WWII:Royal Air Force fighter Command vs Luftwaffe

     ยุทธการที่อังกฤษเป็นปฏิบัติการทางทหารครั้งใหญ่ครั้งแรกที่ต่อสู้กันทางอากาศเท่านั้น และมันให้บทเรียนอย่างมากกับทั้งสองฝ่าย สิ่งที่สำคัญที่สุดคือเรดาร์(ระบบที่ใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นเครื่องมือในการระบุระยะ,ความสูง,รวมถึงทิศทางหรือความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ)สำหรับตรวจจับเครื่องบินศึตรู ซึ่งทำให้เครื่องบินชับไล่เข้าสกัดได้อย่างแม่นยำจากระยะไกล
      ยุทธการอังกฤษแสดงให้เห็นถึงความไม่พร้อมของเครื่องบินขับไล่ทางยุทธวิธีเมื่องต้องใช้ในการโจมตีระยะไกลแนวคิดเครื่องบินขับไล่ขนาดหนักแบบสองเครื่องยนต์ถูกมองว่าเป็นความล้มเหลวเมื่องเครื่อง เมสเซอร์สมิต บีเอฟ 110 กองทัพอากาศเยอรมันนั้นขาดความคล่องเเคล่วและตกเป็นเป้าได้ง่ายต่อเครื่อง เฮอร์ริเคนและสปิตไฟร์ บีเอฟจึงถูกลดขั้นมาเป็นเครื่องบินขับไล่กลางคืนและคเรื่องบินทิ้งระเบิดซึ่งพบว่ามันเหมาะมากกว่า นอกจากนั้น บีเอฟ 109 ของเยอรมันปฏิบัติการในแบบที่สุดระยะยของมันและไม่สามารถทำการรบได้นานนัก เมื่อเครื่องบินทิ้งระเบิดขาดการบินคุ้มกัน เยอรมันก็ต้องสูญเสียมากเครื่องบินมากขึ้น


                                                 Royal Air Force fighter Command
                                                 กองทัพอากาศอังกฤษในปี 1940







      สุดยอดของเครื่องบินขับไล่อังกฤษในช่วงนี้คือ เครื่องบินซุปเปอร์มารีน สปิตไฟร์ ด้วยความเร็ว 580/hr.ติดปืนกลขนาด .303นิ้ว 8 กระบอกที่ปีกสองข้าง สามารถปรับศูนญ์ฺโดยทั่วไปจะปรับแต่งให้กระสุดทั้งแปดกระบอกรวมศูนย์กันอยู่ในระยะ 594 เมตรจากลำกล้อง

ฮอว์คเกอร์ เฮอริเคน มีความเก่ากว่า สปิตไฟร์ ความเร็ว 523/hr.ติดปืนกลขนาด .303 นิ้ว แปดกระบอก มีอำนาจการยิงสูง




Luftwaffe
กองทัพอากาศเยอรมัน




เจยู 87 สตูก้า Dive Bomber Ju 87 "Stuka" ซึ่งมีความสามารถในการดำดิ่งทิ้งละเบิดอย่างแม่นยำ แต่ไม่ประสบความสำเร็จในสมรภูมิบริเตน



แมสเซอร์สมิต บี เอฟ 109 Messerchmitt Bf 109 เครื่องบินขับไล่ที่เป็นกำลังหลักในขณะนั้น โดยถูกออกแบบมาให้มีโครงสร้างที่เล็ก คล่องตัว เครื่องยนต์ที่ทรงพลังมีอัตราความเร็ซในการบินดำดิ่ง เร็วกว่าเครื่องบินขับไล่ขงออังกฤษทุกชนิด  ติดปืนกลขนาด 7.9 มม. MG17 ที่เหนือเครื่องยนต์สองกระบอกโดยทำการยิงลอดใบพัด ปืนใหญอากาศขนาน 20 มม. แบบ MG FFอีกสองกระบอก ติดที่ปีกทั้งสองข้าง 


เมอเซอร์สมิต บีเอฟ 110 ซึ่งมีข้อบกพร่องจึงต้องลดชั้นเป็นเครืองบินขับไล่ตอนกลางคืน

เครื่องบินทิ่งระเบิบ แบบ ไฮน์เกล 111 Heinkel He 111 เครื่องบินทิ้งระเบิด ติดตั้งปืนกลขนาด 7.92 มม. จำนวน สามกระบอก บรรทุกระเบิด 1,800กก. ความเร็ว 398/Hr.เครื่องยนต์สองเครื่อง

   กองทัพอังกฤษยึดมั่นในการสร้างครามเสียหายให้กับฝูงบินเยอรมันมากว่าการทำลาย โดยอังกฤษเชื่อว่า ความเสียหายจะทำให้เยอรมันต้องเสียเวลาในการซ่อมแซม และต้องใช้บุคคลากรจำนวนมาก และทำการรบได้ไม่เต็มที่ 
      ยุทธวิธีการต่อสู้ทางอากาศระหว่างอังกฤษและเยอรมันมีความแตกต่างกัน ผู้บินเยอรมันจะเข้าโจมตีในลักาณะกลุ่มหรือที่เรียกว่า กรุ๊ป โดยใช้อากาศยานรวมกัน 30-40 ลำ ในขณะที่อังกฤษจะขึ้นบินในลักษณะหมวดบิน 9-10 ลำ

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)