ในปี 1941 ประธานาธิบดีรูสเวลท์เสนอแผนให้ยืม-ให้เช่า อาวุธและยุทธปัจจัยแก่ชาติผู้ต้อต้านฝ่ายอักษะต่อรัฐสภาที่มาของแผนให้ยืม-ให้เช่า ด้วยประธานาธิบดีรูสเวทท์มั่สใจว่าสงครามโลกครั้งที่ 2 ต้องยือเยื้ออีกยาวนาน ฝ่านสัมพันธมิตรโดยเฉพาะอย่างยิ่งอังกฤษใกล้ขาดเงินสดซื้ออาวุธและยุ่ธปัจจัยจากสหรัฐอเมริกา และการรบขยายตัวลงมหาสมุทรแดตอลนติกอาจเคลื่อนไข้ใกล้สหรัฐอเมริกได้ในอนาคต
- 6 มกราว่าด้วยแผนให้ยืนมให้เช่าอาวุธและยุทธปัจจัยของสหรัฐอเมริกาแก่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะเป็นผลให้สามารถปราบปรามฝ่ายอักษะได้ และสหรัฐอเมริกาจะคงรักษาไว้ซึ่งเสรีภาพ 4 ประการ คือเสรีภาพในการพูดและแสดงความคิดเห็น,เสรีภาพในการนับถือศาสนา,เสรีภาพในการได้มาซึ่งสิ่งทีต้องการ,เสรีภาพในการหลุดพ้นจากความหวาดกลัว..
- 11 มีนาคม ฝ่านเป็นกฏหมายให้ยืม-ให้เช่าปี 1941
- 9 เมษายน รัฐบาลเดนมาร์คยินยอมให้สหรัฐอเมริกาตั้งฐานทัพในกรีนแลนด์ เพื่อปกป้องกรีนแลนด์จากการอาจถูกรุกรานโดยกาองกำลังเยอรมันและอิตาลี
- 11 เมษายน สหรัฐอเมริกและแคนาดาร่วมลงนามในคำประกาศไฮเด พาร์ค ปี 1941 กำหนดร่วมมือระหว่งกันเพื่อปกป้องดินแดนทางตอนเหนือของภาคพื้นทวีปอเมริกาเหนือรวมทั้งร่วมมือกันเพือการผลิตยุทธปัจจัย
-7 กรกฎา สหรัฐอเมริกาลงนามกับรัฐบาลไอซ์แลนด์ เข้าตั้งฐานทัพในเกาะไอซ์แลนด์เพื่อปกป้องไอซ์แลนด์จากการอาจถูกรุกรานโดยเยอรมันและอิตาลี
-26 กรกฎาคม สหรัฐตอบโต้ทางเศรษฐกิจการค้าและการเงินทันทีต่อการก้าวร้าวของญี่ปุ่นด้วยการยึดทรัพย์สินและอายัดเงินของชาวญี่ปุ่นในสหรัฐอเมริก หยุดทำการค้ากับญี่ปุ่นโดยสั่งห้ามเรือขนสินค้าส่งญี่ปุ่นอันได้แก่น้ำมัน เครื่องยนต์ เครื่องจักรและเหล็กออกจากท่าเรืออเมริกา(ญี่ปุ่นตอบโต้ทันที่ด้วยมาตรการในทำนองเดียวกัน)
-27 กรกฎาคม ประธานาธิบดีรูสเวลท์ เรียกกองกำลังฟิลิปินส์เข้าประจำการในกองกำลังอเมริกาภายใต้การบังคับบัญชาของนายพลโท ดักลาส แมคอาเธอร์ Lieutenant General Douglas MacArthur เพื่อลดความตรึงเครียดญี่ปุ่นเป็นฝ่ายของเปิดการเจรจากับสหรัฐอเมริกา
-4 กันยายน ประธานาธิบดีรูสเวลท์ประกาศให้เรื่อรบอเมริกันทุกลำปฏิบัติการยิงทันที่ที่เห็นเรืออักษาในเขตน่านน้ำภาคพื้นทวีปอเมริกาตามข้อตกลงปานามาปี 1939
ในเดือน สิงหาคม ประธานาธิบดีรูสเวลท์ร่วมปรึกษาหารือกับนากยกรัฐมนตรีเชอร์ชิล ผู้นำทั้งสองพบกันบนเรือรบพรินซ์ออฟเวลส์ Prince of Wales ชายฝั่งนิวฟาวแลนด์พูดเรื่องปัญหาและเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นรวมถึงความก้าวร้าวของญี่ปุ่นในเอเซียตะวันออก ผุ้นำทั้งสองร่วมกันลงนามในกฎบัตรแอตแลนติก ปี่ 1941 The Atlantic Charter 1941 โดยมีพื้นฐานจากหลักสันติภาพ 14 ประการและต่อมมาจึงเป็นสันนิบาตชาติใหม่คือ องค์การสหประชาชาติในปี 1945
ในเดือนสิงหาคม เช่นกัน สหรัฐอเมริกาเสนอความช่วยเหลือด้ารอาวุธและยุทธปัจจัยในรูปแบบให้ยืม-ให้เช่าแก่จีนเพื่อใช้ต้านการรุกรานของญี่ปุ่นในดินแดนจีน สร้างความไม่พอใจอยางมากแก่ญ่ปุ่น
-18 สิงหาคม ประกาศขยายระยะเวลาการรับราชการของทหารเกณฑ์จากเดิม
-11 กันยายน กลุ่มชาติต้านฝ่ายอักษาะ 11 ชาติร่วมลงนามรับรองในข้อกำหนดแห่งกฎบัตรแดตแลนติก
-13 พศจิกายน รัฐสภาเพิ่มข้อความในกฎหมายวางตนเป็นกลาง กำหนดให้เรือสินค้าอเมริกันติดอาวุธ จากการที่ญี่ปุ่นรุกรานและยึดครองอินโดจีนของฝรั่งเศสได้สำเร็จ
-20 พฤศจิกายน การเจรจาโดยฝ่ายญี่ปุ่นนำโดยตัวแทนพิเศษของนายกรัฐมนตรีนายพลฮิเดกิ โตโจ General Hideki Tojo และทูตญี่ปุ่นประจำสหรัฐอเมริกา คือ คิชิซาบูโร โนมูรา ฝ่ายสหรับนำโดยรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา คอร์เดล ฮัล ญี่ปุ่นเรียกร้องให้สหรัฐอเมริกาเลิกยึดทรัพย์สินนและอายัดเงินของชาวญี่ปุ่นในสหรัฐอเมริกา คงทำการค้ากับญี่ปุ่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งจัดส่งน้ำมันแก่ญี่ปุ่น เลิกให้ควมช่วยเหลือใดๆ แก่จีน และยุติการขยายแสยานุภาพกองทัพเรืออเมริกาในน่านน้ำแปซิฟิก
-26 พฤศจิกายน รัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกาประกาศให้ญี่ปุ่นถอนกำลังออกจากจีนและอินโดจีนของฝรั่งเศส และลงนามในข้อตกลงไม่ก้าวร้าวรุกรานในดินแดนใดกับสหรัฐอเมริกา อันจะมีผลฟื้นฟูใหม่ในความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างญี่ปุ่นกับสหรัฐอเมริกาข้อเรียร้องของสหรัฐอเมริกาสร้างความไม่พอใจแก่ญี่ปุ่น
-27 พฤศจิกายน กองกำลังอเมริกันในภาคพื้นแปซิฟิกได้รับการเตือนว่าเรือบรรทุกเครื่องบินโจมตีของญี่ปุ่นเคลื่อนออกจากท่าเรือญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกาอาจถูกโจมตี
- 6 ธันวาคม ประธานาธิบดีรูสเวลท์ร้องของต่อจักรพรรดิญี่ปุ่นให้รักษาสันติภาพ แต่เพราะในเช้าวันอาทิตย์ของวันที่ 7 ธันวาคม ฝูงบินกองกำลังญี่ปุ่นบุกโจมตีท่าเรือเพิร์ล สร้างครามเสียหายอย่างมากแก่สหรัฐอเมริกาเป็นผลให้ในวันที่ 8 ธันวาคม รัฐสภาประกาศสงครามกับญี่ปุ่น (วุมิสภให้การยินยอมด้วยเสียงเอกฉันท์ และสภาผุ้แทนราษฎรมีการคัดค้านหนึ่งเสียง) อังกฤษประกาศสงครามกับญี่ปุ่นในวันที่ 8 ธันวาคมใ เช่นกัน
-11 ธันวาคมเยอรมันและอิตาลีประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกา และสหรัฐอเมริกาประกาศสงครามกับเยอรมันและอิตาลี รวมทั้งประกาศสงครามกับชาติบริวารเยอรมัน
-19 ธันวาคม รัฐสภาประกาศขยายอายุทหารเกณฑ์จาก 21-35 เป็น 20-44 ปี
วันอาทิตย์ที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2556
วันเสาร์ที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2556
WWII:Dai Nippon Teikoku:KMT:CCP
หลังจากเหตุการณ์ที่นานกิง ญี่ปุ่นทำการรุกไล่จีนแม้จีนจะแพ้ครั้งแล้วครั้งเล่าแต่ไม่อาจทำลายขวัญและกำลังใจของกองทัพก๊กมินตั๋ง กองทัพจีนขวัญกำลังใจดีตรงข้ามกับญี่ปุ่นที่กำลังขวัญเสีย แม้ญี่ปุ่นจะยึดนานกิงซึ่งเป็นเมืองหลวงได้และคิดว่าจะจบเพียงแค่นั้น แต่ชาวจีนมิได้คิดเช่นนั้นเลย เมือยึดได้ก็สร้างขึ้นใหม่ได้เช่นกัน อย่างไรก็ดีแม้จะประสบปัญหาด้านกำลังพล ในเดือนมีนาคม 1940 ญี่ปุ่นสามารถจัดตั้งรัฐบาลหุ่นขั้นได้สำเร็จ โดยมี หวัง ชิง ไหว เป็นประทธานาธิบดี
ความไม่พร้อมของกองทัพญี่ปุ่นส่งผลกรทบต่อทั้งพรรคก๊กมินตั๋งและพรรคคอมมิวนิสต์จีนเท่าๆกัน แต่ทั้งสองพรรคใช้วิธีการที่แตกต่างกัน เชียง ไค เชค ใช้วิธีการตั้งรับมากกว่าหลังจากยุทธการที่แม่น้ำแยงซี พรรคคอมมิวนิสต์ใช้ความได้เปรียบจากความไม่พร้อมขยายอิทธิพลไปยังพื้นที่ต่าง ๆ อร่างต่อเนื่องและรวดเร็ว และเป็นความโชคดีของพรรคคอมมิวนิสต์จีนอีกเช่นกันที่ญี่ปุ่นเห็นว่าการเข้าครอบครองจีนได้หรือไม่อยู่ที่ว่าจะปราบกองทัพก๊กมินตั๋งได้หรือไม่ โดยไม่เห็นคอมมิวนิสต์จีนอยู่ในสายตา จากเหตุผลนี้ ในปี 1940 ภาคเหนือทั้งหมดก็ตกเป็นของพรรคคอมมิวนิสต์โดยไม่ต้องสู้รบแม้แต่น้อย ประชากรวมแล้วมีประมาณ 100 ล้านคน จากนั้นก็เริ่มเข้าทำลายเส้นทางรถไฟและการสือสารคมนาคม เมื่อถึงจุดนี้ ญี่ปุ่นเริ่มต่อต้านบ้างแต่ก็ช้าเกินไป คอมมิวนิสต์เข้มแข็งเกินกว่าจะกวาดล้างได้อย่างง่ายดาย
ในช่วงเวลานี้คอมมิวนิสต์ทำการจัดตั้งอำนาจรัฐได้อย่างสมบูรณืแบบที่สุดมีอิทธิพลเหนือทณฑลซันซี กันสู และหนิงเซีย โดยมียีนาน เป็นศูนย์กลางบัญชาการ พรรคได้สร้างความสัมพันธ์กับกลุ่มชาวไร่ชาวนา กลุ่มนักศึกษา ปัญญาชน ซึ่งต่อมาได้เป็นขุมกำลังทางปัญญาให้แก่พรรค ทุกคนใช้ชีวิตความเป็นอยู่อย่างเรียบง่าย อุทิศชีวิตให้แก่อุดมการณ์โดยำม่เห็นแก่ความเหน็ดเหนื่อยหรือแม้แต่ชีวิต ในช่วงนี้จึงได้รับการกล่าวขานว่าเป็น “ยุคทองของพรรค”และเป็นแบบอย่างของนักปฏิวัติจีนในอีกหลายปีต่อมา
“กองพลที่ 8” เป็นกองกำลังหลักที่อยูไกลจากเมืองเยนานไปทางภาคตะวันออก และอยู่แนวหลังกองกำลังหลักญี่ปุ่น “กองพลที่ 8” เป็นความสำเร็จของพรรคอีกอย่างหนึ่งที่เกิดจากการจัดระเบียบองค์การปฏิวัติชาวไร่ชาวนาอย่างมีประสิทธิภาพ กองพลนี้นอกจากจะเป็นองค์การสูงสุดทางทหารของพรรคที่ยึดถือระเบียบวินัยอย่างเคร่งครัด และเป็นกองทัพของประชาชนแล้ว ยังมีสายสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับชาวไร่ชาวนาโดยเฉพาะในพื้นที่ที่ยังไม่ได้ปลดปล่อย และต่างฝ่ายต่างช่วยเหลือกันและกัน
ในการรุกรานจีนสร้างความประหลาดใจให้แก่ญี่ปุ่น จีนผุ้เป็นเจ้าของประเทศไม่คิดที่จะต่องสู้อย่งจริงจัง แม้จะพ่ายแพ้นับครั้งไม่ถ้วนแต่จีนไม่มีทีท่าว่าจะวางอาวุธ นอกจานี้ ญี่ปุ่นเริ่มเผลิญกับปัญหาใหม่ซึ่งทวีความรุนแรงขึ้นทุกขณะ คือประเทศที่มิใช่คู่ศึกโดยตรง อันได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส ทั้งสองประเทศมีอินแดนในปกครองในจีนเช่นเดียวกัน และญี่ปุ่นต้องการดินแดนเลห่านั้น แม้ทั้งสองประเทศจะไม่สามารถยับยั้งญี่ปุ่นได้โดยตรง เนื่องจากอยุ่ในระหว่งการต่อสู้ในยุโรป แต่ญี่ปุ่นก็ไม่สามารถดำเนินการได้อย่างเต็มที่ เพราะทั้งอังกฤษและฝรั่งเศสยินยอมให้มีการใช้อาณานิคม โดยเฉพาะในพม่าและเวียดนาม เพื่อลำเลียงเสบียงสัมภาระ อาวุธยุทโธปกรณ์เข้าช่วยเหลือรัฐบาล เชียง ไค เชค ด้วยเหตุนี้จึงเป็นการบังคับในตัวให้ญี่ปุ่นต้องเคลื่อนทัพสู่ภาคใต้เข้าสู่ภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อตัดเส้นทางลำเลียง
สหรัฐอเมริกา เองไม่พอใจต่อการรุกรานจีนของญี่ปุ่น และไม่พอใจมากกับการที่ญี่ปุ่นรุกรานภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ สหรัฐแสดงความไม่พอใจออกมาอย่างชัดเจนมากกว่าประเทศมหาอำนาจตะวันตกซึ่งเป็นผู้ปกครองในภูมิภาคนี้ ประธานาธิบดีรูสเวลด์มีทีท่าต่อต้านการรุกรานของเยอรมันและญี่ปุ่นนั้น ทำให้นับแต่ปี 1940 เป็นต้นมา รัฐบาลของสหรัฐอเมริกาเรอ่มทุ่มเทความช่วยเลหืออย่างมากแก่รัฐบาลเชียง ไค เชค
สหรัฐอเมริกา ลอประมาณการซื่อขายสินค้ากับญี่ปุ่น ถึงกับทำให้ญี่ปุ่นต้องตัดสินใจว่าจะหยุดการรุกรานหรือไม่ เนื่องจากเศรษฐกิจญี่ปุ่นต้องย่อยยับ ถ้าขาดวัตถุดิบว฿งส่วนหใญ่นำเข้าจากสหรัฐฯ ซึ่งเป็นที่เข้าใจกันว่าถ้าจะให้คงการค้าขายต่อไป ญี่ปุ่นจะต้องยุติการรุกรานจีนในปัญหานี้ผุ้นำทางทหารของญี่ปุ่นถือว่าเป็นสิ่งที่ยอมรับไม่ได้ และมองว่าเป็นการดูหมิ่นศักดิ์ศรีของกองทัพแห่งองค์มหาจักรพรรดิ ทางออกของญี่ปุ่นก็คือต้องแสวงหาดินแดนอื่นที่อุดมสมบูรณ์โดยเฉพาะน้ำมันและยางพารา ในที่สุดก็มาตกที่ภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
ความไม่พร้อมของกองทัพญี่ปุ่นส่งผลกรทบต่อทั้งพรรคก๊กมินตั๋งและพรรคคอมมิวนิสต์จีนเท่าๆกัน แต่ทั้งสองพรรคใช้วิธีการที่แตกต่างกัน เชียง ไค เชค ใช้วิธีการตั้งรับมากกว่าหลังจากยุทธการที่แม่น้ำแยงซี พรรคคอมมิวนิสต์ใช้ความได้เปรียบจากความไม่พร้อมขยายอิทธิพลไปยังพื้นที่ต่าง ๆ อร่างต่อเนื่องและรวดเร็ว และเป็นความโชคดีของพรรคคอมมิวนิสต์จีนอีกเช่นกันที่ญี่ปุ่นเห็นว่าการเข้าครอบครองจีนได้หรือไม่อยู่ที่ว่าจะปราบกองทัพก๊กมินตั๋งได้หรือไม่ โดยไม่เห็นคอมมิวนิสต์จีนอยู่ในสายตา จากเหตุผลนี้ ในปี 1940 ภาคเหนือทั้งหมดก็ตกเป็นของพรรคคอมมิวนิสต์โดยไม่ต้องสู้รบแม้แต่น้อย ประชากรวมแล้วมีประมาณ 100 ล้านคน จากนั้นก็เริ่มเข้าทำลายเส้นทางรถไฟและการสือสารคมนาคม เมื่อถึงจุดนี้ ญี่ปุ่นเริ่มต่อต้านบ้างแต่ก็ช้าเกินไป คอมมิวนิสต์เข้มแข็งเกินกว่าจะกวาดล้างได้อย่างง่ายดาย
ในช่วงเวลานี้คอมมิวนิสต์ทำการจัดตั้งอำนาจรัฐได้อย่างสมบูรณืแบบที่สุดมีอิทธิพลเหนือทณฑลซันซี กันสู และหนิงเซีย โดยมียีนาน เป็นศูนย์กลางบัญชาการ พรรคได้สร้างความสัมพันธ์กับกลุ่มชาวไร่ชาวนา กลุ่มนักศึกษา ปัญญาชน ซึ่งต่อมาได้เป็นขุมกำลังทางปัญญาให้แก่พรรค ทุกคนใช้ชีวิตความเป็นอยู่อย่างเรียบง่าย อุทิศชีวิตให้แก่อุดมการณ์โดยำม่เห็นแก่ความเหน็ดเหนื่อยหรือแม้แต่ชีวิต ในช่วงนี้จึงได้รับการกล่าวขานว่าเป็น “ยุคทองของพรรค”และเป็นแบบอย่างของนักปฏิวัติจีนในอีกหลายปีต่อมา
“กองพลที่ 8” เป็นกองกำลังหลักที่อยูไกลจากเมืองเยนานไปทางภาคตะวันออก และอยู่แนวหลังกองกำลังหลักญี่ปุ่น “กองพลที่ 8” เป็นความสำเร็จของพรรคอีกอย่างหนึ่งที่เกิดจากการจัดระเบียบองค์การปฏิวัติชาวไร่ชาวนาอย่างมีประสิทธิภาพ กองพลนี้นอกจากจะเป็นองค์การสูงสุดทางทหารของพรรคที่ยึดถือระเบียบวินัยอย่างเคร่งครัด และเป็นกองทัพของประชาชนแล้ว ยังมีสายสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับชาวไร่ชาวนาโดยเฉพาะในพื้นที่ที่ยังไม่ได้ปลดปล่อย และต่างฝ่ายต่างช่วยเหลือกันและกัน
ในการรุกรานจีนสร้างความประหลาดใจให้แก่ญี่ปุ่น จีนผุ้เป็นเจ้าของประเทศไม่คิดที่จะต่องสู้อย่งจริงจัง แม้จะพ่ายแพ้นับครั้งไม่ถ้วนแต่จีนไม่มีทีท่าว่าจะวางอาวุธ นอกจานี้ ญี่ปุ่นเริ่มเผลิญกับปัญหาใหม่ซึ่งทวีความรุนแรงขึ้นทุกขณะ คือประเทศที่มิใช่คู่ศึกโดยตรง อันได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส ทั้งสองประเทศมีอินแดนในปกครองในจีนเช่นเดียวกัน และญี่ปุ่นต้องการดินแดนเลห่านั้น แม้ทั้งสองประเทศจะไม่สามารถยับยั้งญี่ปุ่นได้โดยตรง เนื่องจากอยุ่ในระหว่งการต่อสู้ในยุโรป แต่ญี่ปุ่นก็ไม่สามารถดำเนินการได้อย่างเต็มที่ เพราะทั้งอังกฤษและฝรั่งเศสยินยอมให้มีการใช้อาณานิคม โดยเฉพาะในพม่าและเวียดนาม เพื่อลำเลียงเสบียงสัมภาระ อาวุธยุทโธปกรณ์เข้าช่วยเหลือรัฐบาล เชียง ไค เชค ด้วยเหตุนี้จึงเป็นการบังคับในตัวให้ญี่ปุ่นต้องเคลื่อนทัพสู่ภาคใต้เข้าสู่ภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อตัดเส้นทางลำเลียง
สหรัฐอเมริกา เองไม่พอใจต่อการรุกรานจีนของญี่ปุ่น และไม่พอใจมากกับการที่ญี่ปุ่นรุกรานภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ สหรัฐแสดงความไม่พอใจออกมาอย่างชัดเจนมากกว่าประเทศมหาอำนาจตะวันตกซึ่งเป็นผู้ปกครองในภูมิภาคนี้ ประธานาธิบดีรูสเวลด์มีทีท่าต่อต้านการรุกรานของเยอรมันและญี่ปุ่นนั้น ทำให้นับแต่ปี 1940 เป็นต้นมา รัฐบาลของสหรัฐอเมริกาเรอ่มทุ่มเทความช่วยเลหืออย่างมากแก่รัฐบาลเชียง ไค เชค
สหรัฐอเมริกา ลอประมาณการซื่อขายสินค้ากับญี่ปุ่น ถึงกับทำให้ญี่ปุ่นต้องตัดสินใจว่าจะหยุดการรุกรานหรือไม่ เนื่องจากเศรษฐกิจญี่ปุ่นต้องย่อยยับ ถ้าขาดวัตถุดิบว฿งส่วนหใญ่นำเข้าจากสหรัฐฯ ซึ่งเป็นที่เข้าใจกันว่าถ้าจะให้คงการค้าขายต่อไป ญี่ปุ่นจะต้องยุติการรุกรานจีนในปัญหานี้ผุ้นำทางทหารของญี่ปุ่นถือว่าเป็นสิ่งที่ยอมรับไม่ได้ และมองว่าเป็นการดูหมิ่นศักดิ์ศรีของกองทัพแห่งองค์มหาจักรพรรดิ ทางออกของญี่ปุ่นก็คือต้องแสวงหาดินแดนอื่นที่อุดมสมบูรณ์โดยเฉพาะน้ำมันและยางพารา ในที่สุดก็มาตกที่ภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
WWII:Africa Settentrionale Italiana
แอฟริการเหนือของอิตาลี เป็นพื้นที่ซึ่งรวมอาณานิคมและดินแดนในความปกครองของราชอาณาจักรอิตาลีในทวีปแอฟริการเหนือ ตั้งแต่ ปี 1912 -ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประกองด้วยดินแดสองส่วนหลักคือตริโปลิเตเนียและไซเรไนกาตั้งแต่ ปี 1912-1934 หลังจากนั้จึงรวมกันเป็นอิตาเลียนลิเบีย ผู้ำเผด็จการมุสโสลินีเรียกดินแดนลิเบียในช่วงนั้นว่า "ชายฝั่งทั่งสี่ของอิตาลี"
นับแต่ปี 1940 อิตาลีพยายามพิชิตอียิปต์และตูนิเซียเพื่อขยายพื้นที่ของแอฟริกาเหนือของอิตาลีซึ่งฮิตเลอร์โกรธอย่างมากในการเริ่มสงครามในภูมิภาคนี้
ปฏิบัติการเข็มทิศ ของอังกฤษและอินเดียเริ่มโจมรีกองทัพอิตาลีในอียิปต์อิตาลีถูกบังคับให้ล่าถอยไปยงลิเบีย อิลตาลีในกรีซล่าถอยไปอัลเบเนีย ทหารกรีซเริ่มการโจมตีอัลเบเนีย กองทัพอังกฤษเริ่มทำการรบในลิเบีย ระหว่างสงครามอิตาลี -กรีซ ทหารกรีซยึดครองอับเบเนียได้หนึ่งในสี่ของดินแดนทั้งหมดอิตาลีเรียกร้องกำลังสนับสนุนจากเยอรมัน
ในเดือนกุมภาพันธ์นายพล เออร์วิน รอมเมล ได้รับการแต่างตั้งให้เป็นผุ้บัญชาการกองทัพเยอรมันในแอฟริกาเหนือ กองทัพของจอมพลเออร์วิน รอมเมลแห่งนาซี รุกคือในแอฟริกาเหนือจนประบความสำเร็จในนามอิตาลี อิตาลีจึงได้รับส่วนแบ่งสำคัญเป็นดินแดนด้านตะวันตกของอียิปต์ และตูนีเิซีย
ตุลาคม ปี 1940 อิตาลีบุกครองกรีซ แต่ภายในไม่กี่วันก็ถูกขับไล่และถูกตี ถอยเข้าไปในอัลแบเนีย และคุมเชิงกันอยู่ เดือนธันวาคม กองทัพเครือจักรภพอังกฤษตอบโต้กองทัพอตาลีในอียิปต์และดินแดนแอฟริกาตะวันออกของอิตาลี
ต้นปี 1941 กองทัพอิตาลีถูกผลักดันกลับไปยังลิเบียโดยกองทัพเครือจักรภพ เชอร์ชิลล์ออกคำสั่งให้ส่งกำลังจากแอฟริกาเข้าไปเสริมในกรีซ ซึ่งในขณะเดียวกันกองทัพเรืออิตาลีก็ประสบความปราชัยครั้งสำคัญ ในยุทธนาวีตารันโต
หลังฝรั่งเศสแพ้ทำให้อังกฤษต้องต่อสู้อย่างโดดเดี่ยวนอกจากจะต้องรับมือกองทัพเยอรมันในยุโรปแล้ว ยังต้องรับมือกับอิตาลีในเมติเอตร์เรเนียนอีก กองทัพอิตาลีนั้น แม้ว่าเป็นกองทัพเรืออันดับ 4 ของโลก แต่ก็เป็นกองทัพเรือที่ทรงอานุภาพที่สุดในภาคพื้นเมดิเตอเรเนียน สิ่งที่อังกฤษหวาดกลัวคือ อิตาลีหรือเยอรมันอาจจะยึดเรือรบของฝรั่งเศสที่พ่ายแพ้มาใช้ประโยชน์ จึงต้องเร่งไล่จับกุมหรือจมเรือฝรั่งเศสด้วย
การต่อเรือประจัญบานชั้นวิตตอรีโอของอิตาลี ทำให้สมดุลทางทหารในเมดิเตอเรเนียนของอิตาลีเทียบเท่ากับอังกฤษทันที่ อังกฤษ จึงส่งเครื่องบินทะเลเข้าทิ้งตอร์ปิโด กองเรืออิตาลีที่จอดในท่าเรือเมืองโตรอนโต อิตาลีสูญเสียกองเรือผิน้ำเป็นจำนวนมาก แม้กองเรืออิตาลีจะได้รับควมสูญเสีย แต่กองเรือิตาลีที่เกาชิชิลีและเนเปิลส์ยังเข้มแข็งดีอยู่ แม้ว่าอังกฤษจะส่งกองบินท้งตอร์ปิโดโจมตีอย่างหนักก็ตาม
ปลายเดือนมีนา 1941 กองทัพเรืออังกฤษจึงปะทะกัน ที่แหลมมะตะปัน ตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะครีสผลคือ อังกฤษเป็นฝ่ายชนะ ยุทธนาวีครั้งนี้ทำให้กองทัพเรืออิตาลีอ่อนลงทันที ปฏิบัติการผิวน้ำของอิตาลีลดลง เหลือแต่ปฏิบัติการเรือดำน้ำและเครื่องบินเท่านนั้นที่ยังโจมตีอย่างหนักอยู่
แต่อย่างไรก็ตาม การที่อังกฤษจะสงกำลังช่วยเหลือในแอฟริกาเหนือผ่านทะเลเมติดเตอร์เรเนียนก็เป็นไปด้วยความลำบากอยู่มาก หากจะส่งกำลังผ่านแหลมยิบรันต้าก็จะถูกโจมตีจากเยอรมันและอิตาลี หากจะให้ปลอดภัยต้องส่งอ้อมทางแหลมกู้ดโฮป แอฟริกาใต้ แต่ก็ต้องเสียเวลาเป็นอย่างมาก
เยอรมันและอิตาลีแทบจะควบคุมเส้นทางเดินเรือในเขตนี้ได้แต่จุดยุทธศาสตร์ คือเกายิปรัลต้า และเกามอลต้าซึ่งฝ่ายอักษะไม่ทำการยึดจากอังกฤษ อังกฤษจึงเป็นผู้ครอบครองเกาะทั้งสองที่จุดยุทธศาสตร์ในการรบในเมดิเตอร์เรเนียน กระทั่งปลายปี 1942
หลังจากกองทัพเรืออิตาลีได้รับความเสียหายจากยุทธการมะตะปันไม่นาน เยอรมันก็ยื่นมือเข้าช่วยอิตาลี ฮิตเลอร์ส่งกองทัพเข้าสู่ลิเบียฝ่ายอักษะทำการรุกหนักกองทัพของกลุ่มเครือจักรภพที่ลดจำนวนลงไป และภายในหนึ่งเดือนกองทัพเครือจักรภพก็ถูกตีถอยร่นกลับสู่อียิปต์ กองทัพเครือจักรภพพยายามจะขับไล่กองทัพอักษะ แต่ไม่สำเร็จ หลังจากบัลแกเรียเข้าร่วมกับฝ่ายอักษะกองทัพเยอรมันก็เข้าแทรกแซงในคาบสมุทรบอลข่าน โดยโจมตีกรีซและยูโกสลาเวียภายหลังรัฐประหารซึ่งก็ประสบความสำเร็อยางรวดเร็ว ในท้ายที่สุดกองทัพสัมพันธมิตรก็ต้องถอนกำลังออกไปหลังจากที่เยอรมันสามารถยึดเกาครีต
ยุทธการเกาะครีต เยอรมันส่งกองกำลังพลร่มเข้ารุกรานเกาครีตภายใต้ชื่อรหัส “ปฏิบัติการมอร์คิวรี” ฝ่ายตั้งรับที่อยู่บนเกาะครีตประกอบด้วยกองทัพกรซ กองกำลังของฝ่ายสัมพันธมิตร และพลเรือนชาวเกาะครีต หลังการสู้รบดำเนินไปไดหนึ่งวัน ฝ่ายเยอรมันต้องพบกับความสูญเสียอย่างหนักและยังไม่สามารถบรรลุเป้าหมายใดๆ ในวันถัดมาด้วยปัญหาการสูญเสียการติดต่อและความล้มเหลวในการควบคุมสถานการณ์ของฝ่ายสัมพันธมิตร สนามบินในเมือมาเส็ม จึงเสียให้แก่ฝ่ายเยอรมัน ทำให้เยอรมันได้รับกำลังเสริมและครองความเหนือกว่าฝ่ายที่ตั้งรับได้ การสู้รบได้ดำเนินต่อไปอีกเกือบ 10 วันจึงยุติลง
ยุทธการที่เกาะครีต สร้งประวัติการณ์ขึ้นใหม่ 3 ประการ คือ
- เป็นการรบครั้งแรกที่ใช้พลร่มเป็นกำลังรบหลัก
- เป็นการปฏิบัติการครั้งสำคัญครั้งแรกของฝ่ายสัมพันธมิตรในการใช้สายลับถอดรหัสลับเครื่องอีนิกมาของนาซีเยอรมัน
- และเป็นครั้งแรกของฝ่ายเยอรมันที่ได้ประสบการต่อต้านอย่างหนักจากประชาชพลเรือน ด้วยความเสียหายอย่างหนักที่กองกำลังพลร่มได้รับ ถึงกับว่าฮิตเลอร์สั่งยุติการปฏิบัติการขนาดใหญ่สำหรับกองกำลังพลร่ม..
นับแต่ปี 1940 อิตาลีพยายามพิชิตอียิปต์และตูนิเซียเพื่อขยายพื้นที่ของแอฟริกาเหนือของอิตาลีซึ่งฮิตเลอร์โกรธอย่างมากในการเริ่มสงครามในภูมิภาคนี้
ปฏิบัติการเข็มทิศ ของอังกฤษและอินเดียเริ่มโจมรีกองทัพอิตาลีในอียิปต์อิตาลีถูกบังคับให้ล่าถอยไปยงลิเบีย อิลตาลีในกรีซล่าถอยไปอัลเบเนีย ทหารกรีซเริ่มการโจมตีอัลเบเนีย กองทัพอังกฤษเริ่มทำการรบในลิเบีย ระหว่างสงครามอิตาลี -กรีซ ทหารกรีซยึดครองอับเบเนียได้หนึ่งในสี่ของดินแดนทั้งหมดอิตาลีเรียกร้องกำลังสนับสนุนจากเยอรมัน
ในเดือนกุมภาพันธ์นายพล เออร์วิน รอมเมล ได้รับการแต่างตั้งให้เป็นผุ้บัญชาการกองทัพเยอรมันในแอฟริกาเหนือ กองทัพของจอมพลเออร์วิน รอมเมลแห่งนาซี รุกคือในแอฟริกาเหนือจนประบความสำเร็จในนามอิตาลี อิตาลีจึงได้รับส่วนแบ่งสำคัญเป็นดินแดนด้านตะวันตกของอียิปต์ และตูนีเิซีย
ตุลาคม ปี 1940 อิตาลีบุกครองกรีซ แต่ภายในไม่กี่วันก็ถูกขับไล่และถูกตี ถอยเข้าไปในอัลแบเนีย และคุมเชิงกันอยู่ เดือนธันวาคม กองทัพเครือจักรภพอังกฤษตอบโต้กองทัพอตาลีในอียิปต์และดินแดนแอฟริกาตะวันออกของอิตาลี
ต้นปี 1941 กองทัพอิตาลีถูกผลักดันกลับไปยังลิเบียโดยกองทัพเครือจักรภพ เชอร์ชิลล์ออกคำสั่งให้ส่งกำลังจากแอฟริกาเข้าไปเสริมในกรีซ ซึ่งในขณะเดียวกันกองทัพเรืออิตาลีก็ประสบความปราชัยครั้งสำคัญ ในยุทธนาวีตารันโต
หลังฝรั่งเศสแพ้ทำให้อังกฤษต้องต่อสู้อย่างโดดเดี่ยวนอกจากจะต้องรับมือกองทัพเยอรมันในยุโรปแล้ว ยังต้องรับมือกับอิตาลีในเมติเอตร์เรเนียนอีก กองทัพอิตาลีนั้น แม้ว่าเป็นกองทัพเรืออันดับ 4 ของโลก แต่ก็เป็นกองทัพเรือที่ทรงอานุภาพที่สุดในภาคพื้นเมดิเตอเรเนียน สิ่งที่อังกฤษหวาดกลัวคือ อิตาลีหรือเยอรมันอาจจะยึดเรือรบของฝรั่งเศสที่พ่ายแพ้มาใช้ประโยชน์ จึงต้องเร่งไล่จับกุมหรือจมเรือฝรั่งเศสด้วย
การต่อเรือประจัญบานชั้นวิตตอรีโอของอิตาลี ทำให้สมดุลทางทหารในเมดิเตอเรเนียนของอิตาลีเทียบเท่ากับอังกฤษทันที่ อังกฤษ จึงส่งเครื่องบินทะเลเข้าทิ้งตอร์ปิโด กองเรืออิตาลีที่จอดในท่าเรือเมืองโตรอนโต อิตาลีสูญเสียกองเรือผิน้ำเป็นจำนวนมาก แม้กองเรืออิตาลีจะได้รับควมสูญเสีย แต่กองเรือิตาลีที่เกาชิชิลีและเนเปิลส์ยังเข้มแข็งดีอยู่ แม้ว่าอังกฤษจะส่งกองบินท้งตอร์ปิโดโจมตีอย่างหนักก็ตาม
ปลายเดือนมีนา 1941 กองทัพเรืออังกฤษจึงปะทะกัน ที่แหลมมะตะปัน ตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะครีสผลคือ อังกฤษเป็นฝ่ายชนะ ยุทธนาวีครั้งนี้ทำให้กองทัพเรืออิตาลีอ่อนลงทันที ปฏิบัติการผิวน้ำของอิตาลีลดลง เหลือแต่ปฏิบัติการเรือดำน้ำและเครื่องบินเท่านนั้นที่ยังโจมตีอย่างหนักอยู่
แต่อย่างไรก็ตาม การที่อังกฤษจะสงกำลังช่วยเหลือในแอฟริกาเหนือผ่านทะเลเมติดเตอร์เรเนียนก็เป็นไปด้วยความลำบากอยู่มาก หากจะส่งกำลังผ่านแหลมยิบรันต้าก็จะถูกโจมตีจากเยอรมันและอิตาลี หากจะให้ปลอดภัยต้องส่งอ้อมทางแหลมกู้ดโฮป แอฟริกาใต้ แต่ก็ต้องเสียเวลาเป็นอย่างมาก
เยอรมันและอิตาลีแทบจะควบคุมเส้นทางเดินเรือในเขตนี้ได้แต่จุดยุทธศาสตร์ คือเกายิปรัลต้า และเกามอลต้าซึ่งฝ่ายอักษะไม่ทำการยึดจากอังกฤษ อังกฤษจึงเป็นผู้ครอบครองเกาะทั้งสองที่จุดยุทธศาสตร์ในการรบในเมดิเตอร์เรเนียน กระทั่งปลายปี 1942
หลังจากกองทัพเรืออิตาลีได้รับความเสียหายจากยุทธการมะตะปันไม่นาน เยอรมันก็ยื่นมือเข้าช่วยอิตาลี ฮิตเลอร์ส่งกองทัพเข้าสู่ลิเบียฝ่ายอักษะทำการรุกหนักกองทัพของกลุ่มเครือจักรภพที่ลดจำนวนลงไป และภายในหนึ่งเดือนกองทัพเครือจักรภพก็ถูกตีถอยร่นกลับสู่อียิปต์ กองทัพเครือจักรภพพยายามจะขับไล่กองทัพอักษะ แต่ไม่สำเร็จ หลังจากบัลแกเรียเข้าร่วมกับฝ่ายอักษะกองทัพเยอรมันก็เข้าแทรกแซงในคาบสมุทรบอลข่าน โดยโจมตีกรีซและยูโกสลาเวียภายหลังรัฐประหารซึ่งก็ประสบความสำเร็อยางรวดเร็ว ในท้ายที่สุดกองทัพสัมพันธมิตรก็ต้องถอนกำลังออกไปหลังจากที่เยอรมันสามารถยึดเกาครีต
ยุทธการเกาะครีต เยอรมันส่งกองกำลังพลร่มเข้ารุกรานเกาครีตภายใต้ชื่อรหัส “ปฏิบัติการมอร์คิวรี” ฝ่ายตั้งรับที่อยู่บนเกาะครีตประกอบด้วยกองทัพกรซ กองกำลังของฝ่ายสัมพันธมิตร และพลเรือนชาวเกาะครีต หลังการสู้รบดำเนินไปไดหนึ่งวัน ฝ่ายเยอรมันต้องพบกับความสูญเสียอย่างหนักและยังไม่สามารถบรรลุเป้าหมายใดๆ ในวันถัดมาด้วยปัญหาการสูญเสียการติดต่อและความล้มเหลวในการควบคุมสถานการณ์ของฝ่ายสัมพันธมิตร สนามบินในเมือมาเส็ม จึงเสียให้แก่ฝ่ายเยอรมัน ทำให้เยอรมันได้รับกำลังเสริมและครองความเหนือกว่าฝ่ายที่ตั้งรับได้ การสู้รบได้ดำเนินต่อไปอีกเกือบ 10 วันจึงยุติลง
ยุทธการที่เกาะครีต สร้งประวัติการณ์ขึ้นใหม่ 3 ประการ คือ
- เป็นการรบครั้งแรกที่ใช้พลร่มเป็นกำลังรบหลัก
- เป็นการปฏิบัติการครั้งสำคัญครั้งแรกของฝ่ายสัมพันธมิตรในการใช้สายลับถอดรหัสลับเครื่องอีนิกมาของนาซีเยอรมัน
- และเป็นครั้งแรกของฝ่ายเยอรมันที่ได้ประสบการต่อต้านอย่างหนักจากประชาชพลเรือน ด้วยความเสียหายอย่างหนักที่กองกำลังพลร่มได้รับ ถึงกับว่าฮิตเลอร์สั่งยุติการปฏิบัติการขนาดใหญ่สำหรับกองกำลังพลร่ม..
วันพฤหัสบดีที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2556
WWII: Neutrality
ช่วงระยะเวลาในปี 1933-1945 ประธานาธิปดีแฟรงคลิน เดลาโน รูสเวลท์ Frankling Delano Rooseevelt เป็นประธานาธิบดีลำดับที่ 32 ของสหรัฐอเมริกา จากพรรคเดโมเครติก รูสเวลท์ได้รับเลือเป็นประธานาธิบดี 4 สมัย แปดปีแรก รองประธานาธิบดี คือ จอห์น เอ็น. การ์เนอร์ John N. Garner ในสมัยที่สาม รองประธานาธิบดี คือ เฮนรี เอ.วอร์เลส Henry A.Wallace ในสมัยที่สี่ รองประธานาธิปดีคือ ฮาร์รี เอส.ทรูแมน Harry S. Truman รูสเวลส์เสียชีวิตต้นสมัยที่สี่ในวันที่ 12 เมษายน 1945 ด้วยโรคเส้นโลหิตในสมองแตก เป็นผลให้ฮาร์รี เอส. ทรูแมน รองประธานาธิบดีก้าวขึ้นเป็นประธานาธิบดีลำดับที่ 33 ของสหรัฐอเมริกา รูสเวลส์เป็นประธานาธิบดีคนสุดท้ายที่ทำพิธีสาบานตนเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีในวันที่ 4 มีนาคม
ในปี 1933 รูสเวลท์ เข้าบริหารประเทศท่ามกลางบรรยากาศสงครามโลกครั้งที่ 2 เหตุการณ์ที่มีิอิทธิพลอย่างมากในการกำหนดนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา คือ
ภาวะเศรษฐกิจตกตำ่ หลังสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 1 ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ปรากฎรุนแรงเด่นชัดในปี 1929 เป็นผลให้รัฐบาลสหรัฐอเมริกาปิดกั้นการค้าทั้งสินค้าเกษตรกรรมและสินค้าอุตสาหกรรมกับประเทศทังหลายด้วยกฏหมายเพื่อภาษีนำเข้า เป็นเหตุให้การค้าของสหรัฐอเมริการหยุดชงัก ประเทศลูกหนี้ไม่อาจจ่ายหนี้คืนแก่สหรัฐอเมริกาได้ ด้วยเหตุผลดังกล่าวรูสเวลท์จึงเปิดการค้ากับประเทศคู่ค้าโดยการลำภาษีนำเข้า
และคือการปรากฎของระบบเผด็จการทั้งในเอเชียและยุโรป ผู้ชื่อชอบลัทธิทหาร ญี่ปุ่น ในเอเชีย อดอฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำแห่งพรรคนาซี เบนิโต มุสโสลินี ผุ้นำพรรคฟาสซิส และ โจเซฟ สตาลิน ผุ้นำเผด็จกาคอมมิวนิสต์ จากการปรากฎตัวของผู้นำเผด็จการทั้ง 4 รุสเวลท์ เห็นว่าควรต้องเตรียมพร้อมด้านกองกำลังและอาวุธเพื่อป้องกันการรุกรานใดๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น
สหรัฐอเมริกาวางเฉยและไม่เข้าร่วมแก้ไขปัญหาขณะชาติผู้ก้าวร้าวปฏิบัติการ สหรัฐอเมริกาภายใต้การนำของประธานาธิบดี รูสเวลท์ วางเฉยไม่เขาร่วมระบับเหตุกาณ์หรือร่วมแก้ไขปัญหาแต่อย่างใด เพราะสาเหตุ 5 ประการ
- เชื่อในพรมแดนธรรมชาติที่ดีเยี่ยมเปรียบเสมือนเป็นกำแพงสกัดกั้นการรุกรานใด ๆ
- คนอเมริกันส่วนใหญ่คิว่าสงครามไม่ดีเพราะสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 1 แล้วแทนที่จะมีความสงบสุข สิ่งที่ปรากฎคือคงเกิดกรณีพิพาททางการค้าด้วยกำแพงภาษีนำเข้าที่สูง ไม่สามารถลดอาวุธและกองกำลังทหารระหว่างกันได้ และเกิดระบบเผด็จการรวบอำนาจ
- ความล้มเหลวของสันนิบาติชาติ
- สหรัฐอเมริกไม่ควรยุ่งเกี่ยวกับคู่กรณีพิพาททั้งทางการค้าและการเงิน เพราะจะฉุดให้สหรัฐอเมริกาต้องเข้าร่วมในสงครามเช่นต้องเข้าร่วมในสงครามโลกครังที่ 1
- และคนอเมริกันกลุ่มที่ยึดมั่นในนโยบายโดดเดี่ยว คือต้องการให้รัฐบาลกลางสนใจในกิจการและปัญหาภายในประเทศ แยกสหรัฐอเมริกาออกจากการเข้ายุ่งเกี่ยวในปัญหาโลกมีจำนวนมากกว่ากลุ่มคนอเมริกันที่ต้องการให้รัฐบาลกลางสนใจเหตุกาณภายนอกและนำสหรัฐอเมริกาเข้าแทรกแซงรวมแก้ไขปัญหาโลก
ญี่ปุ่นยืนยันการเสริมสร้างแสนยานุภาพกองทัพเรือให้ทัดเทียมมีประสิทธิภาพเช่นสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ ด้วยการปรกกาศถอนญี่ปุ่นออกจากการร่วมลงนามในสนธิสัญญาลดอาวุธที่วอชิงตันต้นปี 1922 กำหนดและควบคุมแสนยานุภาพกองทัพเรือให้ญี่ปุ่นมีฐานะเป็นรองสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ รวมทั้งการคงอยุ่ของนโยบายเปิดประตูในดินแดนจีน ตลอดจนประกาศถอนญี่ปุ่นออกจากการร่วมลงนามในขอตกลงควบคุมแสนยานุภาพกองทัพเรือที่กรุงลอนดอนปี 1930 กำหนดให้ญี่ปุ่นคงมีฐานะการถือครองเรือลาดตระเวนเป็นรองสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ
สหรัฐอเมริกาแสดงท่าที่ยึดมั่นในนโยบายโดดเดี่ยวแยกสหรัฐอเมริกาออกจากการเข้ายุ่งเกี่ยวในปัญหาโลกเริ่มด้วยรัฐสภา ผ่านกฎหมายละเลยหนี้สิน กำหนดห้ามรัฐบาลและนายทุนอเมริกันให้ประเทศที่เพิกเฉยละเลยการจ่าหนี้สินคืนแก่สหรัฐอเมริกาได้กู้ยืมเงินอีก (หนีสินครั้งสงครามโลกครั้งที่ 1 ประเทศลูกหนี้ส่วนใหญไม่จ่ายคืนแก่สหรัฐ แต่มีเงินซื้ออาวุธเก็บสะสม)
วุฒิสภาปฏิเสธการนำสหรัฐอเมริกาเข้าเป็นสมาชิกศาลโลก สืบเนื่องจากการรุกรานเอธิโอเปียโดยอิตาลี
อเมริกาผ่านกฎหมายวางตัวเป็นกลาง กำหนดให้อำนาจประธานาธิบดีสั่งห้ามเรืออเมริกันขนอาวุธให้แก่ชาติใดๆ และห้ามคนอเมริกันโดยสารเรือชาติคู่กรณี (เกรงจะเกิดเหตุเช่น กรณีเรือลูซิตา)
จากสงครามกลางเมือในสเปนและท่าที่ที่ก้าวร้าวของเอยรมันและญี่ปุ่นรัฐสภา่ผ่านกฏหมายวางตนเป็นกลางอีก 2 ฉบับ กำหนดห้ามให้การกู้ยืมเงินหรือสินเชื่อใด ๆ แก่ชาติผุ้ก้าวร้าว และฝ่านร่างกฎหมายวางตนเป็นกลางปี 1937 กำหนดให้อำนาจประธานาธิบดขายสินค้าที่ไม่ใช่อาวุธยุทธปัจจัยแก่ทุกชาติ ในรูปของการจ่ายเงินสด และขนส่งเอง
ด้วยกฎหมายวางตนเป็นกลางทั้งสามฉบับ สหรับอเมริกามุ่งนำสหรัฐออกจากการเข้าร่วมในสงคราม ยอมรับการหมดสิ้นเสรีภาพเดินเรือในทะเลหลวงเพื่อการค้าและจำกัดสิทธิคนอเมริกันในการเดินทางทางเรือด้วยเกรงอันตราย รวมถึงจำกัดสิทธิทางการค้าของธุรกิจอเมริกันกับประเทศคู่กรณี
อเมริกาติดตามเหตุการณ์ความก้าวร้าวต่าง ๆ อย่างใกล้ชิดโดยตลอด ในทางปฏิบัติ ประธานาธิบดีรูสเวลท์กล่าวในรัฐสภาชี้ถงการก้าวร้าวของชาติผุ้ก้าวร้าว จำเป็นที่สหรัฐอเมริกาต้องเตรียมพร้อมด้านกองกำลังปละอาวุธเพื่อป้องกันประเทศ ขณะเดียวกันต้องแสดงหาแนวทางสร้างสันติภาพ รัฐสภาสนองตอบคำเรียกร้องของประธานาธิบดีรูสเวลท์ด้วยการจัดสรรเงินงบลประมาณพิเศษเพื่อการเสริมสร้างกองกำลังและแสนยานุภาพกองทัพเรือในน่านน้ำมหาสมุทรแปซิฟิกและแอตแลนติก นอกจากนี้รูสเวลท์ยังส่งสาส์นเป็นการส่วนตัวถึงฮิตเลอร์และมุสโสลินี เรียกร้องให้ยุติกรณีพิพาทด้วยข้อตกลงและความร่วมมือกันแทนการใช้กองกำลังทหาร สองผุ้นำประเทศไม่ให้ความสนใจเพราะมองว่าสหรัฐอเมริกายึดมั่นในนโยบายโดดเดี่ยว
ท่าที่ของสหรัฐต่อเหตุการการรุกรานโปแลนด์ ของเยอรมันและการรุกรานฟินน์แลนด์ของรุสเซียประธานาธิบดี รูสเวลท์ได้เสนอของบประมาณพิเศษรวมทั้งสิ้น1845 ล้าน รัฐสภาฝ่านงบประมาณพิเศษสนองคำเรียร้องของประธานาธิบดีรูสเวลท์ เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดขึ้นประธานาธิบดีรูสเวลท์ประกาศทางวิทยุว่าสหรัฐอเมริกาคงยคดมั่นในยโยบายวางตนเป็นกลาง
ประธานาธิบดีรูสเวลท์เห็นควรทบทวนกฎหมายวางตนเป็นกลางปี 1937 ซึ่งกำหนดให้อำนาจประธานาธิบดีขายสินค้าที่ไม่ใช้ยุทธปัจจัยแก่ทุกชาิตในรูปของการจ่ายเงินสดและบรรทุกเอง ประธานาธิบดีรูสเวล?์ต้องการให้มีการขายอาวุธและยุทธปัจจัยแก่อังกฤษและฝรั่งเศสเพื่อใช้ต้านความก้าวร้าวของเยอรมันและิดตาลี เป็นผลให้ในวันที่ 2 พฤศจิกายน 1939 รัฐสภาประกาศยกเลิกกฎหมายวางตนเป็นกลาง และฝ่ายกฏหมายวางตนเป็นกลางปี 1939 กำหนดให้อำนาจประธานาธิบดีสั่งขายอาวุธและยุทธปัจจัยแก่ทุกชาติในรูปขายเงินสดและขนส่งเอง ปรธานาธิบดีรูสเวลท์มั่นใจว่าชาติผู้ก้าวร้าวสะสมอาวุธแลยุทธปัจจัยไว้มากเพียงพอแล้วและจะไม่ซื้ออาวุทธยุทธปัจจัยจากสหรัฐอเมริกา ด้วยกฏหมายวางตนเป็นกลางปี 1939 อังกฤษนำการสั่งซื้ออาวุธและยุทธปัจจัยจากสหรัฐอเมริกามีอัตราครึ่งหนึ่งของอาวุธยุทธปัจจัยที่ส่งออก
Battle of Britain อังกฤษสามารถหยุดปฏิบัตการโจมตีอังกฤษของเยอรมันได้ชั่วคราว โดยจะเริ่มโจมตีอังกฤษครั้งใหม่ในต้นปี 1941
กองกำลังทางอากาศของอังกฤษปฏิบติการอย่างเต็มความสามารถโดยเฉพาะอย่างยิ่งรักษาช่องแคบอังกฤษจากการที่อาจถูกกองกำลังเยอรมันยึครองหรือใ้เป็นทางเข้าสู่หมาู่เกาะอังกฤษและในวันที่ 3 กันยายน 1940 สหรัฐอเมริกาจัดส่งเรือพิฆาต 50 ลำร่วมในกองกำลังทัพเรืออังกฤษต้านการบุกโจมตีของกองกำลังเยอรมัน อังกฤษตอบแทนด้วยการให้สิทธิสหรัฐอเมริกาเช่าพื้นที่ในเขตยึดครองของอังกฤษมีระยะเวลา 99 ปี ซึ่งล้วนเป็นหมู่เกาะในทะเลแคริเบียน และบิทิชกิอานา ในอเมริกาใต้ เพื่อตั้งฐานทัพเรือและฐานทัพอากาศ ในวันที่ 27 กันยายน 1940 ญี่ปุ่นลงนาให้ความช่วยเลหืด้านอาวุธยุทธปัจจัยแก่เยอรมันและอิตาลีทั้งให้สัญญาว่าจะบุกโจมตีสหรัฐอเมริกา ถ้าสหรัฐอเมริกาเข้ายุ่งเกียวในสงครามทางยุโรป
ในปี 1933 รูสเวลท์ เข้าบริหารประเทศท่ามกลางบรรยากาศสงครามโลกครั้งที่ 2 เหตุการณ์ที่มีิอิทธิพลอย่างมากในการกำหนดนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา คือ
ภาวะเศรษฐกิจตกตำ่ หลังสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 1 ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ปรากฎรุนแรงเด่นชัดในปี 1929 เป็นผลให้รัฐบาลสหรัฐอเมริกาปิดกั้นการค้าทั้งสินค้าเกษตรกรรมและสินค้าอุตสาหกรรมกับประเทศทังหลายด้วยกฏหมายเพื่อภาษีนำเข้า เป็นเหตุให้การค้าของสหรัฐอเมริการหยุดชงัก ประเทศลูกหนี้ไม่อาจจ่ายหนี้คืนแก่สหรัฐอเมริกาได้ ด้วยเหตุผลดังกล่าวรูสเวลท์จึงเปิดการค้ากับประเทศคู่ค้าโดยการลำภาษีนำเข้า
และคือการปรากฎของระบบเผด็จการทั้งในเอเชียและยุโรป ผู้ชื่อชอบลัทธิทหาร ญี่ปุ่น ในเอเชีย อดอฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำแห่งพรรคนาซี เบนิโต มุสโสลินี ผุ้นำพรรคฟาสซิส และ โจเซฟ สตาลิน ผุ้นำเผด็จกาคอมมิวนิสต์ จากการปรากฎตัวของผู้นำเผด็จการทั้ง 4 รุสเวลท์ เห็นว่าควรต้องเตรียมพร้อมด้านกองกำลังและอาวุธเพื่อป้องกันการรุกรานใดๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น
สหรัฐอเมริกาวางเฉยและไม่เข้าร่วมแก้ไขปัญหาขณะชาติผู้ก้าวร้าวปฏิบัติการ สหรัฐอเมริกาภายใต้การนำของประธานาธิบดี รูสเวลท์ วางเฉยไม่เขาร่วมระบับเหตุกาณ์หรือร่วมแก้ไขปัญหาแต่อย่างใด เพราะสาเหตุ 5 ประการ
- เชื่อในพรมแดนธรรมชาติที่ดีเยี่ยมเปรียบเสมือนเป็นกำแพงสกัดกั้นการรุกรานใด ๆ
- คนอเมริกันส่วนใหญ่คิว่าสงครามไม่ดีเพราะสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 1 แล้วแทนที่จะมีความสงบสุข สิ่งที่ปรากฎคือคงเกิดกรณีพิพาททางการค้าด้วยกำแพงภาษีนำเข้าที่สูง ไม่สามารถลดอาวุธและกองกำลังทหารระหว่างกันได้ และเกิดระบบเผด็จการรวบอำนาจ
- ความล้มเหลวของสันนิบาติชาติ
- สหรัฐอเมริกไม่ควรยุ่งเกี่ยวกับคู่กรณีพิพาททั้งทางการค้าและการเงิน เพราะจะฉุดให้สหรัฐอเมริกาต้องเข้าร่วมในสงครามเช่นต้องเข้าร่วมในสงครามโลกครังที่ 1
- และคนอเมริกันกลุ่มที่ยึดมั่นในนโยบายโดดเดี่ยว คือต้องการให้รัฐบาลกลางสนใจในกิจการและปัญหาภายในประเทศ แยกสหรัฐอเมริกาออกจากการเข้ายุ่งเกี่ยวในปัญหาโลกมีจำนวนมากกว่ากลุ่มคนอเมริกันที่ต้องการให้รัฐบาลกลางสนใจเหตุกาณภายนอกและนำสหรัฐอเมริกาเข้าแทรกแซงรวมแก้ไขปัญหาโลก
ญี่ปุ่นยืนยันการเสริมสร้างแสนยานุภาพกองทัพเรือให้ทัดเทียมมีประสิทธิภาพเช่นสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ ด้วยการปรกกาศถอนญี่ปุ่นออกจากการร่วมลงนามในสนธิสัญญาลดอาวุธที่วอชิงตันต้นปี 1922 กำหนดและควบคุมแสนยานุภาพกองทัพเรือให้ญี่ปุ่นมีฐานะเป็นรองสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ รวมทั้งการคงอยุ่ของนโยบายเปิดประตูในดินแดนจีน ตลอดจนประกาศถอนญี่ปุ่นออกจากการร่วมลงนามในขอตกลงควบคุมแสนยานุภาพกองทัพเรือที่กรุงลอนดอนปี 1930 กำหนดให้ญี่ปุ่นคงมีฐานะการถือครองเรือลาดตระเวนเป็นรองสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ
สหรัฐอเมริกาแสดงท่าที่ยึดมั่นในนโยบายโดดเดี่ยวแยกสหรัฐอเมริกาออกจากการเข้ายุ่งเกี่ยวในปัญหาโลกเริ่มด้วยรัฐสภา ผ่านกฎหมายละเลยหนี้สิน กำหนดห้ามรัฐบาลและนายทุนอเมริกันให้ประเทศที่เพิกเฉยละเลยการจ่าหนี้สินคืนแก่สหรัฐอเมริกาได้กู้ยืมเงินอีก (หนีสินครั้งสงครามโลกครั้งที่ 1 ประเทศลูกหนี้ส่วนใหญไม่จ่ายคืนแก่สหรัฐ แต่มีเงินซื้ออาวุธเก็บสะสม)
วุฒิสภาปฏิเสธการนำสหรัฐอเมริกาเข้าเป็นสมาชิกศาลโลก สืบเนื่องจากการรุกรานเอธิโอเปียโดยอิตาลี
อเมริกาผ่านกฎหมายวางตัวเป็นกลาง กำหนดให้อำนาจประธานาธิบดีสั่งห้ามเรืออเมริกันขนอาวุธให้แก่ชาติใดๆ และห้ามคนอเมริกันโดยสารเรือชาติคู่กรณี (เกรงจะเกิดเหตุเช่น กรณีเรือลูซิตา)
จากสงครามกลางเมือในสเปนและท่าที่ที่ก้าวร้าวของเอยรมันและญี่ปุ่นรัฐสภา่ผ่านกฏหมายวางตนเป็นกลางอีก 2 ฉบับ กำหนดห้ามให้การกู้ยืมเงินหรือสินเชื่อใด ๆ แก่ชาติผุ้ก้าวร้าว และฝ่านร่างกฎหมายวางตนเป็นกลางปี 1937 กำหนดให้อำนาจประธานาธิบดขายสินค้าที่ไม่ใช่อาวุธยุทธปัจจัยแก่ทุกชาติ ในรูปของการจ่ายเงินสด และขนส่งเอง
ด้วยกฎหมายวางตนเป็นกลางทั้งสามฉบับ สหรับอเมริกามุ่งนำสหรัฐออกจากการเข้าร่วมในสงคราม ยอมรับการหมดสิ้นเสรีภาพเดินเรือในทะเลหลวงเพื่อการค้าและจำกัดสิทธิคนอเมริกันในการเดินทางทางเรือด้วยเกรงอันตราย รวมถึงจำกัดสิทธิทางการค้าของธุรกิจอเมริกันกับประเทศคู่กรณี
อเมริกาติดตามเหตุการณ์ความก้าวร้าวต่าง ๆ อย่างใกล้ชิดโดยตลอด ในทางปฏิบัติ ประธานาธิบดีรูสเวลท์กล่าวในรัฐสภาชี้ถงการก้าวร้าวของชาติผุ้ก้าวร้าว จำเป็นที่สหรัฐอเมริกาต้องเตรียมพร้อมด้านกองกำลังปละอาวุธเพื่อป้องกันประเทศ ขณะเดียวกันต้องแสดงหาแนวทางสร้างสันติภาพ รัฐสภาสนองตอบคำเรียกร้องของประธานาธิบดีรูสเวลท์ด้วยการจัดสรรเงินงบลประมาณพิเศษเพื่อการเสริมสร้างกองกำลังและแสนยานุภาพกองทัพเรือในน่านน้ำมหาสมุทรแปซิฟิกและแอตแลนติก นอกจากนี้รูสเวลท์ยังส่งสาส์นเป็นการส่วนตัวถึงฮิตเลอร์และมุสโสลินี เรียกร้องให้ยุติกรณีพิพาทด้วยข้อตกลงและความร่วมมือกันแทนการใช้กองกำลังทหาร สองผุ้นำประเทศไม่ให้ความสนใจเพราะมองว่าสหรัฐอเมริกายึดมั่นในนโยบายโดดเดี่ยว
ท่าที่ของสหรัฐต่อเหตุการการรุกรานโปแลนด์ ของเยอรมันและการรุกรานฟินน์แลนด์ของรุสเซียประธานาธิบดี รูสเวลท์ได้เสนอของบประมาณพิเศษรวมทั้งสิ้น1845 ล้าน รัฐสภาฝ่านงบประมาณพิเศษสนองคำเรียร้องของประธานาธิบดีรูสเวลท์ เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดขึ้นประธานาธิบดีรูสเวลท์ประกาศทางวิทยุว่าสหรัฐอเมริกาคงยคดมั่นในยโยบายวางตนเป็นกลาง
ประธานาธิบดีรูสเวลท์เห็นควรทบทวนกฎหมายวางตนเป็นกลางปี 1937 ซึ่งกำหนดให้อำนาจประธานาธิบดีขายสินค้าที่ไม่ใช้ยุทธปัจจัยแก่ทุกชาิตในรูปของการจ่ายเงินสดและบรรทุกเอง ประธานาธิบดีรูสเวล?์ต้องการให้มีการขายอาวุธและยุทธปัจจัยแก่อังกฤษและฝรั่งเศสเพื่อใช้ต้านความก้าวร้าวของเยอรมันและิดตาลี เป็นผลให้ในวันที่ 2 พฤศจิกายน 1939 รัฐสภาประกาศยกเลิกกฎหมายวางตนเป็นกลาง และฝ่ายกฏหมายวางตนเป็นกลางปี 1939 กำหนดให้อำนาจประธานาธิบดีสั่งขายอาวุธและยุทธปัจจัยแก่ทุกชาติในรูปขายเงินสดและขนส่งเอง ปรธานาธิบดีรูสเวลท์มั่นใจว่าชาติผู้ก้าวร้าวสะสมอาวุธแลยุทธปัจจัยไว้มากเพียงพอแล้วและจะไม่ซื้ออาวุทธยุทธปัจจัยจากสหรัฐอเมริกา ด้วยกฏหมายวางตนเป็นกลางปี 1939 อังกฤษนำการสั่งซื้ออาวุธและยุทธปัจจัยจากสหรัฐอเมริกามีอัตราครึ่งหนึ่งของอาวุธยุทธปัจจัยที่ส่งออก
Battle of Britain อังกฤษสามารถหยุดปฏิบัตการโจมตีอังกฤษของเยอรมันได้ชั่วคราว โดยจะเริ่มโจมตีอังกฤษครั้งใหม่ในต้นปี 1941
กองกำลังทางอากาศของอังกฤษปฏิบติการอย่างเต็มความสามารถโดยเฉพาะอย่างยิ่งรักษาช่องแคบอังกฤษจากการที่อาจถูกกองกำลังเยอรมันยึครองหรือใ้เป็นทางเข้าสู่หมาู่เกาะอังกฤษและในวันที่ 3 กันยายน 1940 สหรัฐอเมริกาจัดส่งเรือพิฆาต 50 ลำร่วมในกองกำลังทัพเรืออังกฤษต้านการบุกโจมตีของกองกำลังเยอรมัน อังกฤษตอบแทนด้วยการให้สิทธิสหรัฐอเมริกาเช่าพื้นที่ในเขตยึดครองของอังกฤษมีระยะเวลา 99 ปี ซึ่งล้วนเป็นหมู่เกาะในทะเลแคริเบียน และบิทิชกิอานา ในอเมริกาใต้ เพื่อตั้งฐานทัพเรือและฐานทัพอากาศ ในวันที่ 27 กันยายน 1940 ญี่ปุ่นลงนาให้ความช่วยเลหืด้านอาวุธยุทธปัจจัยแก่เยอรมันและอิตาลีทั้งให้สัญญาว่าจะบุกโจมตีสหรัฐอเมริกา ถ้าสหรัฐอเมริกาเข้ายุ่งเกียวในสงครามทางยุโรป
วันพุธที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2556
WWII:Battle of Britain
Directive No.16 คำสั่งที่ 16 ให้เตรียมการบุกเกาะอังกฤษโดยใช้กำลังกองทัพอากาศเป็นหลักในการปฏิบัติการรบ โดยมีนายพล แฮร์มันน์ เกอริง Hermann Goring เป็นผู้บัญชาการ ฮิตเลอร์เชื่อมั่นในขีดความสามารถของกองทัพอากาศว่าเหนือประเทศอื่น โดยเฉพาะอังกฤษ ในคำสั่งจึงระบุอย่างชัดเจนว่ในการบุกเกาะอังกฤษให้กองกำลังทางอากาศเยรอมันจู่โจมเกาะอังกฤษแบบสายฟ้าแลบเพื่อไม่ให้อังกฤษมีโอกาสตอบโต้ได้ทันทั้งทางอากาศ ทางทะเล และทางบก โดยเฉพาะตามแนวชายฝั่งทะเลทั้งหมด โดยหวังว่าจะสามารถบีบให้อังกฤษยอมจำนน โดยไม่ต้องใช้ยุทธวิธีทางบกหรือทางทะเลเข้าช่วย
ยุทธการเกาะอังกฤษแบ่งเป็น 5 ระยะ
- Channel Battle ยุทธการที่ช่องแคบอังกฤษ ระหว่างเดือนกำกฏา-ต้นเดือนสิหาคม
- Operation Eagle ยุทธการช่องแคบอังกฤษอินทรี ระหว่างวันที่ 13-18สิงหาคม
- Luftwaffe's Switch ระยะเปลี่ยนแผนของกองทัพอากาศเยอรมัน ระหว่างวันที่ 19สิงหาคม -6กันยายน
- Battle of London ระหว่างวันที่ 7-30 กันยายน
- ระยะที่ห้า ระหว่างเดือนตุลาคม-กลางเดือนพฤศจิกายน
Channel Battleในยุทธการช่องแคบอังกฤษ เริ่มประปรายตั้งแต่วันที่ 10 กรกฏา ก่อนคำสั่งหมายเลข 16 จะออกมาในวันที่ 16 กรกฎาคม เนืองจากเยอรมันที่ปฏิบัติการรบอยู่ในเขตยุโรปตะวันตกอยู่ก่อนแล้วส่งเครื่องบินท้ิงระเบิด 20-30 ลำ ซุ่มโจมตีและทิ้งละเบิดหวังจะตัดกำลังฝ่ายอังกฤษเมื่อคำสั่งที่ 16 ออกมาปฏิบัติการจึงขยายขอบเขตไปถึงปากแม่นำ้เทมส์ใกล้กรุงลอนดอน สิ้นเดือนกรกฎาคม ปรากฎว่าเยอรมันสูญเสียเครื่องบินรบทั้งสิ้น 180 ลำ ในจำนวนนี้เครื่องบินทิ้งระเบิด 100 ลำ ในขณะที่อังดฤษเสูญเสียเครื่่องบินขับไล่จำนวน 70 ลำ
ฮิตเลอร์ไม่พอใจผลการปฏิบัติการของกองทัพอากาศเยอรมันเป็ฯอย่างมาก ในวันที่ 1 สิงหาคม จึงออกคำสั่งที่ 17 Directive No.17 เร่งรัดกองทัพอากาศเยอรมันทำลายทุกสิ่งทุกอย่างที่จะเอื้อต่อการปฏิบัติการของอังกฤษให้ได้โดยเร็วที่สุด
Operation Eagle ฝ่ายปฏิบัติการ คือนายพลเทโอดอร์ ออสเทอร์คัมพ์ Theodore Osterkamp และผู้ใต้บังคับบัญชาที่ฝ่านการรบในยุทธการที่ช่องแคบมาแล้ว มองเห้นว่าโอกาสที่เยอรันจะเอาชนะอังกฤษอย่างรวดเร็วนั้น คงเป็นไปไม่ได้ง่ายนัก โดยเขาได้แสดงความเห็นไว้ในการประชุมวางแผนการรบทีกรุงเฮกว่า ขณะที่ทิ้งระเบิดบริเวณรอบๆ กรุงลอนดอน เขาได้เห็นเครื่องยินขับไล่ของอังกฤษแต่ละครั้ง 500-700 ลำ และเมือสิ้นสุดยุทธการที่ช่องแคบ ก็เห็นว่าอังกฤษเพิ่มทั้งจำนวนและสมรรถนะของเครื่องบินเหล่านั้นขึ้นอีกมาก .. แต่นายพล แฮร์มัน เกอริงไม่รับฟังและยืนยันให้ปฏิบัติการตามแผนทในวันที่ 7
สิงหาคม ปฏิบัติการครั้งนี้เลื่อนออกไปเป็นวันที่ 13 สิงหาคม เนื่องจากสภาพดินฟ้าอากาศ ความสูญเสียมีมากด้วยกันทั้งสองฝ่ายโดยที่เยอรมันสูญเสียหนักกว่า นายพล แฮร์มัน เกอริง ตัดสินใจปรับแผนครั้งใหญ่
Luftwaffe's Switch การเปลี่ยนแผนการรบและการเปลี่ยนตัวผุ้บังคับการในแนวหน้าซึ่งมีผลให้ปฏิบัติการโจมตีเกาะอังกฤษทวีความรุนแรงและก่อให้เกิดผลเสียหายอย่างหนักแก่อังกฤษยิ่งขึ้น เป้าหมายหลักคือ แหล่งอุสาหกรรมหนักและโรงงานผลิตเครื่องบินและอาวุธยุทโธปกรณ์ การบุกทิ้งระเบิดสถานที่
สำคัญตามเป้าหมายกระทำอย่างต่อเนื่องและรุนแรง การปฏิบัติการบางครั้งมีการทิ้งระเบิดติดต่อกันเป็นชุด ถึง 6 ครั้งภายในเวลา 3 วัน อังกฤษไม่ยอมจำนน Raf. กองทัพอากาศอังกฤษ ปฏิบัติกาต่อสู้ป้องกันเมืองใหญ่ๆ ที่มีความสำคัญในแต่ละพื้นที่ไว้ได้โดยเฉพาะกรุงลอนดอน แม้อังกฤษจะสูญเสียอย่างหนัก เยอรมันก็สูญเสียเช่นกัน
Battle of London เพื่อเร่งเอาชนะอังกฤษอย่างรวดเร็วและเด็ดขาด กองทัพอากาศเยอรมันจึงตัดสินใจใช้แผนบุกโจมตีกรุงลอนดอนเมือ่วันที่ 7 กันยายน โดยนำผูงบินขับไล่ ฝูงยินทิ้งระเบิดและฝูงบินคุ้มกันที่ทรงปรสิทธิภาพจำนวนมหาศาลถล่มกรุงลอนดอนจากทุกทิสเพื่อหวังให้เมืองยนฝั่งแม่น้ำเทมส์ที่มีประชากร 7 ล้านคน ซึ่งเป็นศูนย์กลางของอังกฤษถูกถล่มในพริบตา
จอมพลอากาศ เซอร์ฮิว คาสวอลล์ ทรีเทนเฮียร์ ดาวดิง Sia Hung Caswall Tremenheere Dowding ผู้บัญชาการหน่วยรบร่วมระดมหน่วยรบจากทุกเขตมาช่วยปฏิบัติการป้องกันกรุงลอนดอนในครั้งนี้ โดยยอมเสี่ยงที่จะปล่อยพื้นที่อื่นๆ ขาดกำลังรบสำรอง
15 กันยายน กองทัพอากาศเยอรมันส่งเครื่องยบินทิ้งระเบิดติดอาวุธหนัก 200 ลำ ทิ้งระเบิดกรุงลอนดอนอย่างต่อเนื่อง สปิตไฟร์และเฮาร์ริเคน จำนวน 250 ลำสามารถต้านทานการบุกทิ้งระเบิดภาคตะวันออกของลอนดอนไว้ได้ และสามารถขับไล่ฝูงบินรบของเยอรมันออกนอกพื้นที่กรุงลอนดอนเป็นผลสำเร็จ รวมทั้งสามารถทำลายเครื่องบินรบเยอรมันกว่า 60 ลำ ความพ่ายแพ้ทางทัพอากาศของซึ่งจะเป็นตัวชี้ขาดในปฏบัติการสิงโตทะเล ของเยอรมันนั้นทำให้ฮิตเลอร์ประกาศเลื่อนปฏิบัติการออกไปอย่างไม่มีกำหนด แต่การโจมตีลอนดอนก็คงดำเนินต่อไปอย่างหนักเพื่อสร้างแรงกดดันให้รัฐบาลอังกฤษยอมปฏิบัติตามเงื่อนไขบางประการของเยอรมัน
ยุทธการเกาะอังกฤษในช่วงสุดท้าย เยอรมันเน้นปฏิบัติการในช่วงกลางคืน อังกฤษถูกโจมตีอย่างหนักทั้งกลางวันและกลางคืน เพื่อหวังผลให้อังกฤษหมดแรงสู้ และทำลายขวัญและกำลัใจ
การทิ้งระเบิดแต่ละครั้งของเยอรมันเฉลี่ยโดยประมาณ 200 ลูก กรุงลอนดอนและเมืองใหญ่อีกหลายแห่งถูกทำลายอย่างหนัก ที่เมือโคเวนทรี ทหาวิหารที่สำคัญที่สุดของเมืองถูกทำลายโดยสิ้นเชิง มีผู้เสียชีวิต 400 คน
ตลอดระยะเวลา 4 เดือนพิสูจน์ให้เห็นว่าการทำลายล้างของฝ่ายเยอรมันไม่สามาถทำลายขวัญและกำลังใจโดยเฉพาะเหล่านักบินรบของกองทัพอากาศ กว่า 2,500 คนซึ่งมีทั้งชาวแคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ พวกลี้ภัยชาวเช็กและโปล รวทั้งกาสาสมัครไอริสและอเริกันด้วย ยุทธการที่เกาะอังกฤษจึงสิ้นสุดลงหลังวันที่ 14 พฤศจิกายน 1940 เมื่อกองทัพอากาศเยอรมันสังยกเลิกปฏิบัติการแบบสายฟ้าแลบ และฮิตเลอร์สั่งถอนกำลังส่วนใหญ่ขจของกองทัพอากาศเยอรมันไปปฏิบัติการในแนวรบด้านตะวันออกโดยมุ่งที่รัสเซียเป็นหลัก
แม้อังกฤษจะเสียหายอย่างหนัก เหนือสิ่งอืนใดอังกฤษสามารถรักษาเอกราชและอธิปไตยของชาติไว้ได้ในยามที่ยุโรปเกือบทั้งหมดต้องตกอยู่ภายใต้การยึดครองของเยอรมัน...
ยุทธการเกาะอังกฤษแบ่งเป็น 5 ระยะ
- Channel Battle ยุทธการที่ช่องแคบอังกฤษ ระหว่างเดือนกำกฏา-ต้นเดือนสิหาคม
- Operation Eagle ยุทธการช่องแคบอังกฤษอินทรี ระหว่างวันที่ 13-18สิงหาคม
- Luftwaffe's Switch ระยะเปลี่ยนแผนของกองทัพอากาศเยอรมัน ระหว่างวันที่ 19สิงหาคม -6กันยายน
- Battle of London ระหว่างวันที่ 7-30 กันยายน
- ระยะที่ห้า ระหว่างเดือนตุลาคม-กลางเดือนพฤศจิกายน
Channel Battleในยุทธการช่องแคบอังกฤษ เริ่มประปรายตั้งแต่วันที่ 10 กรกฏา ก่อนคำสั่งหมายเลข 16 จะออกมาในวันที่ 16 กรกฎาคม เนืองจากเยอรมันที่ปฏิบัติการรบอยู่ในเขตยุโรปตะวันตกอยู่ก่อนแล้วส่งเครื่องบินท้ิงระเบิด 20-30 ลำ ซุ่มโจมตีและทิ้งละเบิดหวังจะตัดกำลังฝ่ายอังกฤษเมื่อคำสั่งที่ 16 ออกมาปฏิบัติการจึงขยายขอบเขตไปถึงปากแม่นำ้เทมส์ใกล้กรุงลอนดอน สิ้นเดือนกรกฎาคม ปรากฎว่าเยอรมันสูญเสียเครื่องบินรบทั้งสิ้น 180 ลำ ในจำนวนนี้เครื่องบินทิ้งระเบิด 100 ลำ ในขณะที่อังดฤษเสูญเสียเครื่่องบินขับไล่จำนวน 70 ลำ
ฮิตเลอร์ไม่พอใจผลการปฏิบัติการของกองทัพอากาศเยอรมันเป็ฯอย่างมาก ในวันที่ 1 สิงหาคม จึงออกคำสั่งที่ 17 Directive No.17 เร่งรัดกองทัพอากาศเยอรมันทำลายทุกสิ่งทุกอย่างที่จะเอื้อต่อการปฏิบัติการของอังกฤษให้ได้โดยเร็วที่สุด
Operation Eagle ฝ่ายปฏิบัติการ คือนายพลเทโอดอร์ ออสเทอร์คัมพ์ Theodore Osterkamp และผู้ใต้บังคับบัญชาที่ฝ่านการรบในยุทธการที่ช่องแคบมาแล้ว มองเห้นว่าโอกาสที่เยอรันจะเอาชนะอังกฤษอย่างรวดเร็วนั้น คงเป็นไปไม่ได้ง่ายนัก โดยเขาได้แสดงความเห็นไว้ในการประชุมวางแผนการรบทีกรุงเฮกว่า ขณะที่ทิ้งระเบิดบริเวณรอบๆ กรุงลอนดอน เขาได้เห็นเครื่องยินขับไล่ของอังกฤษแต่ละครั้ง 500-700 ลำ และเมือสิ้นสุดยุทธการที่ช่องแคบ ก็เห็นว่าอังกฤษเพิ่มทั้งจำนวนและสมรรถนะของเครื่องบินเหล่านั้นขึ้นอีกมาก .. แต่นายพล แฮร์มัน เกอริงไม่รับฟังและยืนยันให้ปฏิบัติการตามแผนทในวันที่ 7
สิงหาคม ปฏิบัติการครั้งนี้เลื่อนออกไปเป็นวันที่ 13 สิงหาคม เนื่องจากสภาพดินฟ้าอากาศ ความสูญเสียมีมากด้วยกันทั้งสองฝ่ายโดยที่เยอรมันสูญเสียหนักกว่า นายพล แฮร์มัน เกอริง ตัดสินใจปรับแผนครั้งใหญ่
Luftwaffe's Switch การเปลี่ยนแผนการรบและการเปลี่ยนตัวผุ้บังคับการในแนวหน้าซึ่งมีผลให้ปฏิบัติการโจมตีเกาะอังกฤษทวีความรุนแรงและก่อให้เกิดผลเสียหายอย่างหนักแก่อังกฤษยิ่งขึ้น เป้าหมายหลักคือ แหล่งอุสาหกรรมหนักและโรงงานผลิตเครื่องบินและอาวุธยุทโธปกรณ์ การบุกทิ้งระเบิดสถานที่
สำคัญตามเป้าหมายกระทำอย่างต่อเนื่องและรุนแรง การปฏิบัติการบางครั้งมีการทิ้งระเบิดติดต่อกันเป็นชุด ถึง 6 ครั้งภายในเวลา 3 วัน อังกฤษไม่ยอมจำนน Raf. กองทัพอากาศอังกฤษ ปฏิบัติกาต่อสู้ป้องกันเมืองใหญ่ๆ ที่มีความสำคัญในแต่ละพื้นที่ไว้ได้โดยเฉพาะกรุงลอนดอน แม้อังกฤษจะสูญเสียอย่างหนัก เยอรมันก็สูญเสียเช่นกัน
Battle of London เพื่อเร่งเอาชนะอังกฤษอย่างรวดเร็วและเด็ดขาด กองทัพอากาศเยอรมันจึงตัดสินใจใช้แผนบุกโจมตีกรุงลอนดอนเมือ่วันที่ 7 กันยายน โดยนำผูงบินขับไล่ ฝูงยินทิ้งระเบิดและฝูงบินคุ้มกันที่ทรงปรสิทธิภาพจำนวนมหาศาลถล่มกรุงลอนดอนจากทุกทิสเพื่อหวังให้เมืองยนฝั่งแม่น้ำเทมส์ที่มีประชากร 7 ล้านคน ซึ่งเป็นศูนย์กลางของอังกฤษถูกถล่มในพริบตา
จอมพลอากาศ เซอร์ฮิว คาสวอลล์ ทรีเทนเฮียร์ ดาวดิง Sia Hung Caswall Tremenheere Dowding ผู้บัญชาการหน่วยรบร่วมระดมหน่วยรบจากทุกเขตมาช่วยปฏิบัติการป้องกันกรุงลอนดอนในครั้งนี้ โดยยอมเสี่ยงที่จะปล่อยพื้นที่อื่นๆ ขาดกำลังรบสำรอง
15 กันยายน กองทัพอากาศเยอรมันส่งเครื่องยบินทิ้งระเบิดติดอาวุธหนัก 200 ลำ ทิ้งระเบิดกรุงลอนดอนอย่างต่อเนื่อง สปิตไฟร์และเฮาร์ริเคน จำนวน 250 ลำสามารถต้านทานการบุกทิ้งระเบิดภาคตะวันออกของลอนดอนไว้ได้ และสามารถขับไล่ฝูงบินรบของเยอรมันออกนอกพื้นที่กรุงลอนดอนเป็นผลสำเร็จ รวมทั้งสามารถทำลายเครื่องบินรบเยอรมันกว่า 60 ลำ ความพ่ายแพ้ทางทัพอากาศของซึ่งจะเป็นตัวชี้ขาดในปฏบัติการสิงโตทะเล ของเยอรมันนั้นทำให้ฮิตเลอร์ประกาศเลื่อนปฏิบัติการออกไปอย่างไม่มีกำหนด แต่การโจมตีลอนดอนก็คงดำเนินต่อไปอย่างหนักเพื่อสร้างแรงกดดันให้รัฐบาลอังกฤษยอมปฏิบัติตามเงื่อนไขบางประการของเยอรมัน
ยุทธการเกาะอังกฤษในช่วงสุดท้าย เยอรมันเน้นปฏิบัติการในช่วงกลางคืน อังกฤษถูกโจมตีอย่างหนักทั้งกลางวันและกลางคืน เพื่อหวังผลให้อังกฤษหมดแรงสู้ และทำลายขวัญและกำลัใจ
การทิ้งระเบิดแต่ละครั้งของเยอรมันเฉลี่ยโดยประมาณ 200 ลูก กรุงลอนดอนและเมืองใหญ่อีกหลายแห่งถูกทำลายอย่างหนัก ที่เมือโคเวนทรี ทหาวิหารที่สำคัญที่สุดของเมืองถูกทำลายโดยสิ้นเชิง มีผู้เสียชีวิต 400 คน
ตลอดระยะเวลา 4 เดือนพิสูจน์ให้เห็นว่าการทำลายล้างของฝ่ายเยอรมันไม่สามาถทำลายขวัญและกำลังใจโดยเฉพาะเหล่านักบินรบของกองทัพอากาศ กว่า 2,500 คนซึ่งมีทั้งชาวแคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ พวกลี้ภัยชาวเช็กและโปล รวทั้งกาสาสมัครไอริสและอเริกันด้วย ยุทธการที่เกาะอังกฤษจึงสิ้นสุดลงหลังวันที่ 14 พฤศจิกายน 1940 เมื่อกองทัพอากาศเยอรมันสังยกเลิกปฏิบัติการแบบสายฟ้าแลบ และฮิตเลอร์สั่งถอนกำลังส่วนใหญ่ขจของกองทัพอากาศเยอรมันไปปฏิบัติการในแนวรบด้านตะวันออกโดยมุ่งที่รัสเซียเป็นหลัก
แม้อังกฤษจะเสียหายอย่างหนัก เหนือสิ่งอืนใดอังกฤษสามารถรักษาเอกราชและอธิปไตยของชาติไว้ได้ในยามที่ยุโรปเกือบทั้งหมดต้องตกอยู่ภายใต้การยึดครองของเยอรมัน...
วันอังคารที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2556
WWII:Oparation sealion
ปลายยุทธการฝรั่งเศส สหภาพโซเวียตเป็นพันธมิตรกับเยอรมันโดยนิตินัย โดยความ่วมือที่เพิ่มขึ้นทั้งในด้านเศรษฐกิจอย่างกว้างขวาง ทางด้านการทหารเพืียงเล็กน้อยแล้งก็ตาม การยึดครองรัฐบอลติก เบสซาราเบียและนอร์ทบูโควิน่าสร้างความวิตกให้แก่เยอรมัน และความตึงเครียดที่เพอ่มมากขึ้นจากความไม่สามารถบรรลุความร่วมมือระหว่าง นาซี-โซเวียตได้เพิ่มเติม ทำความสัมพันธ์ของทั้งสองเสื่อมทรามลง
การที่ฝรังเศสต้องออกจากสงคราม ฝ่ายอังษะมีกำลังยิ่งขึ้นฮิตเลอร์รู้สึกผิดหวังที่อังกฤษยังคงทำการรบต่อไป ทั้งที่ฝรั่งเศสยอมแพ้แล้ว ฮิตเลอร์จึงมีคำสั่งให้กองทัพวางแผนบุกอังกฤษ
นายพลเรือ อีริค เรเดอร์ Erich Reder มองว่า ปัจจัยสำคัญสี่ประการซึ่งจะทำให้ยุทธการนี้สำเร็จ คือ
- การทำลายกองทัพอากาศของอังกฤษ โดยกองทัพอากาศเยอรมัน กองทัพอากาศอังกฤษจะเป็นภัยคุกคามต่อกองเรือยกพลขึ้นบกของเยอรมันอย่างมาก
- การทำลายกองทัพเรือของราชนาวีอังกฤษบริเวณช่องแคบอังกฤษให้ห
- หน่วยป้องกันชายฝั่งของอังกฤษจะต้องถูกทำลาย
- การปฏิบัติการของเรือดำน้ำอังกฤษในการขัดขวางการยกพลขึ้นบก
เมือขจัดภัยคุกคามแล้วเรือยกพลขึ้นบกจะลำเลียงทหารแบ่งออกเป็น 2 ระลอก โดยการยกพลขึ้นบกในครังแรกจะลำเลียงทหารเยอรมันจากกองทัพที่มีฐานอยุ่ในฝรั้งเศส เข้าโจมตีอังกฤษพร้อมๆ กัน ที่เมือง โดเวอร์ อีสท์บอร์น แรมสเกท เวนท์นอร์ และไลม์ เรจิส เป็นต้น โดยกำลังทหารเยอรมันในการบุกเกาะอังกฤษในครั้งนี้ เป็นจำนวน 91,000นาย รถถัง 650 คัน และม้าอีก 4,500ตัว
แผนการในขั้นต่อมากำลังทหารเยอรมันชุดใหญ่ระลอกที่ 2 จำนวนกว่า 170,000นาย ยานยนต์ 34,200 คนและม้าอีกว่า 57,000 ตัว ซึ่งเป็นกำลังที่จะรุกเข้าสู่กรุงลอนดอน ทางทิสเหนือในขณะที่ทหารพลร่ม หรือ "ฟอลชริมเจกอร์" กว่า 25,000 นายจะกระโดร่มลงตามจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัยๆ ต่าง ๆ ทั่วเกาะอังกฤษ
ความสำเร็จหรือล้มเหลวในยุทธการนี้ขึ้นอยู่กับการทำลายล้างกองทัพอากาศ Raf. ของอังกฤษเป็นประการแรก ซึ่งจะเป็นการทำลายโดยใช้แสนยานุภาพทางอากาศของเยอรมันLuftwafferในขณะนั้นที่
เชื่อว่า "เหนือกว่า" เป็นสิ่งชี้ขาด
นอกจากเงื่อนไขด้านกำลังรบแล้ว "เงื่อนไขด้านเวลา"ก็เข้ามาเกียวข้องด้วย จากยุทธการที่ดันเคิร์ก อังกฤษทิ้งยุทธโทปกรณ์ไว้ อังกฤษเกิดภาวะขาดแคลนอย่างหนัก มีผู้กล่าวว่า"หากจะบุกอังกฤษ ก็ต้องบุกในห้วงเวลานี้" แต่การบุกเกาะอังกฤษมีขึ้นหลังจากนั้นกว่าหนึ่งเดือน อังกฤษสามารถระดมอาวุธยุทโธปกรณ์ได้บางส่วนแล้ว และที่สำคัญคือเครืองบินขับไล่อันน่าเกรงขาม
การที่ฝรังเศสต้องออกจากสงคราม ฝ่ายอังษะมีกำลังยิ่งขึ้นฮิตเลอร์รู้สึกผิดหวังที่อังกฤษยังคงทำการรบต่อไป ทั้งที่ฝรั่งเศสยอมแพ้แล้ว ฮิตเลอร์จึงมีคำสั่งให้กองทัพวางแผนบุกอังกฤษ
นายพลเรือ อีริค เรเดอร์ Erich Reder มองว่า ปัจจัยสำคัญสี่ประการซึ่งจะทำให้ยุทธการนี้สำเร็จ คือ
- การทำลายกองทัพอากาศของอังกฤษ โดยกองทัพอากาศเยอรมัน กองทัพอากาศอังกฤษจะเป็นภัยคุกคามต่อกองเรือยกพลขึ้นบกของเยอรมันอย่างมาก
- การทำลายกองทัพเรือของราชนาวีอังกฤษบริเวณช่องแคบอังกฤษให้ห
- หน่วยป้องกันชายฝั่งของอังกฤษจะต้องถูกทำลาย
- การปฏิบัติการของเรือดำน้ำอังกฤษในการขัดขวางการยกพลขึ้นบก
เมือขจัดภัยคุกคามแล้วเรือยกพลขึ้นบกจะลำเลียงทหารแบ่งออกเป็น 2 ระลอก โดยการยกพลขึ้นบกในครังแรกจะลำเลียงทหารเยอรมันจากกองทัพที่มีฐานอยุ่ในฝรั้งเศส เข้าโจมตีอังกฤษพร้อมๆ กัน ที่เมือง โดเวอร์ อีสท์บอร์น แรมสเกท เวนท์นอร์ และไลม์ เรจิส เป็นต้น โดยกำลังทหารเยอรมันในการบุกเกาะอังกฤษในครั้งนี้ เป็นจำนวน 91,000นาย รถถัง 650 คัน และม้าอีก 4,500ตัว
แผนการในขั้นต่อมากำลังทหารเยอรมันชุดใหญ่ระลอกที่ 2 จำนวนกว่า 170,000นาย ยานยนต์ 34,200 คนและม้าอีกว่า 57,000 ตัว ซึ่งเป็นกำลังที่จะรุกเข้าสู่กรุงลอนดอน ทางทิสเหนือในขณะที่ทหารพลร่ม หรือ "ฟอลชริมเจกอร์" กว่า 25,000 นายจะกระโดร่มลงตามจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัยๆ ต่าง ๆ ทั่วเกาะอังกฤษ
ความสำเร็จหรือล้มเหลวในยุทธการนี้ขึ้นอยู่กับการทำลายล้างกองทัพอากาศ Raf. ของอังกฤษเป็นประการแรก ซึ่งจะเป็นการทำลายโดยใช้แสนยานุภาพทางอากาศของเยอรมันLuftwafferในขณะนั้นที่
เชื่อว่า "เหนือกว่า" เป็นสิ่งชี้ขาด
นอกจากเงื่อนไขด้านกำลังรบแล้ว "เงื่อนไขด้านเวลา"ก็เข้ามาเกียวข้องด้วย จากยุทธการที่ดันเคิร์ก อังกฤษทิ้งยุทธโทปกรณ์ไว้ อังกฤษเกิดภาวะขาดแคลนอย่างหนัก มีผู้กล่าวว่า"หากจะบุกอังกฤษ ก็ต้องบุกในห้วงเวลานี้" แต่การบุกเกาะอังกฤษมีขึ้นหลังจากนั้นกว่าหนึ่งเดือน อังกฤษสามารถระดมอาวุธยุทโธปกรณ์ได้บางส่วนแล้ว และที่สำคัญคือเครืองบินขับไล่อันน่าเกรงขาม
วันจันทร์ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2556
WWII:Royal Air Force fighter Command vs Luftwaffe
ยุทธการที่อังกฤษเป็นปฏิบัติการทางทหารครั้งใหญ่ครั้งแรกที่ต่อสู้กันทางอากาศเท่านั้น และมันให้บทเรียนอย่างมากกับทั้งสองฝ่าย สิ่งที่สำคัญที่สุดคือเรดาร์(ระบบที่ใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นเครื่องมือในการระบุระยะ,ความสูง,รวมถึงทิศทางหรือความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ)สำหรับตรวจจับเครื่องบินศึตรู ซึ่งทำให้เครื่องบินชับไล่เข้าสกัดได้อย่างแม่นยำจากระยะไกล
ยุทธการอังกฤษแสดงให้เห็นถึงความไม่พร้อมของเครื่องบินขับไล่ทางยุทธวิธีเมื่องต้องใช้ในการโจมตีระยะไกลแนวคิดเครื่องบินขับไล่ขนาดหนักแบบสองเครื่องยนต์ถูกมองว่าเป็นความล้มเหลวเมื่องเครื่อง เมสเซอร์สมิต บีเอฟ 110 กองทัพอากาศเยอรมันนั้นขาดความคล่องเเคล่วและตกเป็นเป้าได้ง่ายต่อเครื่อง เฮอร์ริเคนและสปิตไฟร์ บีเอฟจึงถูกลดขั้นมาเป็นเครื่องบินขับไล่กลางคืนและคเรื่องบินทิ้งระเบิดซึ่งพบว่ามันเหมาะมากกว่า นอกจากนั้น บีเอฟ 109 ของเยอรมันปฏิบัติการในแบบที่สุดระยะยของมันและไม่สามารถทำการรบได้นานนัก เมื่อเครื่องบินทิ้งระเบิดขาดการบินคุ้มกัน เยอรมันก็ต้องสูญเสียมากเครื่องบินมากขึ้น
Royal Air Force fighter Command
กองทัพอากาศอังกฤษในปี 1940
สุดยอดของเครื่องบินขับไล่อังกฤษในช่วงนี้คือ เครื่องบินซุปเปอร์มารีน สปิตไฟร์ ด้วยความเร็ว 580/hr.ติดปืนกลขนาด .303นิ้ว 8 กระบอกที่ปีกสองข้าง สามารถปรับศูนญ์ฺโดยทั่วไปจะปรับแต่งให้กระสุดทั้งแปดกระบอกรวมศูนย์กันอยู่ในระยะ 594 เมตรจากลำกล้อง
ฮอว์คเกอร์ เฮอริเคน มีความเก่ากว่า สปิตไฟร์ ความเร็ว 523/hr.ติดปืนกลขนาด .303 นิ้ว แปดกระบอก มีอำนาจการยิงสูง
Luftwaffe
กองทัพอากาศเยอรมัน
เจยู 87 สตูก้า Dive Bomber Ju 87 "Stuka" ซึ่งมีความสามารถในการดำดิ่งทิ้งละเบิดอย่างแม่นยำ แต่ไม่ประสบความสำเร็จในสมรภูมิบริเตน
แมสเซอร์สมิต บี เอฟ 109 Messerchmitt Bf 109 เครื่องบินขับไล่ที่เป็นกำลังหลักในขณะนั้น โดยถูกออกแบบมาให้มีโครงสร้างที่เล็ก คล่องตัว เครื่องยนต์ที่ทรงพลังมีอัตราความเร็ซในการบินดำดิ่ง เร็วกว่าเครื่องบินขับไล่ขงออังกฤษทุกชนิด ติดปืนกลขนาด 7.9 มม. MG17 ที่เหนือเครื่องยนต์สองกระบอกโดยทำการยิงลอดใบพัด ปืนใหญอากาศขนาน 20 มม. แบบ MG FFอีกสองกระบอก ติดที่ปีกทั้งสองข้าง
เครื่องบินทิ่งระเบิบ แบบ ไฮน์เกล 111 Heinkel He 111 เครื่องบินทิ้งระเบิด ติดตั้งปืนกลขนาด 7.92 มม. จำนวน สามกระบอก บรรทุกระเบิด 1,800กก. ความเร็ว 398/Hr.เครื่องยนต์สองเครื่อง
ยุทธการอังกฤษแสดงให้เห็นถึงความไม่พร้อมของเครื่องบินขับไล่ทางยุทธวิธีเมื่องต้องใช้ในการโจมตีระยะไกลแนวคิดเครื่องบินขับไล่ขนาดหนักแบบสองเครื่องยนต์ถูกมองว่าเป็นความล้มเหลวเมื่องเครื่อง เมสเซอร์สมิต บีเอฟ 110 กองทัพอากาศเยอรมันนั้นขาดความคล่องเเคล่วและตกเป็นเป้าได้ง่ายต่อเครื่อง เฮอร์ริเคนและสปิตไฟร์ บีเอฟจึงถูกลดขั้นมาเป็นเครื่องบินขับไล่กลางคืนและคเรื่องบินทิ้งระเบิดซึ่งพบว่ามันเหมาะมากกว่า นอกจากนั้น บีเอฟ 109 ของเยอรมันปฏิบัติการในแบบที่สุดระยะยของมันและไม่สามารถทำการรบได้นานนัก เมื่อเครื่องบินทิ้งระเบิดขาดการบินคุ้มกัน เยอรมันก็ต้องสูญเสียมากเครื่องบินมากขึ้น
Royal Air Force fighter Command
กองทัพอากาศอังกฤษในปี 1940
สุดยอดของเครื่องบินขับไล่อังกฤษในช่วงนี้คือ เครื่องบินซุปเปอร์มารีน สปิตไฟร์ ด้วยความเร็ว 580/hr.ติดปืนกลขนาด .303นิ้ว 8 กระบอกที่ปีกสองข้าง สามารถปรับศูนญ์ฺโดยทั่วไปจะปรับแต่งให้กระสุดทั้งแปดกระบอกรวมศูนย์กันอยู่ในระยะ 594 เมตรจากลำกล้อง
ฮอว์คเกอร์ เฮอริเคน มีความเก่ากว่า สปิตไฟร์ ความเร็ว 523/hr.ติดปืนกลขนาด .303 นิ้ว แปดกระบอก มีอำนาจการยิงสูง
Luftwaffe
กองทัพอากาศเยอรมัน
เจยู 87 สตูก้า Dive Bomber Ju 87 "Stuka" ซึ่งมีความสามารถในการดำดิ่งทิ้งละเบิดอย่างแม่นยำ แต่ไม่ประสบความสำเร็จในสมรภูมิบริเตน
แมสเซอร์สมิต บี เอฟ 109 Messerchmitt Bf 109 เครื่องบินขับไล่ที่เป็นกำลังหลักในขณะนั้น โดยถูกออกแบบมาให้มีโครงสร้างที่เล็ก คล่องตัว เครื่องยนต์ที่ทรงพลังมีอัตราความเร็ซในการบินดำดิ่ง เร็วกว่าเครื่องบินขับไล่ขงออังกฤษทุกชนิด ติดปืนกลขนาด 7.9 มม. MG17 ที่เหนือเครื่องยนต์สองกระบอกโดยทำการยิงลอดใบพัด ปืนใหญอากาศขนาน 20 มม. แบบ MG FFอีกสองกระบอก ติดที่ปีกทั้งสองข้าง
เมอเซอร์สมิต บีเอฟ 110 ซึ่งมีข้อบกพร่องจึงต้องลดชั้นเป็นเครืองบินขับไล่ตอนกลางคืน
เครื่องบินทิ่งระเบิบ แบบ ไฮน์เกล 111 Heinkel He 111 เครื่องบินทิ้งระเบิด ติดตั้งปืนกลขนาด 7.92 มม. จำนวน สามกระบอก บรรทุกระเบิด 1,800กก. ความเร็ว 398/Hr.เครื่องยนต์สองเครื่อง
กองทัพอังกฤษยึดมั่นในการสร้างครามเสียหายให้กับฝูงบินเยอรมันมากว่าการทำลาย โดยอังกฤษเชื่อว่า ความเสียหายจะทำให้เยอรมันต้องเสียเวลาในการซ่อมแซม และต้องใช้บุคคลากรจำนวนมาก และทำการรบได้ไม่เต็มที่
ยุทธวิธีการต่อสู้ทางอากาศระหว่างอังกฤษและเยอรมันมีความแตกต่างกัน ผู้บินเยอรมันจะเข้าโจมตีในลักาณะกลุ่มหรือที่เรียกว่า กรุ๊ป โดยใช้อากาศยานรวมกัน 30-40 ลำ ในขณะที่อังกฤษจะขึ้นบินในลักษณะหมวดบิน 9-10 ลำ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...