วันจันทร์ที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2556
WWII: D_Day
แนวรบด้านตะวันตกของเขตสงครามยุโรป แห่งสงครามโลกครั้งที่สอง อาณาบริเวณตั้งแต่ประเทศเดนมาร์ก นอร์เวย์ ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ ฝรั่งเศสและเยอมรันตะวัจตก แนวรบด้านจะวันตกมีปฏิบัติการรบภาคพื้นขนาดใหญ่สองระยะ ระยะแรกลงเอยเด้วยการยอมจำนนของกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำและฝรั่งเศสระหว่างเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน ปี 1940 และประกอบด้วยสงครามทางอากาศระหว่างเยอรมันกับอังกฤษซึ่งถึงขีดสุดระหว่างยุทธการบริเตนระยะที่สองประกอบด้วยการสู้รบภาคพื้นขนาดใหญ่ ซึ่งเริ่มในเดือน มิถุนายน ค.ศ. 1944 ด้วยการยกพลขึ้นบกที่นอร์มังดี
ปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด เป็นส่วนหนึ่งของการรบในแนวรบด้านตะวันตะตก ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เริ่มเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 1944 รู้จักกันในชื่อ “วันดี-เดย์” สัมพันธมิตรยกกำลังทหาร 3,000,000 นายข้ามช่องแคบอังกฤษ ขึ้นบกที่นอร์มังดี ประเทศฝรั่งเศส
แผนปฏิบัติการรหัส “เนป จูน”เป็นการเคลื่อพลการบุกครั้งใหญที่สุดในประวัศาสตร์สงคราม โดยการนำของผู้บัญชาการสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตร พลเอก ดไวท์ ดี. ไอเซนอาวด์โดยกานำของทหารราบฝ่ายสัมพันธมิตร อันได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ แคนาดา โดยแบ่งหารนอร์มังดี ที่เรียกกันว่า กำแพงแห่งแอตแลนติก เนืองจากเป็นแนวชายหาดยาว และถัดมาเป็นผาสูงชันตลอดแนวหาด ทหารเยอรมันยึดเป็นที่มั่นในการป้องกัน ออกเป็น 5 ส่วนภายใต้ชือรหัส โอมาฮ่า,ยูทาห์,ชอร์ด จูโนและหาดโกลด์
วันอาทิตย์ที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2556
WWII:Yamamoto Isorogu II
เมื่อพ่ายแพ้ในการรบที่เกาะกัวดัลคะแนลสถานการณ์ในทะเลโซโลมอนดีขึ้นแต่ไม่ถึงกับสงบราบคาบยังมีการฝึกกำลังทหารและรวมพลจากเกาะอื่น ๆ ญี่ปุ่นมิได้ถอนกำลังจากทะเลโซโลมอนทั้งหมด การรบยังมีเป็นระยะ การรอบยิง
แนวรบด้านตะวันตกเฉียงใต้ของมหารสมุทรแปซิฟิกทีกินบริเวณมาถึงหมู่เกาะแคโรไลน์ตะวันตกที่มีเกาะ Yap,Palau (แหล่งสำรองเครื่องยิน เรือรบและ ยุทธปัจจัยของศูนย์บัญชาการที่เกะทรัก)ที่เชื่อมต่อกับทะเลโมลุกกะ เกาะติมอร์ ยันนิวกีนีจึงไม่มีอะไรเป็นที่น่าไว้วางใจ
หลังจากนั้นญี่ปุ่นเป็นฝ่ายตั้งรับที่ และ-ซาลาม และพบความสูญเสียอีกครั้งในยุทธนาวีแห่งทะเลบิสมาร์ก ญี่ปุ่นตกลงในใช้นโยบายเพิ่มความแข็งแกร่งในการป้องกันตรงจุดที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์และให้ทำการโจมตีตอบโต้ต่อเมืองีทางชนะเท่านั้น และมุ่งป้องกันที่ตั้งกองทหารญี่ปุ่นที่ยังเหลือยู่ในนิวกีนีเป็นหลักสำคัญอันดับแรก รองลงมาคือการป้องกันหมู่เกาะโซโลมอน ในขณะที่สัมพันธมิตรเพื่อมความมั่นคงที่มั่นในนิวกีนีของตนให้เข้ามแข็งยิ่งขึ้น โดยที่ญี่ปุ่นไม่สามารถขัดขวางได้ การเสียชีวิตของนายพลเรือยามาโมโต้ทำให้ญี่ปุ่นจึงเลิกความพยายามที่จะยึดเกาะนิวกีนี
มหาสมุทรอินเดียญี่ปุ่นบุกยึดหมู่เกาะอันดามัน ในปี 1942 อังกฤษชิงตัดหน้าแผนการของญี่ปุ่นที่จะบุกจากเกาะมาดากัสการ์ ไม่ว่ารัฐบาลวิซี่ของฝรั่งเศษจะเห็นด้วยหรือไม่ก็ตาม ข้าหลวงฝรั่งเศสแห่งเกาะดามัสกัสไม่ให้ความร่วมมือ อังกฤษเร่มโจมตีโดยเข้ายึดมาจันการ ยึดตามาตาวี และยึดแอนตานานาริโอ้ ฝ่ายหลังขบวนการฝรั่งเศสเสรีจึงเข้าปกครองมาดาร์กัสการ์ในปี 1943
แปซิฟิกเหนือ สหรัฐตัดสินใจขับไล่ญี่ปุ่นไปจากมู่เกาะอาลิวเซียน เพื่อขจัดอันตรายจากถัยคุกคามจากญี่ปุ่น สหรัฐยกพลขึ้นบกที่อาดันและจากฐานทัพที่ตั้งขึ้นจึงเริ่มโจมตีกีสกา และแอตตูในเวลาต่อมา สหรัฐฯเปิดการโจมตีอีกครั้งที่แอตตู และแอมชิตกา กองเรือรบสหรัฐฯ ปิดล้อมในบริเวณนั้นเพื่อป้องกันไม่ให้ญี่ปุ่นส่งกำลังเสริมกองทหารบนเกาะ ในที่สุดกองสหรัฐฯก็สามารถขับไล่ทหารญี่ปุ่นออกไปจากกีสกา
หลังจากที่ พลเรือเอก ยามาโมโต้ อิโชรุกคุ เสียชีวิตแล้ว พลเรือเอก โกงะ มิเนะอิจิ เข้ารับตำแหน่งผู้บัญชาการทัพเรือผสม โดยมีเรือประจัญบานมุซิชิเป็นเรือประจัญบาน ในขณะนั้นกำลังรบของจักรพรรดินาวี มีอยู่ไม่ถึงครั้งของฝ่ายสหรัฐฯ ดังนั้นในการยุทธ จะต้องใช้แนวป้องกันที่เป็นเกาะโดยจะใช้เกาะเป็นเสมือนเรือบรรทุกเครื่องบินที่ไม่มีวันจม
กองเรือผสมญี่ปุ่นประมาณการว่า กำลังรบสหรัฐฯ จะเข้าโจมตีที่มั่นของญี่ปุ่นในหมู่เกาะมาร์แชล โดยเริ่มจากการเข้ายึดเกาะมโลเอแล็ป ก่อน แล้วจะใช้เป็นฐานในการบุกโจมตีเพื่อยึดเกาะควาจาลีน และเกาะโรอีซึ่งเป็นที่มั่นของกำลังรบป้องกันฐานทัพที่ 6 ต่อไป นายพลเรือตรี โยชิมิ เดินทางไปรับหน้าที่ที่เกาะวอตจีในวงประการังวอตจี
วงปะการังวอตจี นั้นเป็นวงกลุ่มของเกาะเล็ก ๆ ประมาณ 30 เกาะจะเป็นเกาะที่เกิดจาปะการังที่ก่อตัวทับถม และการระเบิดของภูเขาไฟมีลักษณะเป็นรูปร่างต่าง ๆ และมีช่องทางให้เรือแล่นเข้าไปในวงนั้นได้ รอบวงมีส่วนที่โผล่พ้นน้ำขึ้นมาเป็นเกาะต่าง
อเมริกาวางแผนโจมตีหมู่เกาะมาร์แชล ซึ่งถูกญี่ปุ่นยึดครองได้ในปี 1942 โดยการเข้ายึดวงปะการังวอตจี เพื่อใช้เป็นฐานทัพหน้า เพราะมีสนามบินที่สร้างไว้ แต่ทราบว่าที่วงปะการังวอตจี มีการป้องกันเป็นอย่างดีจึงเปลียนแผนไปขึ้นบกที่วงปะการับควาจาลีน และมาโรเอแล็ป กระทั่งในเดือนกุมภาพันธ์ 1944 การบุกยึดเกาะมาร์แชลของกองทัพอเมริกาจึงใกล้จะประสบความสำเร็จ
(เกาะนิวกีนี ตั้งอยู่ทางทิสเหนือของประเทศออกเตรเลียเป็นเกาะที่มีขนาดเป้ฯอันดับที่ 2 ของโลก ซึ่งถูกแบ่งแยกออกจากแผ่นดินใกญ่ออสเตรเลีย พื้นที่ตะวันตกของเกาะเป็นของประเทศอินโดนี่เซียและพื้นที่ฝั่งตะวันออกเป็นผืนแผ่นดินของรัฐเอกราชปาปัวนิวกีนี)
แนวรบด้านตะวันตกเฉียงใต้ของมหารสมุทรแปซิฟิกทีกินบริเวณมาถึงหมู่เกาะแคโรไลน์ตะวันตกที่มีเกาะ Yap,Palau (แหล่งสำรองเครื่องยิน เรือรบและ ยุทธปัจจัยของศูนย์บัญชาการที่เกะทรัก)ที่เชื่อมต่อกับทะเลโมลุกกะ เกาะติมอร์ ยันนิวกีนีจึงไม่มีอะไรเป็นที่น่าไว้วางใจ
หลังจากนั้นญี่ปุ่นเป็นฝ่ายตั้งรับที่ และ-ซาลาม และพบความสูญเสียอีกครั้งในยุทธนาวีแห่งทะเลบิสมาร์ก ญี่ปุ่นตกลงในใช้นโยบายเพิ่มความแข็งแกร่งในการป้องกันตรงจุดที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์และให้ทำการโจมตีตอบโต้ต่อเมืองีทางชนะเท่านั้น และมุ่งป้องกันที่ตั้งกองทหารญี่ปุ่นที่ยังเหลือยู่ในนิวกีนีเป็นหลักสำคัญอันดับแรก รองลงมาคือการป้องกันหมู่เกาะโซโลมอน ในขณะที่สัมพันธมิตรเพื่อมความมั่นคงที่มั่นในนิวกีนีของตนให้เข้ามแข็งยิ่งขึ้น โดยที่ญี่ปุ่นไม่สามารถขัดขวางได้ การเสียชีวิตของนายพลเรือยามาโมโต้ทำให้ญี่ปุ่นจึงเลิกความพยายามที่จะยึดเกาะนิวกีนี
มหาสมุทรอินเดียญี่ปุ่นบุกยึดหมู่เกาะอันดามัน ในปี 1942 อังกฤษชิงตัดหน้าแผนการของญี่ปุ่นที่จะบุกจากเกาะมาดากัสการ์ ไม่ว่ารัฐบาลวิซี่ของฝรั่งเศษจะเห็นด้วยหรือไม่ก็ตาม ข้าหลวงฝรั่งเศสแห่งเกาะดามัสกัสไม่ให้ความร่วมมือ อังกฤษเร่มโจมตีโดยเข้ายึดมาจันการ ยึดตามาตาวี และยึดแอนตานานาริโอ้ ฝ่ายหลังขบวนการฝรั่งเศสเสรีจึงเข้าปกครองมาดาร์กัสการ์ในปี 1943
แปซิฟิกเหนือ สหรัฐตัดสินใจขับไล่ญี่ปุ่นไปจากมู่เกาะอาลิวเซียน เพื่อขจัดอันตรายจากถัยคุกคามจากญี่ปุ่น สหรัฐยกพลขึ้นบกที่อาดันและจากฐานทัพที่ตั้งขึ้นจึงเริ่มโจมตีกีสกา และแอตตูในเวลาต่อมา สหรัฐฯเปิดการโจมตีอีกครั้งที่แอตตู และแอมชิตกา กองเรือรบสหรัฐฯ ปิดล้อมในบริเวณนั้นเพื่อป้องกันไม่ให้ญี่ปุ่นส่งกำลังเสริมกองทหารบนเกาะ ในที่สุดกองสหรัฐฯก็สามารถขับไล่ทหารญี่ปุ่นออกไปจากกีสกา
หลังจากที่ พลเรือเอก ยามาโมโต้ อิโชรุกคุ เสียชีวิตแล้ว พลเรือเอก โกงะ มิเนะอิจิ เข้ารับตำแหน่งผู้บัญชาการทัพเรือผสม โดยมีเรือประจัญบานมุซิชิเป็นเรือประจัญบาน ในขณะนั้นกำลังรบของจักรพรรดินาวี มีอยู่ไม่ถึงครั้งของฝ่ายสหรัฐฯ ดังนั้นในการยุทธ จะต้องใช้แนวป้องกันที่เป็นเกาะโดยจะใช้เกาะเป็นเสมือนเรือบรรทุกเครื่องบินที่ไม่มีวันจม
กองเรือผสมญี่ปุ่นประมาณการว่า กำลังรบสหรัฐฯ จะเข้าโจมตีที่มั่นของญี่ปุ่นในหมู่เกาะมาร์แชล โดยเริ่มจากการเข้ายึดเกาะมโลเอแล็ป ก่อน แล้วจะใช้เป็นฐานในการบุกโจมตีเพื่อยึดเกาะควาจาลีน และเกาะโรอีซึ่งเป็นที่มั่นของกำลังรบป้องกันฐานทัพที่ 6 ต่อไป นายพลเรือตรี โยชิมิ เดินทางไปรับหน้าที่ที่เกาะวอตจีในวงประการังวอตจี
วงปะการังวอตจี นั้นเป็นวงกลุ่มของเกาะเล็ก ๆ ประมาณ 30 เกาะจะเป็นเกาะที่เกิดจาปะการังที่ก่อตัวทับถม และการระเบิดของภูเขาไฟมีลักษณะเป็นรูปร่างต่าง ๆ และมีช่องทางให้เรือแล่นเข้าไปในวงนั้นได้ รอบวงมีส่วนที่โผล่พ้นน้ำขึ้นมาเป็นเกาะต่าง
อเมริกาวางแผนโจมตีหมู่เกาะมาร์แชล ซึ่งถูกญี่ปุ่นยึดครองได้ในปี 1942 โดยการเข้ายึดวงปะการังวอตจี เพื่อใช้เป็นฐานทัพหน้า เพราะมีสนามบินที่สร้างไว้ แต่ทราบว่าที่วงปะการังวอตจี มีการป้องกันเป็นอย่างดีจึงเปลียนแผนไปขึ้นบกที่วงปะการับควาจาลีน และมาโรเอแล็ป กระทั่งในเดือนกุมภาพันธ์ 1944 การบุกยึดเกาะมาร์แชลของกองทัพอเมริกาจึงใกล้จะประสบความสำเร็จ
(เกาะนิวกีนี ตั้งอยู่ทางทิสเหนือของประเทศออกเตรเลียเป็นเกาะที่มีขนาดเป้ฯอันดับที่ 2 ของโลก ซึ่งถูกแบ่งแยกออกจากแผ่นดินใกญ่ออสเตรเลีย พื้นที่ตะวันตกของเกาะเป็นของประเทศอินโดนี่เซียและพื้นที่ฝั่งตะวันออกเป็นผืนแผ่นดินของรัฐเอกราชปาปัวนิวกีนี)
วันเสาร์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2556
WWII:"West-East
การปะทะกันอย่างดุเดือดที่โปรโฮรอฟกาซึ่งเป็นแนวยื่นทางทิศใต้ในปฏิบัติการ Citadel เหล่าทหารแพนเซอร์SSที่ 2 และกองพลกรอสส์ดอยท์ชลัทต์ พบกับการต้านทานอย่างดุเดือดทำให้ต้องเปลี่ยนทิศทางการบุกจากทางตะวันออกเป็นทางตะวันตกของแนวรบ แต่รถถังยงรุกไป เพืยง 25 กิโลเมตรก่อนเผลิญกับกำลังหนุนของกองทัพรถถังป้องกัน Guards Tank Army ที่ 5 ของโซเวียต ยุธการดังกล่าวมีรถถังราวหนึ่งพันคันอยู่ในสมรภูมิ หลังสงคราม นักประวัติศาสตร์โซเวียตยึดว่ายุทธการใกล้กับโปรโฮรอฟกา เป็นยุทธการรถถังใหญ่ที่สุดตลอดกาล การรบปะทะที่โปรโฮรอฟกาเป็นความสำเร็จในกาตั้งรับของฝ่ายโซเวียตแม้ต้องสูญเสียอย่างมากก็ตาม เมื่อสิ้นสุดการต่อสู้ในวันนั้น ทั้งสองฝ่ายต่างคุมเชิงกัน ปฏิบัติการซิทาเดล ก็หยุดลง กองทัพแดงจึงเริ่มปฏิบัตกการการรุกอย่างรุนแรงในแนวยื่นโอเรลทางเหนือ และสามารถเจาะฝ่านกองทัพเยอรมันได้ ประกอบกับฮิตเลอร์เป็นกังวลกับการยกพลขึ้นบกในซิชิลีของฝ่ายสัมพันธมิตรจึงตัดสินใจยุติการรุก แม้ทางฝ่ายเยอรมันจะได้พื้นที่ทางเหนือก็ตาม ปฏิบัติการเชิงรุกของเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่สองทางด้านตะวันออกจึงยุติลง
ฝ่ายโซเวียตรุกต่อไปยังแนวยื่นที่โอเรลของเยอรมัน มีการตัดสินใจทางยุทธศาสตร์ให้สละโอเรลและถอยไปยังแนวฮาเกรนทางใต้ ฝ่ายโซเวียตทะลวงผ่านไปได้และมุ่งหน้าสู่ฮาร์คอฟอีกครั้ง แม้รถถังไทเกอร์จะทำลายรถถังโซเวียตในด้านหนึ่ง แต่ไม่ช้าก็ถูกโอบล้อมในอีกด้านหนึ่งทางตะวันตก กองทัพที่ 6 ที่สถาปนาขึ้นใหม่หลังจากการยอมจำนนในยุทธการสตาลินกราดอ่อนแอเกินกว่าจะต้านทานทัพโซเวียต กระทั่งสูญเสียทรัพยากรทางอุตสหกรรมและพื้นที่เกษตรกรรมครึ่งหนึ่งที่เยอรมันเองบุกครอง ฮิตเลอร์ตกลงให้ถอยครั่งใหญ่ไปยังแนวนีเปอร์ซึ่งเป็นแนวป้องกันป้อมสนามตามชายแดนตะวันตกของเยอรมัน แต่ปัญหาหลักคือการป้องกันยังไม่ถูกสร้างขึ้น
แม้การพยายามโดยใช้พลร่มจะไร้โชคแต่โดยการที่พลร่มใช้การกำลังที่พลร่มเหล่านนั้นเตรียมไว้ข้ามแม่น้ำนีเปอร์และครองสนามเพลาะ เยอรมันพบว่า ที่จะยื้อแนวนีเปอร์เนื่องจากทัพโซเวียตเติบโตขึ้นและเมื่อสำคัญๆ เริ่มเเตก
โซเวียตฝ่าออกจากหัวสะพานทั้งสองฝั่งของเคียฟและยึดเมืองหลวงของยูเครน ซึ่งขณะนั้นเป็นนครใหญ่ที่สุดอันดับสามในสหภาพโซเวียตไว้ได้
แนวรบยูเครนที่สอง(แนวรบสเต็ปป์)…
ปฏิบัติการ Monte Casino เริ่มต้นขึ้นในตอนต้นปี 1944 หน่วยข่าวกรองสัมพันธมิตรแน่ใจว่าวิหารใน มอนติ คาสซิโน่ มีส่วนช่วยทัพเยอรมันในการสกัดทัพพันธมิตร ในการเตีรยมทัพเพื่อเข้ายึดคาสิโน่ครั้งที่ 2 พันธมิตรสั่งโจมตีทางอาการเหนือวิหารพวก วิหารถูกถล่มราบคาบการถล่มวิหารเคลื่องบินสัมพันธมิตรกว่า 300 เครื่องพร้อมระเบิดกว่า 450 ตัน หลังจากการทิ่งระเบิดของฝ่ายสัมพันธมิตร พลร่มเยอรมันเคลื่อนเข้าบริเวณที่เหลือ และจัดเตรียมแนวรับ
การโจมตีภาคพื้นดินเริ่มเมื่อกองทัพนิวซีแลนด์เคลื่อนตรงเข้าสู่มอนติ คาสซิโน่ จากทางใต้ ตามแนวรถไฟ กองทัพอินเดียก็เดินหน้าและสามารถยึดเทือกเขาสเนกเฮด ทางเหนือของวิหารเยอรมันต่อต้านและโจมตีจนทัพนิวซีแลนด์ต้องถอยร่น
ในการโจมตีครั้งต่อมาเครื่องบินทิ้งระเบิดกว่า 500 ลำทิ้งระเบิดกว่าพันตันถล่มเมืองก่อนการปฏิบัติกาภาคพื้นดิน มีการะดมยิงปืนใหญ่โจมตีเมืองและวิหาร การรุกภาคพื้นดินเริ่มท่ามกลางสายฝน เยอรมันระเบิดเขื่นเหนือแม่น้ำ และบริเวณด้านหน้ามเองถูกน้ำท่วม และระดมยิงปืนใหญ่ พันธมิตรสามารถยึดแฮงก์แมนฮิลและคาสเซิลฮิลได้ นิวซี่แลนหยุดเคลื่อนทัพ
มอนติ คาสซิโน่เป็นแนวรับที่แข็งแนวหนึ่งในสงครามครั้งนี้ จากความล้มเหลวในการุกครั้งที่ 2 และ 3 เพื่อหยุดการคุมเชิงในคาสซิโน สถานการณ์ค่อนข้างสงบ เหนือขึ้นไปที่อันซิโอ ทั้ง 2 ฝ่ายพยายามทุดวิถีทางที่จะเอาชนะ แตะยังไม่มีบทสรุปที่ชัดเจน การุมเชิงในอิตาลีใกล้ถึงขีดสุด พันธมิตรเริ่มการโจมตี
ทัพโปแลนด์เข้าโจมตีใกล้สันเขาสเนกเฮด และกองพลอิสระฝรั่งเศสบุกเข้าตะวันตกของคาสซิโน่ โดยมีกองทัพอังกฤษและสหรัฐตามสมทบ เยอรมันตระหนักถึงอันตรายที่ใกล้เข้ามา จึงถอยทัพไปทางเหนือ เป็นเวลากว่า 4 เดือนนับแต่เริ่มปฏิบัติการ
ความต้องการต่อไปของพันธมิตรคือโรม โดยไม่โอบล้อมข้าศึกที่อันซิโอ การสู้รับในอิตาลียืดเยื้อ การยึดครองโรมมีผลทางการเมืองและจิตวิทยาอย่างสูง เมื่องหลวงของอิตาลี เป็นเมืองที่สำคัญที่สุดในยุโรป ซึ่งเทียบเท่ากับ ปารีส เบอร์ลิน มอสโคว และลอนดอน การยึดครองเมืองเช่นนี้มีผลเหนือมิติทางการทหาร ซึ่งจะเห็นได้จากในเวลาต่อมาชาวอิตาลีอยู่ข้างสัมพันธมิตร
ข่าวการยึดครองโรมไม่ได้รับความสนใจมากนัก อิตาลีถูกแบ่งแยกจากการเปลี่ยนข้างมาอยู่ฝ่ายสัมพันธมิตรการล้มสลายของโรมถูกคาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ความสำคัญของยุทธการดี-เดย์ซึ่งเกิดขึ้นในวันถัดมา บดดบังความสำคัญในการยึดครองโรม
ฝ่ายโซเวียตรุกต่อไปยังแนวยื่นที่โอเรลของเยอรมัน มีการตัดสินใจทางยุทธศาสตร์ให้สละโอเรลและถอยไปยังแนวฮาเกรนทางใต้ ฝ่ายโซเวียตทะลวงผ่านไปได้และมุ่งหน้าสู่ฮาร์คอฟอีกครั้ง แม้รถถังไทเกอร์จะทำลายรถถังโซเวียตในด้านหนึ่ง แต่ไม่ช้าก็ถูกโอบล้อมในอีกด้านหนึ่งทางตะวันตก กองทัพที่ 6 ที่สถาปนาขึ้นใหม่หลังจากการยอมจำนนในยุทธการสตาลินกราดอ่อนแอเกินกว่าจะต้านทานทัพโซเวียต กระทั่งสูญเสียทรัพยากรทางอุตสหกรรมและพื้นที่เกษตรกรรมครึ่งหนึ่งที่เยอรมันเองบุกครอง ฮิตเลอร์ตกลงให้ถอยครั่งใหญ่ไปยังแนวนีเปอร์ซึ่งเป็นแนวป้องกันป้อมสนามตามชายแดนตะวันตกของเยอรมัน แต่ปัญหาหลักคือการป้องกันยังไม่ถูกสร้างขึ้น
แม้การพยายามโดยใช้พลร่มจะไร้โชคแต่โดยการที่พลร่มใช้การกำลังที่พลร่มเหล่านนั้นเตรียมไว้ข้ามแม่น้ำนีเปอร์และครองสนามเพลาะ เยอรมันพบว่า ที่จะยื้อแนวนีเปอร์เนื่องจากทัพโซเวียตเติบโตขึ้นและเมื่อสำคัญๆ เริ่มเเตก
โซเวียตฝ่าออกจากหัวสะพานทั้งสองฝั่งของเคียฟและยึดเมืองหลวงของยูเครน ซึ่งขณะนั้นเป็นนครใหญ่ที่สุดอันดับสามในสหภาพโซเวียตไว้ได้
แนวรบยูเครนที่สอง(แนวรบสเต็ปป์)…
ปฏิบัติการ Monte Casino เริ่มต้นขึ้นในตอนต้นปี 1944 หน่วยข่าวกรองสัมพันธมิตรแน่ใจว่าวิหารใน มอนติ คาสซิโน่ มีส่วนช่วยทัพเยอรมันในการสกัดทัพพันธมิตร ในการเตีรยมทัพเพื่อเข้ายึดคาสิโน่ครั้งที่ 2 พันธมิตรสั่งโจมตีทางอาการเหนือวิหารพวก วิหารถูกถล่มราบคาบการถล่มวิหารเคลื่องบินสัมพันธมิตรกว่า 300 เครื่องพร้อมระเบิดกว่า 450 ตัน หลังจากการทิ่งระเบิดของฝ่ายสัมพันธมิตร พลร่มเยอรมันเคลื่อนเข้าบริเวณที่เหลือ และจัดเตรียมแนวรับ
การโจมตีภาคพื้นดินเริ่มเมื่อกองทัพนิวซีแลนด์เคลื่อนตรงเข้าสู่มอนติ คาสซิโน่ จากทางใต้ ตามแนวรถไฟ กองทัพอินเดียก็เดินหน้าและสามารถยึดเทือกเขาสเนกเฮด ทางเหนือของวิหารเยอรมันต่อต้านและโจมตีจนทัพนิวซีแลนด์ต้องถอยร่น
ในการโจมตีครั้งต่อมาเครื่องบินทิ้งระเบิดกว่า 500 ลำทิ้งระเบิดกว่าพันตันถล่มเมืองก่อนการปฏิบัติกาภาคพื้นดิน มีการะดมยิงปืนใหญ่โจมตีเมืองและวิหาร การรุกภาคพื้นดินเริ่มท่ามกลางสายฝน เยอรมันระเบิดเขื่นเหนือแม่น้ำ และบริเวณด้านหน้ามเองถูกน้ำท่วม และระดมยิงปืนใหญ่ พันธมิตรสามารถยึดแฮงก์แมนฮิลและคาสเซิลฮิลได้ นิวซี่แลนหยุดเคลื่อนทัพ
มอนติ คาสซิโน่เป็นแนวรับที่แข็งแนวหนึ่งในสงครามครั้งนี้ จากความล้มเหลวในการุกครั้งที่ 2 และ 3 เพื่อหยุดการคุมเชิงในคาสซิโน สถานการณ์ค่อนข้างสงบ เหนือขึ้นไปที่อันซิโอ ทั้ง 2 ฝ่ายพยายามทุดวิถีทางที่จะเอาชนะ แตะยังไม่มีบทสรุปที่ชัดเจน การุมเชิงในอิตาลีใกล้ถึงขีดสุด พันธมิตรเริ่มการโจมตี
ทัพโปแลนด์เข้าโจมตีใกล้สันเขาสเนกเฮด และกองพลอิสระฝรั่งเศสบุกเข้าตะวันตกของคาสซิโน่ โดยมีกองทัพอังกฤษและสหรัฐตามสมทบ เยอรมันตระหนักถึงอันตรายที่ใกล้เข้ามา จึงถอยทัพไปทางเหนือ เป็นเวลากว่า 4 เดือนนับแต่เริ่มปฏิบัติการ
ความต้องการต่อไปของพันธมิตรคือโรม โดยไม่โอบล้อมข้าศึกที่อันซิโอ การสู้รับในอิตาลียืดเยื้อ การยึดครองโรมมีผลทางการเมืองและจิตวิทยาอย่างสูง เมื่องหลวงของอิตาลี เป็นเมืองที่สำคัญที่สุดในยุโรป ซึ่งเทียบเท่ากับ ปารีส เบอร์ลิน มอสโคว และลอนดอน การยึดครองเมืองเช่นนี้มีผลเหนือมิติทางการทหาร ซึ่งจะเห็นได้จากในเวลาต่อมาชาวอิตาลีอยู่ข้างสัมพันธมิตร
ข่าวการยึดครองโรมไม่ได้รับความสนใจมากนัก อิตาลีถูกแบ่งแยกจากการเปลี่ยนข้างมาอยู่ฝ่ายสัมพันธมิตรการล้มสลายของโรมถูกคาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ความสำคัญของยุทธการดี-เดย์ซึ่งเกิดขึ้นในวันถัดมา บดดบังความสำคัญในการยึดครองโรม
วันศุกร์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:Hit Back
สถานการณ์โดยรวมหลังจากฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายรุกอักษะก่อนปฏิบัติการ “โอเวอร์ลอร์ด และปฏิบัติการ “บาร์ราติออน”
เมื่อสัมพันธมิตรสามารถขับไล่อิตาลีออกจากแอฟริกาเหนือและยกพลขึ้นบกโจมตีที่เกาะชิชิลียังผลให้ฮิตเลอร์สั่งยกเลิกปฏิบัติการ ปฏิบัติการที่เคริตส์ และจากการโจมตีที่ซิชิลีนั้น ยังส่งผลให้มุสโสลินีถูกโค่นจากอำนาจ
ปฏิบัติการฮัสกี้ เป็นการยกพลขึ้นพื้นแผ่นดินใหญ่ยุโรปเป็นครั้งแรกของฝ่ายสัมพันธมิตร ซึ่งการยกพลครั้งนั้นย่อมจะต้องถูกต่อต้านอย่างหนัก สัมพันธมิตรรู้ถึงความเสียงนี้จึงเปิดปฏิบัติการ มีนส์มิทย์ ซึ่งเป็นการล่วงทางการข่าวซึ่งได้ผลและการยกพลขึ้นบกในครั้งจึงส่งผลต่อฝ่ายอักษะเป็นอย่างมาก
เมื่อมุสโสลินีลงจากอำนาจแล้ว เขาถูกแขวนคอประจานกลางเมือง รัฐบาลใหม่อิตาลีเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตร
สถานการณ์ทางรัสเซียหลังจาก “ยทธการที่เคิสก์”เยอรมันถอนกำลัง แม้ความสูญเสียของ
เยอรมันจะไม่มากเท่ารัฐเซียแต่รัสเซียนั้นสามารถเรียกกำลังเสริมได้อีกมหาศาลในขณะที่ทางฝ่ายเยอรมันยากที่จะหาทดแทน รุสเซียรุกคืบเข้ายึดครองโปลแลนด์โดยให้การสนับสนุนผู้นำที่นิยมคอมมิวนิสต์
สมรภูมิแปซิฟิก นายพลเรือยามาโมโต้ ถูกลอยสังหารโดย P-38 จำนวน18 เครื่องยิงเครื่องบิน ที่นายพลโดยสารมาและด้วยจากการข่าวที่ทางสหรัฐสามารถถอดได้นั้นเอง หลังจากนั้นนายพลเรือเอก โกงะ มิเนะอิจิ เข้ารับตำแหน่งผู้บัญชาการทัพเรือผสม บัญชาการรบครั้งแรกในการบุกเข้ายึดหมู่เกาะมาร์แชล ซึ่งสหรัฐอเมริกาก็สามารถยึดได้โดยสมบูรณ์ในเวลาต่อมาไม่นาน สหรัฐอเมริกาสามารถควบคุมน่านน้ำแปซิฟิกได้เป็นส่วนใหญ่
ภาคพื้นเอเชีย หลังจากญี่ปุ่น มีชัยชนะในการทัพที่มาลายา และยกพลขึ้นบกที่ประเทศไทยแล้ว ก็ทำการเดินทัพเข้ายึดพม่าและเข้าตีเมืองอัสสัมประเทศอินเดียซึ่งเป็นเมืองในอาณัติของอังกฤษ
เจียง ไค เชค ประชุมกับสัมพันธ์มิตรที่ไคโร ประเทศอียิปต์ โดย รูสเวลส์ เชอร์ชิล และเจียง ไค เชค ร่วมลงนามในคำประกาศไคโร เรียกร้องกำหนดให้ญี่ปุ่นยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไข
และการประชุมที่เตหะราน โดยรุสเซียสัญญาจะทำสงครามกับญี่ปุ่นในอนาคต และขับไล่กองกำลังเยอรมันออกจากยุโรปตะวันออก กอบกู้ฝรั่งเศสจากการถูกยึดครอง
เมื่อสัมพันธมิตรสามารถขับไล่อิตาลีออกจากแอฟริกาเหนือและยกพลขึ้นบกโจมตีที่เกาะชิชิลียังผลให้ฮิตเลอร์สั่งยกเลิกปฏิบัติการ ปฏิบัติการที่เคริตส์ และจากการโจมตีที่ซิชิลีนั้น ยังส่งผลให้มุสโสลินีถูกโค่นจากอำนาจ
ปฏิบัติการฮัสกี้ เป็นการยกพลขึ้นพื้นแผ่นดินใหญ่ยุโรปเป็นครั้งแรกของฝ่ายสัมพันธมิตร ซึ่งการยกพลครั้งนั้นย่อมจะต้องถูกต่อต้านอย่างหนัก สัมพันธมิตรรู้ถึงความเสียงนี้จึงเปิดปฏิบัติการ มีนส์มิทย์ ซึ่งเป็นการล่วงทางการข่าวซึ่งได้ผลและการยกพลขึ้นบกในครั้งจึงส่งผลต่อฝ่ายอักษะเป็นอย่างมาก
เมื่อมุสโสลินีลงจากอำนาจแล้ว เขาถูกแขวนคอประจานกลางเมือง รัฐบาลใหม่อิตาลีเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตร
สถานการณ์ทางรัสเซียหลังจาก “ยทธการที่เคิสก์”เยอรมันถอนกำลัง แม้ความสูญเสียของ
เยอรมันจะไม่มากเท่ารัฐเซียแต่รัสเซียนั้นสามารถเรียกกำลังเสริมได้อีกมหาศาลในขณะที่ทางฝ่ายเยอรมันยากที่จะหาทดแทน รุสเซียรุกคืบเข้ายึดครองโปลแลนด์โดยให้การสนับสนุนผู้นำที่นิยมคอมมิวนิสต์
สมรภูมิแปซิฟิก นายพลเรือยามาโมโต้ ถูกลอยสังหารโดย P-38 จำนวน18 เครื่องยิงเครื่องบิน ที่นายพลโดยสารมาและด้วยจากการข่าวที่ทางสหรัฐสามารถถอดได้นั้นเอง หลังจากนั้นนายพลเรือเอก โกงะ มิเนะอิจิ เข้ารับตำแหน่งผู้บัญชาการทัพเรือผสม บัญชาการรบครั้งแรกในการบุกเข้ายึดหมู่เกาะมาร์แชล ซึ่งสหรัฐอเมริกาก็สามารถยึดได้โดยสมบูรณ์ในเวลาต่อมาไม่นาน สหรัฐอเมริกาสามารถควบคุมน่านน้ำแปซิฟิกได้เป็นส่วนใหญ่
ภาคพื้นเอเชีย หลังจากญี่ปุ่น มีชัยชนะในการทัพที่มาลายา และยกพลขึ้นบกที่ประเทศไทยแล้ว ก็ทำการเดินทัพเข้ายึดพม่าและเข้าตีเมืองอัสสัมประเทศอินเดียซึ่งเป็นเมืองในอาณัติของอังกฤษ
เจียง ไค เชค ประชุมกับสัมพันธ์มิตรที่ไคโร ประเทศอียิปต์ โดย รูสเวลส์ เชอร์ชิล และเจียง ไค เชค ร่วมลงนามในคำประกาศไคโร เรียกร้องกำหนดให้ญี่ปุ่นยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไข
และการประชุมที่เตหะราน โดยรุสเซียสัญญาจะทำสงครามกับญี่ปุ่นในอนาคต และขับไล่กองกำลังเยอรมันออกจากยุโรปตะวันออก กอบกู้ฝรั่งเศสจากการถูกยึดครอง
วันพฤหัสบดีที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:1944
มกราคม
- ยุทธการ Monte Cassino เริ่มต้นการรบครั้งแรกของยุทธการทัพอเมริการล้มเหลว..กองทหารราบที่ 36 ของสหรัฐอเมริกาในอิตาลีได้รับความสูญเสียอย่างหนักในการพยายามข้ามแม่น้ำ Rapido.. กองกำลังอเมริกันยกพลขึ้นบกที่หมู่เกาะ Admiralty ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของนิวกีนี..ทัพสหรัฐฯรุกเข้า Majuro ในหมู่เกาะมาร์แชลยกพลขึ้นบกที่เกะ Kwajalein และเกาะอื่นๆ ในหมู่เกาะมาร์แชลซึ่งอยู่ในอาณัติของญี่ปุ่น..กองกำลังอเมริกันยังคงพยายามป้องกันหัวหาดที่ Anzio
- กองทัพอังกฤษเข้ายึดครอง Maugdaw เมื่องท่าสำคัญของฝ่ายสัมพันธมิตรในประเทศพม่า..กองทัพอังกฤษในอิตาลีเดินทัพข้ามแม่น้ำ Garigliano.. กองทัพอากาศอังกฤษทิ้งระเบิด 2,300 ตันเหนือกรุงเบอร์ลิน
- กองทัพยูเครนที่ 1 ของกองทัพแดงบุกเข้าถึงโปแลนด์..กองทัพแดงรุกคืบไปทางตะวันตกเข้าสู่กลุ่มประเทศบอลติก
- ฝ่ายสัมพันธมิตรเร่มปฏิบัติการ Shingle เข้ายึด Anzio อยู่นานถึง 4 เอื่นโดยที่กองปืนเยอรมันรุกใกล้จะถึงชายหาด.. ทัพสัมพันธมิตรพ่ายแพ้ในการพยายามข้ามแม่น้ำ Rapido
กุมภาพันธ์
- การยึดครองหมู่เเกะมาร์แชลของกองทัพอเมริกันใกล้จะสมบูรณ์ แผนการบุกฝรั่งเศสของฝ่ายสัมพันธมิตรในปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ดได้รับอนุมัติ
มีนาคม
-กลุ่มต่อต้านฟาสซิสต์เริ่มการตอบโต้ทางตอนเหนือของอิตาลี
- ญี่ป่นเริ่มรุกรานเข้าสู่อินเดีย เกิดสงครามรอบ Imphal.. ทัพญี่ปุ่นถอนกำลังออกจากพม่า
- กองทัพอากาศโซเวียตโจมตีนาร์วา และทำลายเมืองได้..กองทัพแดงรุกคืบไปทางตะวันตกในยูเครน ส่งผลให้ทัพเยอรมันต้องถอยทัพไป..กองทัพโซเวียตทิ้งระเบิดทางอากาศที่เมือง ทาลลินน์ ผู้เสียชีวิตราว 800 คนเมืองเวียนนาถูกทิ้งระเบิดอย่างหนัก ฟินแลนด์ปฏิเสธข้อตกลงสันติภาพของโซเวียต..แฟรงก์เฟิร์ตถูกทิ้งระเบิดหนักและมีพลเรือนเสียชีวิตจำนวนมาก หลายเมืองในเยอรมันถูกทิ้งระเบิดติดต่อกันเป็นเวลากว่า ยี่สิบสี่ชัวโมง
เมษายน
- สัมพันธมิตร โจมตีเมืองบูดาเปสต์ในฮังการี และเมืองบูคาเรสต์ในโรมาเนีย โดยเครื่องบินทิ้งระเบิดซึ่งทั้งสามเมืองอยู่ในอาณัติเยอรมันในขณะนั้น
- นายพลCharles de Gaulle เข้าบัญชาการกองกำลังอิสระของฝรั่งเศส
- ญี่ปุ่นเครื่องทัพรุกคืบเข้าที่ราบของ Imphal โดยอังกฤษไม่สามารถต้านทานได้..ทัพญ๊ปุ่นเคลื่อนพลเข้าสู่แผ่นดินจีนตอนกลางและมุ่งหน้าลงไปทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีนซึ่งเป็นฐานทัพอากาศขนาดใหญ่ที่ทัพอเมริกันตั้งมั่นอยู่
- ทัพเยอรมันถอนกำลังออกจาก Crimea,Crimea และ Odessa ได้รับการปลดปลอ่ยโดยกองกำลังโซเวียต..กองทัพแดงเข้ายึดเมืองท่าสำคัญ Yalta ของเมืองCrimea
- รัฐบาล Badoglio ของอิตาลีถูกโค่นลง แต่เขารีบจัดตั้งคณะใหม่ขึ้นทันที การทิ้งระเบิดอย่างหนักในกรุงปารีส ทำให้พลเรือนเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก
- กองทัพอังกฤษตีฝ่าเปิดทางจาก Imphal ไปยัง Kohima ในอินเดีย
- เครื่องบินของกองทัพสหรัฐฯโจมตีนิวกีนีโดยทั่วไป ทไรสหรัฐฯสามารถยึด Hollandia และ Aitape ทางตอนเหนือของนิวกีนีได้ ญี่ปุ่นถูกตัดขาดจากภายนอก..ทัพอากาศสหรัฐฯลงที่เมืองมินดาเนา ทางใต้ของฟิลิปปินส์..โศกนาฎกรรม Slapton Sands ทหารอเมริกันถูกสังหารระหวางการฝึกซ้อมเพื่อเตรียมการสำหรับดีเดย์ที่เมือง Slapton ใน Devon
- การเตรียมการครั้งใหญ่สำหรับวันดีเดย์ ตลอดทั่วท่างใต้ของประเทศอังกฤษ
พฤษภาคม
- สัมพันธมิตรทิ้งระเบิดอย่างหนักบนแผ่นดินใหญ่ เพื่อเตรียมการสำหรับวันดีเดย์..กำหนดวันดีเดยสำหรับการปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด ในวันที่ 5 มิถุนายน
- เกิดการรบใหญ่ที่ “แนวกุสตาฟ”ใกล้ มอนติคาสิโน
- ทัพจีนยกพลจำนวนมากเข้ารุกรานตอนเหนือของพม่า
- การรบที่มอนติคาสิโนสิ้นสุดลงโดยฝ่ายสัมพันธมิตรได้รับชัยชนะทหารโปแลนด์แขวนธงสีแดงและขาวบนซากปรักหักพังของเมือง ทัพเยอรมันถอยออกไป
- การต้านทานครั้งสุดท้ายของทัพญี่ปุ่นที่หมู่เกาะ Admiralty ในนิวกีนีสิ้นสุดลง..ทัพอเมริกาขึ้นยึด Biak เกาะในนิวกีนีซึ่งเป็นฐานทัพสำคัญของญี่ปุ่นแต่ฝ่ายญี่ปุ่นต่อต้านยืดเยื้อจนถึงเดือนสิงหาคม..ญี่ปุ่นถอนทัพออกจากอินเดียโดยได้รับความเสียหายอยางหนัก การรุกรานอินเดียเป็นอันสิ้นสุด
- ฝ่ายสัมพันธมิตรทิ้งระเบิดหนักขึ้นในเขตแดนฝรั่งเศสเพื่อเตรียมการสำหรับวันดีเดย์
มิถุนายน
-พลร่มอเมริกันกระโดร่มลง นอร์มังดี เพื่อก่อกวนแนวหลังของเยอรมันก่อนการยกพลขึ้นบกกองทัพสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่นอร์มังดี เริ่มการรบที่นอร์มังดั วันดีเดย์ของปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด พลทหารกว่า 155,000 นายขึ้นฝั่งที่นอร์มังดี
- ปฏิบัติการบาราติออนในเบลารุส และปฏิบัติการขชับไล่ทหารเยอรมันออกจากยูเครนตะวันตกและโปแลนด์ตะวันออก..ขบวนการกู้ชาติโปแลนด์ได้เริ่มต้นก่อการจลาจลโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรุงวอร์ซอ และการจลาจลในสโลวาเกียทางตอนใต้
- กองทัพอเมริกันกดดันแนวป้องกันของญี่ปุ่นตามหมู่เกาะต่าง เริ่มการโจมตีหมู่เกะมเรียนาและปาเลา ซึ่งได้รับชัยชนะเด็ดขาดต่อกองทัพญี่ปุ่นใน “ยุทธนาวีทะเลฟิลิปปินส์”..นายกรัฐมนตรี พลเอกโตโจลาออกจากตำแหน่ง
- สหรัฐฯอเมริกาตั้งฐานทัพที่ฟิลิปปินส์เป็นฐานทัพอากาศซึ่งสามารถรองรับเครื่องยินท้งระเบิดหนักเพื่อโจมตีแผ่นดินใหญ่ญี่ปุ่นได้
กรกฎาคม
- กองทัพเครือจักรภพซึ่งตั้งมั่นอยู่ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้สามารถคลายวงล้อมของกองทัพญ่ปุ่นทีรัฐอัสสัม ผลักดันกองทัพญี่ปุ่นถอยไปได้
- การรัฐประหารในโรมาเนียและบับแกเรีย ส่งผลให้ประเทศทั้งสองเข้ากับฝ่ายสัมพันธมิตร
สิงหาคม
- กองทัพญี่ปุ่นเริ่มได้รับชัยชนะอย่างมากจากการยึดเมืองฉางชาไว้ได้ในที่สุดในตอนกลางเดือนมิถุนายนและยึดเหิงหยางไว้ได้
- สัมพันธมิตรมอบหมายหน้าที่ให้กับกองทัพอิตาลี และเริ่มปลดปล่อยฝรั่งเศส
กันยายน
- กองทัพแดงเคลื่อนทัพไปยังยูโกสลาเวียกองทัพยูโกสลาเวีย ต้องถอยร่นอย่างต่อเนืองเพื่อป้องกันมิให้ถูกตัดจากกำลังส่วนอื่นๆ
ตุลาคม
- กองทัพแดงมีส่วนช่วยเหลือพลพรรคในการปลดปล่อยกรุงเบลเกรด หลังจากนั้นกองทัพแดงได้โจมตีฮังการีครั้งใหญ่ในการรุกบูดาเปสต์
- กองทัพอเมริกันยกพลขึ้นบกที่เกาะเลย์เต และได้รับชัยชนะในยุทธการนี้
พฤศจิกายน
- กองทัพญี่ปุนเดินทัพไปยังมณฑลกวางสี สามารถเอาชนะกองกำลังจีนได้ที่กุ้ยหลินและหลิวโจว และประสบความสำเร็จในการเชื่อมต่อกองทัพญี่ปุ่นในจีนและในคาบสมุทรอินโดจีนในกลางเดือน
ธันวาคม
- กองทัพเยอรมันได้พยายามตีโต้ตอบครั้งใหญ่ที่ป่าอาร์เดนเนสเพื่อที่จะแบ่งแยกฝ่ายพันธมิตรตะวันตก เพื่อที่จะรักษาความสงบทางการเมือง
- ยุทธการ Monte Cassino เริ่มต้นการรบครั้งแรกของยุทธการทัพอเมริการล้มเหลว..กองทหารราบที่ 36 ของสหรัฐอเมริกาในอิตาลีได้รับความสูญเสียอย่างหนักในการพยายามข้ามแม่น้ำ Rapido.. กองกำลังอเมริกันยกพลขึ้นบกที่หมู่เกาะ Admiralty ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของนิวกีนี..ทัพสหรัฐฯรุกเข้า Majuro ในหมู่เกาะมาร์แชลยกพลขึ้นบกที่เกะ Kwajalein และเกาะอื่นๆ ในหมู่เกาะมาร์แชลซึ่งอยู่ในอาณัติของญี่ปุ่น..กองกำลังอเมริกันยังคงพยายามป้องกันหัวหาดที่ Anzio
- กองทัพอังกฤษเข้ายึดครอง Maugdaw เมื่องท่าสำคัญของฝ่ายสัมพันธมิตรในประเทศพม่า..กองทัพอังกฤษในอิตาลีเดินทัพข้ามแม่น้ำ Garigliano.. กองทัพอากาศอังกฤษทิ้งระเบิด 2,300 ตันเหนือกรุงเบอร์ลิน
- กองทัพยูเครนที่ 1 ของกองทัพแดงบุกเข้าถึงโปแลนด์..กองทัพแดงรุกคืบไปทางตะวันตกเข้าสู่กลุ่มประเทศบอลติก
- ฝ่ายสัมพันธมิตรเร่มปฏิบัติการ Shingle เข้ายึด Anzio อยู่นานถึง 4 เอื่นโดยที่กองปืนเยอรมันรุกใกล้จะถึงชายหาด.. ทัพสัมพันธมิตรพ่ายแพ้ในการพยายามข้ามแม่น้ำ Rapido
กุมภาพันธ์
- การยึดครองหมู่เเกะมาร์แชลของกองทัพอเมริกันใกล้จะสมบูรณ์ แผนการบุกฝรั่งเศสของฝ่ายสัมพันธมิตรในปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ดได้รับอนุมัติ
มีนาคม
-กลุ่มต่อต้านฟาสซิสต์เริ่มการตอบโต้ทางตอนเหนือของอิตาลี
- ญี่ป่นเริ่มรุกรานเข้าสู่อินเดีย เกิดสงครามรอบ Imphal.. ทัพญี่ปุ่นถอนกำลังออกจากพม่า
- กองทัพอากาศโซเวียตโจมตีนาร์วา และทำลายเมืองได้..กองทัพแดงรุกคืบไปทางตะวันตกในยูเครน ส่งผลให้ทัพเยอรมันต้องถอยทัพไป..กองทัพโซเวียตทิ้งระเบิดทางอากาศที่เมือง ทาลลินน์ ผู้เสียชีวิตราว 800 คนเมืองเวียนนาถูกทิ้งระเบิดอย่างหนัก ฟินแลนด์ปฏิเสธข้อตกลงสันติภาพของโซเวียต..แฟรงก์เฟิร์ตถูกทิ้งระเบิดหนักและมีพลเรือนเสียชีวิตจำนวนมาก หลายเมืองในเยอรมันถูกทิ้งระเบิดติดต่อกันเป็นเวลากว่า ยี่สิบสี่ชัวโมง
เมษายน
- สัมพันธมิตร โจมตีเมืองบูดาเปสต์ในฮังการี และเมืองบูคาเรสต์ในโรมาเนีย โดยเครื่องบินทิ้งระเบิดซึ่งทั้งสามเมืองอยู่ในอาณัติเยอรมันในขณะนั้น
- นายพลCharles de Gaulle เข้าบัญชาการกองกำลังอิสระของฝรั่งเศส
- ญี่ปุ่นเครื่องทัพรุกคืบเข้าที่ราบของ Imphal โดยอังกฤษไม่สามารถต้านทานได้..ทัพญ๊ปุ่นเคลื่อนพลเข้าสู่แผ่นดินจีนตอนกลางและมุ่งหน้าลงไปทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีนซึ่งเป็นฐานทัพอากาศขนาดใหญ่ที่ทัพอเมริกันตั้งมั่นอยู่
- ทัพเยอรมันถอนกำลังออกจาก Crimea,Crimea และ Odessa ได้รับการปลดปลอ่ยโดยกองกำลังโซเวียต..กองทัพแดงเข้ายึดเมืองท่าสำคัญ Yalta ของเมืองCrimea
- รัฐบาล Badoglio ของอิตาลีถูกโค่นลง แต่เขารีบจัดตั้งคณะใหม่ขึ้นทันที การทิ้งระเบิดอย่างหนักในกรุงปารีส ทำให้พลเรือนเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก
- กองทัพอังกฤษตีฝ่าเปิดทางจาก Imphal ไปยัง Kohima ในอินเดีย
- เครื่องบินของกองทัพสหรัฐฯโจมตีนิวกีนีโดยทั่วไป ทไรสหรัฐฯสามารถยึด Hollandia และ Aitape ทางตอนเหนือของนิวกีนีได้ ญี่ปุ่นถูกตัดขาดจากภายนอก..ทัพอากาศสหรัฐฯลงที่เมืองมินดาเนา ทางใต้ของฟิลิปปินส์..โศกนาฎกรรม Slapton Sands ทหารอเมริกันถูกสังหารระหวางการฝึกซ้อมเพื่อเตรียมการสำหรับดีเดย์ที่เมือง Slapton ใน Devon
- การเตรียมการครั้งใหญ่สำหรับวันดีเดย์ ตลอดทั่วท่างใต้ของประเทศอังกฤษ
พฤษภาคม
- สัมพันธมิตรทิ้งระเบิดอย่างหนักบนแผ่นดินใหญ่ เพื่อเตรียมการสำหรับวันดีเดย์..กำหนดวันดีเดยสำหรับการปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด ในวันที่ 5 มิถุนายน
- เกิดการรบใหญ่ที่ “แนวกุสตาฟ”ใกล้ มอนติคาสิโน
- ทัพจีนยกพลจำนวนมากเข้ารุกรานตอนเหนือของพม่า
- การรบที่มอนติคาสิโนสิ้นสุดลงโดยฝ่ายสัมพันธมิตรได้รับชัยชนะทหารโปแลนด์แขวนธงสีแดงและขาวบนซากปรักหักพังของเมือง ทัพเยอรมันถอยออกไป
- การต้านทานครั้งสุดท้ายของทัพญี่ปุ่นที่หมู่เกาะ Admiralty ในนิวกีนีสิ้นสุดลง..ทัพอเมริกาขึ้นยึด Biak เกาะในนิวกีนีซึ่งเป็นฐานทัพสำคัญของญี่ปุ่นแต่ฝ่ายญี่ปุ่นต่อต้านยืดเยื้อจนถึงเดือนสิงหาคม..ญี่ปุ่นถอนทัพออกจากอินเดียโดยได้รับความเสียหายอยางหนัก การรุกรานอินเดียเป็นอันสิ้นสุด
- ฝ่ายสัมพันธมิตรทิ้งระเบิดหนักขึ้นในเขตแดนฝรั่งเศสเพื่อเตรียมการสำหรับวันดีเดย์
มิถุนายน
-พลร่มอเมริกันกระโดร่มลง นอร์มังดี เพื่อก่อกวนแนวหลังของเยอรมันก่อนการยกพลขึ้นบกกองทัพสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่นอร์มังดี เริ่มการรบที่นอร์มังดั วันดีเดย์ของปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด พลทหารกว่า 155,000 นายขึ้นฝั่งที่นอร์มังดี
- ปฏิบัติการบาราติออนในเบลารุส และปฏิบัติการขชับไล่ทหารเยอรมันออกจากยูเครนตะวันตกและโปแลนด์ตะวันออก..ขบวนการกู้ชาติโปแลนด์ได้เริ่มต้นก่อการจลาจลโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรุงวอร์ซอ และการจลาจลในสโลวาเกียทางตอนใต้
- กองทัพอเมริกันกดดันแนวป้องกันของญี่ปุ่นตามหมู่เกาะต่าง เริ่มการโจมตีหมู่เกะมเรียนาและปาเลา ซึ่งได้รับชัยชนะเด็ดขาดต่อกองทัพญี่ปุ่นใน “ยุทธนาวีทะเลฟิลิปปินส์”..นายกรัฐมนตรี พลเอกโตโจลาออกจากตำแหน่ง
- สหรัฐฯอเมริกาตั้งฐานทัพที่ฟิลิปปินส์เป็นฐานทัพอากาศซึ่งสามารถรองรับเครื่องยินท้งระเบิดหนักเพื่อโจมตีแผ่นดินใหญ่ญี่ปุ่นได้
กรกฎาคม
- กองทัพเครือจักรภพซึ่งตั้งมั่นอยู่ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้สามารถคลายวงล้อมของกองทัพญ่ปุ่นทีรัฐอัสสัม ผลักดันกองทัพญี่ปุ่นถอยไปได้
- การรัฐประหารในโรมาเนียและบับแกเรีย ส่งผลให้ประเทศทั้งสองเข้ากับฝ่ายสัมพันธมิตร
สิงหาคม
- กองทัพญี่ปุ่นเริ่มได้รับชัยชนะอย่างมากจากการยึดเมืองฉางชาไว้ได้ในที่สุดในตอนกลางเดือนมิถุนายนและยึดเหิงหยางไว้ได้
- สัมพันธมิตรมอบหมายหน้าที่ให้กับกองทัพอิตาลี และเริ่มปลดปล่อยฝรั่งเศส
กันยายน
- กองทัพแดงเคลื่อนทัพไปยังยูโกสลาเวียกองทัพยูโกสลาเวีย ต้องถอยร่นอย่างต่อเนืองเพื่อป้องกันมิให้ถูกตัดจากกำลังส่วนอื่นๆ
ตุลาคม
- กองทัพแดงมีส่วนช่วยเหลือพลพรรคในการปลดปล่อยกรุงเบลเกรด หลังจากนั้นกองทัพแดงได้โจมตีฮังการีครั้งใหญ่ในการรุกบูดาเปสต์
- กองทัพอเมริกันยกพลขึ้นบกที่เกาะเลย์เต และได้รับชัยชนะในยุทธการนี้
พฤศจิกายน
- กองทัพญี่ปุนเดินทัพไปยังมณฑลกวางสี สามารถเอาชนะกองกำลังจีนได้ที่กุ้ยหลินและหลิวโจว และประสบความสำเร็จในการเชื่อมต่อกองทัพญี่ปุ่นในจีนและในคาบสมุทรอินโดจีนในกลางเดือน
ธันวาคม
- กองทัพเยอรมันได้พยายามตีโต้ตอบครั้งใหญ่ที่ป่าอาร์เดนเนสเพื่อที่จะแบ่งแยกฝ่ายพันธมิตรตะวันตก เพื่อที่จะรักษาความสงบทางการเมือง
วันพุธที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:Yamamoto Isoroku
พลเรือเอกยามาโมโต้ แห่งกองทัพเรือจักรพรรดนาวีญีปุ่น และผุ้บัญชาการทัพเรือผสมรหว่าง สงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดที่เมืองนากาโอกะ จังหวัดนีงาตะ ประเทศญี่ปุ่น รับปริญญาที่โรงเรียนนายเรือของญี่ปุ่นและนิสิต เก่าของวิทยาลัย
พลเรือเอกอิโซะโระกุ ยะมะโมะโตะ เป็นผู้บัญชาการในปีแรกสำหรับการวางแผนในสงครามหลัก ในสงครามอ่าวเพิร์ล ฮาเบอร์ แผนการรบทั้งหมด นายพลเรืออิโซโรกุ ยามาโมโต้เป็นผู้คิดทั้งหมด และได้ดัแปลงตอร์ปิโด ทำให้ดอร์ปิโดสามารถยิงในน้ำตื้นได้
ในการวางแผนรบที่ยุทธการมิดเวย์ แผนของยามาโมโต้สลับซับซ้อนแต่หนักแน่น ยามาโมโต้รู้ว่าหากเขาโจมตีมิดเวย์ กองเรือแปซิฟิคจะต้องออกมาป้องกันอย่างแน่นอน การต่อสู้ระยะไกลจากญี่ปุ่นขนาดนี้เป็นปัญหาอย่างแน่นอน แต่กองเรือผสมของญี่ปุ่นเห็นว่ามีโอกาสที่จะล่อกองเรือ บรรทุกเครืองยินสหรัฐฯมาติดกับ ซึ่งถ้าเป็นไปตามแผนการที่วางไว้ย่อมคุ้มแน่นอน จึงเสี่ยงที่จะปฏิบัติการ โดยเรื่อบรรทุกเครื่องบิน 4 ลำ จะเป็นกำลังหลักที่จะเข้าโจมตีมิดเวย์ โดยมีกองเรือผิวน้ำที่เข้ามแข็งเป็นกองเรือสนับสนุน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างแน่นอน จำเป็นต้องโจมตีเกาะอาลิวเซียน ซึ่งห่างออกไปทางเหนือ และตวรจการกองเรือสหรัฐ ในกรณีที่สหรัฐจะโจมตีหมู่เกาะคูริลทางเหนือของญี่ปุ่น กองกำลังนี้ประกอบด้วยเรือบรรทุกเครื่องบินเบา 2 ลำ และกองเรือคุ้กัน ประกอบด้วย เรือประจัญบาน 3 ลำ โดยจะอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะอาลิวเซีน แผนนี้กำหนดให้มีการเข้ายึดครองมิดเวย์อย่างรวดเร็ว เพื่อใช้เป็นฐานของเครื่องบินตรวจการณ์ ดังนั้น ยามาโมโต้จึงได้จัดให้เรือบรรทุกเครื่องบินทะเล 2 ลำ คุ้มกันเรื่อผิวน้ำที่สนับสนุนกองเรือหลักที่จะโจมตีมิดเวย์ ผลของสงครามมิดเวย์ญี่ปุ่นถูกถล่มยับเยินแบบไม่เคยมาก่อน สาเหตุสำคัญมาจากการถอดรหัสของกองทัพญี่ปุ่นได้
การถอดรหัสของทหารสหรัฐฯนั้นกระทำโดยญี่ปุ่นไม่รู้ตัว ยุทธการที่มิดเวย์ จึงเหมือนการล่อกองเรือญี่ปุ่นเข้ามาในดงฉลาม ซึ่งเรือบรรทุกเครื่องบินของสหรัฐฯดักรอถึง 4 ลำ การข่าวของญี่ปุ่นไม่ดีพอความคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงโดยโจมตีเรื่อลำเดียวกันถึง สองครั้งและเข้าใจว่าจมเรือศัตรูได้สองลำ ซ้ำร้ายการถอดรหัสของฝ่ายสหรัฐฯนำมาซึ่งการสูญเสียแม่ทัพและผุ้บัญชาการใหญ่ภาคพื้นแปซิฟิกของญี่ปุ่นในขณะเดินทางไปตรวจเยี่ยมทหารที่หมู่เกาะโซโลมอน
18 เมษายน 1943 หนึ่งปีหลังปฏิบัติการ “ดูลิตเติลถล่มโตเกียว” P-38 Lighning 18 เครื่อง บินไปตามจุดนัดเหนือเกาะบูแกวิลย์ ทางตอนใต้ของทะเลโซโลมอนในระยะสูง และทำการถล่มเครื่อง Betty Bomber ที่นายพลยามาโมโต้โดยสารมาหลังจากออกจากฐานทัพราบวล
เชื่อว่าเสียชีวิตในเวลานั้น จากการให้สัมภาษส์นายทหารที่ทำการค้นหาซากเครื่องบินหลังสงครามสงบ เรือตรี โยชิตะ ได้เล่าถึงการเสียชีวิตของ พละรือเอก ยามโมโต้ ผู้บัญชาการทัพเรือผสมว่า “ท่านผู้บัญชาการคงนั่งอยู่บนเก้าอี้ที่หลุกระเด็นออกมาจากเครื่อง ดูราวกับมีชีวิต สายตามองตรงไปข้างหน้า ถุงมือสีขาวที่สวมอยูเปื้อยโคลนเล็กน้อย ดาบซามูไรยังจับอยูด้วยมือทั้งสองอย่างมั่นคงและตั้งอยู่ระหว่างขาทั้งสอง นั่งอยู่คล้ายกับซามูไรที่ยังมีชีวิตอยู่ สีหน้าของท่านเป็นปกติไม่แสดงความเจ็บปวดเลย เครื่องหมายบนอกเสื้อยงส่งแสงระยิบระยับอยู่บนเครื่องแบบสนามสีกากีแกมเขียว เก้าอี้ที่ท่านนั่งถูกเหวียงหลุดกระเด็นไปอยู่ข้างหน้า เครื่องยนต์ซ้าย ซึ่งก็หลุดออกจากปีกของเครื่องยินด้วยเช่นกัน…”
พลเรือเอกอิโซะโระกุ ยะมะโมะโตะ เป็นผู้บัญชาการในปีแรกสำหรับการวางแผนในสงครามหลัก ในสงครามอ่าวเพิร์ล ฮาเบอร์ แผนการรบทั้งหมด นายพลเรืออิโซโรกุ ยามาโมโต้เป็นผู้คิดทั้งหมด และได้ดัแปลงตอร์ปิโด ทำให้ดอร์ปิโดสามารถยิงในน้ำตื้นได้
ในการวางแผนรบที่ยุทธการมิดเวย์ แผนของยามาโมโต้สลับซับซ้อนแต่หนักแน่น ยามาโมโต้รู้ว่าหากเขาโจมตีมิดเวย์ กองเรือแปซิฟิคจะต้องออกมาป้องกันอย่างแน่นอน การต่อสู้ระยะไกลจากญี่ปุ่นขนาดนี้เป็นปัญหาอย่างแน่นอน แต่กองเรือผสมของญี่ปุ่นเห็นว่ามีโอกาสที่จะล่อกองเรือ บรรทุกเครืองยินสหรัฐฯมาติดกับ ซึ่งถ้าเป็นไปตามแผนการที่วางไว้ย่อมคุ้มแน่นอน จึงเสี่ยงที่จะปฏิบัติการ โดยเรื่อบรรทุกเครื่องบิน 4 ลำ จะเป็นกำลังหลักที่จะเข้าโจมตีมิดเวย์ โดยมีกองเรือผิวน้ำที่เข้ามแข็งเป็นกองเรือสนับสนุน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างแน่นอน จำเป็นต้องโจมตีเกาะอาลิวเซียน ซึ่งห่างออกไปทางเหนือ และตวรจการกองเรือสหรัฐ ในกรณีที่สหรัฐจะโจมตีหมู่เกาะคูริลทางเหนือของญี่ปุ่น กองกำลังนี้ประกอบด้วยเรือบรรทุกเครื่องบินเบา 2 ลำ และกองเรือคุ้กัน ประกอบด้วย เรือประจัญบาน 3 ลำ โดยจะอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะอาลิวเซีน แผนนี้กำหนดให้มีการเข้ายึดครองมิดเวย์อย่างรวดเร็ว เพื่อใช้เป็นฐานของเครื่องบินตรวจการณ์ ดังนั้น ยามาโมโต้จึงได้จัดให้เรือบรรทุกเครื่องบินทะเล 2 ลำ คุ้มกันเรื่อผิวน้ำที่สนับสนุนกองเรือหลักที่จะโจมตีมิดเวย์ ผลของสงครามมิดเวย์ญี่ปุ่นถูกถล่มยับเยินแบบไม่เคยมาก่อน สาเหตุสำคัญมาจากการถอดรหัสของกองทัพญี่ปุ่นได้
การถอดรหัสของทหารสหรัฐฯนั้นกระทำโดยญี่ปุ่นไม่รู้ตัว ยุทธการที่มิดเวย์ จึงเหมือนการล่อกองเรือญี่ปุ่นเข้ามาในดงฉลาม ซึ่งเรือบรรทุกเครื่องบินของสหรัฐฯดักรอถึง 4 ลำ การข่าวของญี่ปุ่นไม่ดีพอความคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงโดยโจมตีเรื่อลำเดียวกันถึง สองครั้งและเข้าใจว่าจมเรือศัตรูได้สองลำ ซ้ำร้ายการถอดรหัสของฝ่ายสหรัฐฯนำมาซึ่งการสูญเสียแม่ทัพและผุ้บัญชาการใหญ่ภาคพื้นแปซิฟิกของญี่ปุ่นในขณะเดินทางไปตรวจเยี่ยมทหารที่หมู่เกาะโซโลมอน
18 เมษายน 1943 หนึ่งปีหลังปฏิบัติการ “ดูลิตเติลถล่มโตเกียว” P-38 Lighning 18 เครื่อง บินไปตามจุดนัดเหนือเกาะบูแกวิลย์ ทางตอนใต้ของทะเลโซโลมอนในระยะสูง และทำการถล่มเครื่อง Betty Bomber ที่นายพลยามาโมโต้โดยสารมาหลังจากออกจากฐานทัพราบวล
เชื่อว่าเสียชีวิตในเวลานั้น จากการให้สัมภาษส์นายทหารที่ทำการค้นหาซากเครื่องบินหลังสงครามสงบ เรือตรี โยชิตะ ได้เล่าถึงการเสียชีวิตของ พละรือเอก ยามโมโต้ ผู้บัญชาการทัพเรือผสมว่า “ท่านผู้บัญชาการคงนั่งอยู่บนเก้าอี้ที่หลุกระเด็นออกมาจากเครื่อง ดูราวกับมีชีวิต สายตามองตรงไปข้างหน้า ถุงมือสีขาวที่สวมอยูเปื้อยโคลนเล็กน้อย ดาบซามูไรยังจับอยูด้วยมือทั้งสองอย่างมั่นคงและตั้งอยู่ระหว่างขาทั้งสอง นั่งอยู่คล้ายกับซามูไรที่ยังมีชีวิตอยู่ สีหน้าของท่านเป็นปกติไม่แสดงความเจ็บปวดเลย เครื่องหมายบนอกเสื้อยงส่งแสงระยิบระยับอยู่บนเครื่องแบบสนามสีกากีแกมเขียว เก้าอี้ที่ท่านนั่งถูกเหวียงหลุดกระเด็นไปอยู่ข้างหน้า เครื่องยนต์ซ้าย ซึ่งก็หลุดออกจากปีกของเครื่องยินด้วยเช่นกัน…”
วันอังคารที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:pol
เยอรมันรุกเป็นครั้งสุดท้ายในแนวรบด้านตะวันออกในเดือนกรกฎาคม 1943 ที่ยุทธการ เคิสก์ กองทัพแดงกระหน้ำไม่ยั้งสามารถยันกำลังทัพเยอรมันกลับไปได้ หลังสมรภูมิรบที่สตาลินกราดแล้ว โซเวียตเป็นฝ่ายรุกในที่ทุกแห่งและภายหลังการขับเคียวต่อสู้อย่างหนักก็ประสบชัยชนะในที่สุด..
ฝ่ายประเทศพันธมิตรตะวันตก ก็สามารถเอาชนะคืบหน้าได้ในยุทธภูมิทุกแห่งเช่นกัน และเร่มระแวงกันเองต่างเกรงว่าอีกฝ่ายจะทำสัญญาสันตะภาพแยก สตลินเปลี่ยนท่าทีที่มีต่อประเทศพันธมิตรตะวันตก ภายหลังจากที่รุสเซียรุกคืบเข้ายึดครองดินแดนยุโรปตะวันออกและเยอรมัน สตาลินอ้างการแก้แค้นเยอรมันและการประกันความปลอดภัยจากการโจมตีของเยอรมันในอนาคตขึ้นบังหน้า เพื่อสร้างวงรัฐบริวารทางตะวันตกขึ้น และขยายลัทธิคอมมิวนิสต์เข้าสู่ยุโรป ประเทศพันธมิตรตะวันตกมีสภาพอ่อนล้าเกินกว่าจะจัดการกับสตาลินได้ เมื่อประเทศพันธมิตรตะวันตกไม่สามารถเปิดแนวรบที่ 2 ตามที่สตาลินต้องการได้ โซเวียตดำเนิการตั้งรับเพื่อรักษาพรมแดนด้วยการจัดตั้งระบบคอมมิวนิสต์และการใช้อำนาจเบ็ดเสร็จ สตาลินยึดอูเครนคืนจากเชคโกสโลวะเกีย แม้ว่าโซเวียตจะเข้าร่วมองค์การสหประชาชาติ แต่สตาลินก็ไม่ยอมรับอุดมการณ์ประชาธิปไตยแบบตะวันตก และไม่ให้ความร่วมมือตกลงอย่งง่าย ๆ ยิ่งโซเวียตรุกคืบเข้าแดนตะวันตกได้ไกลเท่าใด สตาลินจะบรรลุจุดหมายได้ยิ่งขึ้นเท่านั้น ขณะที่พันธมิตรตะวันตกขัดแย้งแตกแยกและสับสน และไม่เห็นความจริง โซเวียตได้ถือโอกาสทำแต้มได้มากที่เดียว
สัมพันธมิตรตะวันตกมีปัญหาสำคัญคือเรื่องโปแลนด์ ในเดือนเมษยน 1943 เยอรมันพบศพทหารชาวโปลหลายพันคนในเขตป่ากาตินใกล้เกบสโมเลนส์โซเวียตกล่าวหาวานาซีเป็นมือสังหาร แต่หลักฐานบ่งชี้ว่าเป็นฝีมือของฝ่ายรักษาความมั่นคงโซเวียต ตั้งแต่ ปี่ 1940 รัฐบาลพลัดถิ่นโปแลนด์เรียกร้องให้ดำเนินการสอบสวน โซเวียตตัดสัมพันธ์กับรัฐบาลโปลทันที่ สัมพันธ์ภาพระหว่างโซเวียตและโปแลนด์ในระหว่างสงครามยุติลง
ที่ประชุม ณ เมืองเตหะราน เมื่อเดือนพฤศจิกายน 1943 เชอร์ชิลเสนอให้ใช้เส้นแบ่งเขตเคอร์ชัน กำหนดพรมแดนโปแลนด์ทางด้านตะวันออกให้ชดเชยดินแดนทางตะวันตกที่สูญเสียไป โดยดึงส่วนของเยอรมันมาชดเชย สตาลินตกลงทันที่และเสนอให้ใช้เส้นแบ่งเขตโอเดอ เนอีสเป็นพรมแดนตะวันตก ซึ่งขยับโปแลนด์ให้เขยื้อนไปทางตะวันตก เชอร์ชิลชักชวนรัฐบาลโปลที่ลอนดอนให้ยอมรับข้อต่อรองนี้ แต่เมือสตานิสลาส มิโก ลาซซิก ผู้นำรัฐบาลโปลพลัดถิ่นคนใหม่เดินทางไปมอสโก ในปี 1944 สหภาพโซเวียตให้การรับรองคณะกรรมธิการลับลินเพื่ออิสรภาพแห่งโปแลนด์ ซึ่งนิยมคอมมิวนิสต์ไปเรียบร้อยแล้ว สิงหาคม กองทัพแดงทีตั้งมี่นอยู่ที่ปราการ เคลื่อนข้ามแม่น้ำวิสตูลาเข้าใกล้กรุงวอร์ซอร์ กองกำลังโปลใต้ดินจัดตั้งแนวร่วมกับรัฐบาลพลัดถิ่นที่ลอนดอนก่อการลุกฮือขึ้นต่อสู้นาซี โศกนาฏกรรมครั้งสำคัญของชาติโปลที่อาภัพเกิดขึ้นอีก กองทัพโซเวียตนิ่งเฉพยปล่อยให้นาซีเยอรมันทำลายแกนกำลังชาวโปล ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อคอมมิวนิสต์ และเป็นอุปสรรคต่อการเข้ายึดครองโปแลนด์ของโซเวียต จากนั้นทัพโซเวียตจึงค่อยบุกเข้าขับไล่นาซีออกไปจากกรุงวอร์ซอว์ คณะกรรมมาธิการคอมมิวนิสต์โปลได้จัดตั้งรัฐบาลแห่งชาติโปแลนด์ขึ้น
ความขัดแย้งเรื่องการเปิดแนวรบที่ 2 เป็นเหตุให้ไมตรีกับฝ่ายสัมพันธมิตรร้าวฉาน ที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศที่มอสโกในเดือนตุลาคม ปี 1943 โซเวียตให้ประเทศตะวันตกรับประกันว่าจะบุกฝรั่งเศสในฤดูใบไม่ผลิทีจะถึง ที่ประชุมเมืองเตหะรานในเดือนพฤศจิกายน สตาลินคัดค้านเชอร์ชิลที่เสนอให้บุกบอลข่านเพราะต้องการกันมิให้โซเวียตขยายอิทธิพลเข้าสู่อาณาเขตนี้ สหรัฐฯสนับสนุนให้บุกฝรั่งเศส สตาลินอาศัยที่รูสเวลท์และเชอร์ชิลขัดแย้งกันเนือ่งจากทั้งสองที่บุคลิกและทัศนะที่แตกต่างกันหาประโยชน์ได้สำเร็จ การยกพลบุกฝรั่งเศสทางฝั่งนอร์มัดีช่วยให้โซเวียตคลายกังวลเรื่องที่นาซีและประเทศตะวันตกจะทำสนธิสัญญาสันติภาพแยกและยุติสงครามเร้ซเกินไป พันธมิตรยกพลขึ้นบก บุกฝรั่งเศสที่นอร์มังดีในเดือนมิถุนายน ปี 1944
ขณะที่กองทัพโซเวียตคืบเข้าสู่โปแลนด์และบอลข่าน เชอร์ชิลได้พยายามขยายปริมณฑลเขตอิทธิพลของอังกฤษภายหลังสงคราม รูสเวลท์ประณามการกระทำดังกล่าวในเดือนมิถุนาปี 1944 เชอร์ชิลเสนอรูปแบบการจัดอิทธิพลในยุโรปตะวันออกได้แก่ โซเวียตมีอิทธิพลในรูเมเนียและบัแกเรีย ร้อยละ 90 อังกฤษได้คุมกรีซเช่นกัน ให้แบ่งยูโกสลาเวียและ ฮังการีกันครองประเทศละครึ่ง แต่ข้อเสนอนี้ไม่มีความหมาย เพราะโซเวียตยึดครองและควบคุมดินแดนดังกล่าวไว้หมดแล้ว
ฝ่ายประเทศพันธมิตรตะวันตก ก็สามารถเอาชนะคืบหน้าได้ในยุทธภูมิทุกแห่งเช่นกัน และเร่มระแวงกันเองต่างเกรงว่าอีกฝ่ายจะทำสัญญาสันตะภาพแยก สตลินเปลี่ยนท่าทีที่มีต่อประเทศพันธมิตรตะวันตก ภายหลังจากที่รุสเซียรุกคืบเข้ายึดครองดินแดนยุโรปตะวันออกและเยอรมัน สตาลินอ้างการแก้แค้นเยอรมันและการประกันความปลอดภัยจากการโจมตีของเยอรมันในอนาคตขึ้นบังหน้า เพื่อสร้างวงรัฐบริวารทางตะวันตกขึ้น และขยายลัทธิคอมมิวนิสต์เข้าสู่ยุโรป ประเทศพันธมิตรตะวันตกมีสภาพอ่อนล้าเกินกว่าจะจัดการกับสตาลินได้ เมื่อประเทศพันธมิตรตะวันตกไม่สามารถเปิดแนวรบที่ 2 ตามที่สตาลินต้องการได้ โซเวียตดำเนิการตั้งรับเพื่อรักษาพรมแดนด้วยการจัดตั้งระบบคอมมิวนิสต์และการใช้อำนาจเบ็ดเสร็จ สตาลินยึดอูเครนคืนจากเชคโกสโลวะเกีย แม้ว่าโซเวียตจะเข้าร่วมองค์การสหประชาชาติ แต่สตาลินก็ไม่ยอมรับอุดมการณ์ประชาธิปไตยแบบตะวันตก และไม่ให้ความร่วมมือตกลงอย่งง่าย ๆ ยิ่งโซเวียตรุกคืบเข้าแดนตะวันตกได้ไกลเท่าใด สตาลินจะบรรลุจุดหมายได้ยิ่งขึ้นเท่านั้น ขณะที่พันธมิตรตะวันตกขัดแย้งแตกแยกและสับสน และไม่เห็นความจริง โซเวียตได้ถือโอกาสทำแต้มได้มากที่เดียว
สัมพันธมิตรตะวันตกมีปัญหาสำคัญคือเรื่องโปแลนด์ ในเดือนเมษยน 1943 เยอรมันพบศพทหารชาวโปลหลายพันคนในเขตป่ากาตินใกล้เกบสโมเลนส์โซเวียตกล่าวหาวานาซีเป็นมือสังหาร แต่หลักฐานบ่งชี้ว่าเป็นฝีมือของฝ่ายรักษาความมั่นคงโซเวียต ตั้งแต่ ปี่ 1940 รัฐบาลพลัดถิ่นโปแลนด์เรียกร้องให้ดำเนินการสอบสวน โซเวียตตัดสัมพันธ์กับรัฐบาลโปลทันที่ สัมพันธ์ภาพระหว่างโซเวียตและโปแลนด์ในระหว่างสงครามยุติลง
ที่ประชุม ณ เมืองเตหะราน เมื่อเดือนพฤศจิกายน 1943 เชอร์ชิลเสนอให้ใช้เส้นแบ่งเขตเคอร์ชัน กำหนดพรมแดนโปแลนด์ทางด้านตะวันออกให้ชดเชยดินแดนทางตะวันตกที่สูญเสียไป โดยดึงส่วนของเยอรมันมาชดเชย สตาลินตกลงทันที่และเสนอให้ใช้เส้นแบ่งเขตโอเดอ เนอีสเป็นพรมแดนตะวันตก ซึ่งขยับโปแลนด์ให้เขยื้อนไปทางตะวันตก เชอร์ชิลชักชวนรัฐบาลโปลที่ลอนดอนให้ยอมรับข้อต่อรองนี้ แต่เมือสตานิสลาส มิโก ลาซซิก ผู้นำรัฐบาลโปลพลัดถิ่นคนใหม่เดินทางไปมอสโก ในปี 1944 สหภาพโซเวียตให้การรับรองคณะกรรมธิการลับลินเพื่ออิสรภาพแห่งโปแลนด์ ซึ่งนิยมคอมมิวนิสต์ไปเรียบร้อยแล้ว สิงหาคม กองทัพแดงทีตั้งมี่นอยู่ที่ปราการ เคลื่อนข้ามแม่น้ำวิสตูลาเข้าใกล้กรุงวอร์ซอร์ กองกำลังโปลใต้ดินจัดตั้งแนวร่วมกับรัฐบาลพลัดถิ่นที่ลอนดอนก่อการลุกฮือขึ้นต่อสู้นาซี โศกนาฏกรรมครั้งสำคัญของชาติโปลที่อาภัพเกิดขึ้นอีก กองทัพโซเวียตนิ่งเฉพยปล่อยให้นาซีเยอรมันทำลายแกนกำลังชาวโปล ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อคอมมิวนิสต์ และเป็นอุปสรรคต่อการเข้ายึดครองโปแลนด์ของโซเวียต จากนั้นทัพโซเวียตจึงค่อยบุกเข้าขับไล่นาซีออกไปจากกรุงวอร์ซอว์ คณะกรรมมาธิการคอมมิวนิสต์โปลได้จัดตั้งรัฐบาลแห่งชาติโปแลนด์ขึ้น
ความขัดแย้งเรื่องการเปิดแนวรบที่ 2 เป็นเหตุให้ไมตรีกับฝ่ายสัมพันธมิตรร้าวฉาน ที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศที่มอสโกในเดือนตุลาคม ปี 1943 โซเวียตให้ประเทศตะวันตกรับประกันว่าจะบุกฝรั่งเศสในฤดูใบไม่ผลิทีจะถึง ที่ประชุมเมืองเตหะรานในเดือนพฤศจิกายน สตาลินคัดค้านเชอร์ชิลที่เสนอให้บุกบอลข่านเพราะต้องการกันมิให้โซเวียตขยายอิทธิพลเข้าสู่อาณาเขตนี้ สหรัฐฯสนับสนุนให้บุกฝรั่งเศส สตาลินอาศัยที่รูสเวลท์และเชอร์ชิลขัดแย้งกันเนือ่งจากทั้งสองที่บุคลิกและทัศนะที่แตกต่างกันหาประโยชน์ได้สำเร็จ การยกพลบุกฝรั่งเศสทางฝั่งนอร์มัดีช่วยให้โซเวียตคลายกังวลเรื่องที่นาซีและประเทศตะวันตกจะทำสนธิสัญญาสันติภาพแยกและยุติสงครามเร้ซเกินไป พันธมิตรยกพลขึ้นบก บุกฝรั่งเศสที่นอร์มังดีในเดือนมิถุนายน ปี 1944
ขณะที่กองทัพโซเวียตคืบเข้าสู่โปแลนด์และบอลข่าน เชอร์ชิลได้พยายามขยายปริมณฑลเขตอิทธิพลของอังกฤษภายหลังสงคราม รูสเวลท์ประณามการกระทำดังกล่าวในเดือนมิถุนาปี 1944 เชอร์ชิลเสนอรูปแบบการจัดอิทธิพลในยุโรปตะวันออกได้แก่ โซเวียตมีอิทธิพลในรูเมเนียและบัแกเรีย ร้อยละ 90 อังกฤษได้คุมกรีซเช่นกัน ให้แบ่งยูโกสลาเวียและ ฮังการีกันครองประเทศละครึ่ง แต่ข้อเสนอนี้ไม่มีความหมาย เพราะโซเวียตยึดครองและควบคุมดินแดนดังกล่าวไว้หมดแล้ว
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...