตกเฉียงใต้โดยการนำของพลเอกอเล็กเซย์ บรูซิลอฟ (เรียกว่าการรุกของบรูซิลอฟ)เริ่มขึ้นในเดือนมิถุนา โดยเป้าหมายการโจมตีคือส่วนของแนวรบที่ควบคุมโดยออสเตรีย-ฮังการี ซึ่งประุสบความสำเร็จอย่างน่าประทับใจในช่วงแรกกองทัพรัสเซียรุกเข้าไปลึก 50-70 กิโลเมตร จับกุมเชลยได้หลายแสนคน และปืนใหญ่อีกหลายร้อยกระบอก
การมาถึงของกองหนุน ความพ่ายแพ้ของโรมาเนีย ความล้มเหลวของพันธมิตรตะวันตกในการสั่นสะเทือนการป้องกันของเยอรมนีทำให้การรุกของรัสเซียสิ้นสุดลงในเดือนกันยายน
14 สิงหาคม ค.ศ. 1916 โรมาเนียเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายไตรพันธมิตร และทำการรุกประสบความสำเร็จกระทั่งเดือนกันยน โรมาเนียเริ่มประสบความสูญเสียอย่างหนักและพ่ายแพ้หลายครั้ง เนื่องจากยุทโธปกรณ์และขาดความช่วยเหลือจากรัสเซีย
ปี 1917 กองทัพเยอมันสามารถสมทบกับกองทัพออสเตรีย-ฮังการีในทรานซิลวาเนียและกรุงบูชาเรสต์ถูกขึดโดยฝ่ายมหาอำนาจกลางในเดือนธันวาคม ไม่นานนักความไม่สงบก็แผ่กระจายไปทั่งรัสเซีย ขณะที่ซาร์แห่งรัสเซียยังคงบัญชาการรบอยู่แนวหน้า จักรพรรดินีอเล็กซานดราซึ่งไร้ความสามารถในการปกครองไม่สามารถปราบปรามกลุ่มประท้วงได้และนำไปสู่การฆาตกรรม"รัสปูติน" ปลายปี 1916
มีนาคม 1917 การชุมนุมที่กรุงเซนต์ปีเตอร์เบิร์กลงเอยด้วยการสละราชบัลลังก์ของพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย และการจัดตั้งรัฐบาลชั่วคราวซึ่งมีความอ่อนแอและแบ่งปันอำนาจกับกลุ่มสัคมนิยมเปโตรกราดโซเวียต การจัดการดังกล่าวสร้างความสับสนและนำไปสู่ความวุ่นวายทั้งในแนวหน้าและในแผ่นดินรัสเซีย กองทัพรัสเซียด้อยประสิทธิภาพลงกว่าเดิม
สงครามและรัฐบาลชั่วคราวของรัศเซียไม่เป็ฯนิยมของประชาชนมากขึ้นเรื่อยๆ ความไม่พอใจดังกล่าวได้นำไปสู่การขึ้นครองอำนาจของพรรคบอลเชวิค นำโดย วลาดีนีย์ เลนิน ซึ่งให้สัญญากับชาวรัสเซียว่าจะดึงรัสเซียออกจากสงครามและทำให้รัสเซียกลับมายิ่งใหญ่อีกครั้ง
ชัยชนะของพรรคบอลเชวิคในการปฏิวัติเดืิอนตุลาคม ตามด้วยการสงบศึกชั่วคราวและการเจรจากับเยอมนี ซึ่งในตอนแรก พรรคบอลเชวิคปฏิเสธข้อเสนอของเยรมนี แต่เมื่อกองทัพเยอมันีบุกถึงยูเครน เขาจึงต้องยอมเซ็นสัญญาเบรสต์-ลีโตเวส เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 1918 ซึ่งทำให้รสเซียออกจาสงครา และยอมยกดินแดนในแก่ฝ่ายมหาอำนาจกลาง...
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...