นอร์มังดีเป็นสมรภูมิที่ฝ่ายสัมพันธมิตรเลือกที่จะยกพลขึ้นบกทางตอนใต้ของฝรั่งเศสเพื่อรบกวนแนวหลังของเยอรมัน โดยบุกข้ามช่องแคบอังกฤษจากฐานที่ตั้งชั่วคราวในแนวรบที่อยู่ทางตอนใต้ของประทเษอังกฤษ(เมืองพอร์ทสมัธ)มายังหัวหาดนอร์มังดีภายมต้แผนปฏิบัติกาโอเวอร์ลอร์ด หรือที่รู้จักกันว่า วันดี-เดย์
กองกำลังฝ่ายสัมพันธิมิตรนั้นประกอบด้วยทหารจากหลายประเทศด้วยกัน ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร แคนาดา นอกจานี้ทหารจากกองกำลังฝรั่งเศสเสรี และโปแลนด์ได้เข้าร่วมกับกองกำลังสัมพันธมิตรด้วย เมื่อทจู่โจมจากเกาะอังกฤษเข้าสู่ฝรั่งเศสได้แล้ว ยังมีกองทหารจากหลายประเทศเข้ามาร่วมกับพันธมิตรหลังจากนั้นด้วย ได้แก่ เบลเยี่ยม เชโกสโลวาเกีย กรีซ เนเธอร์แลนด์ และนอร์เวย์
การบุกหัวหาดนอร์มัดีเริ่มต้นตั้งแต่คือวันที่ 5 มิถุนายน โดยเครื่องบินท้งพลร่มและเครื่องร่อนลงมา และกองทัพอากาศฝ่ายสัมพันธมิตรเริ่มเปิดการทิ้งระเบิดกองทัพเยอรมันที่ประจำอยู่ตามเมืองริมชายฝั่งของฝรั่งเศส รวมถึงการยิงปืนใหญ่จากเรือรบพันธมิตร กระทั่งการบุกข้ามทะเลของกองกำลังหลักเริ่มต้นขึ้นในตอนเช้าของวันที่ 6 และต่อจากนั้นอีก 2 เดือน จนถึงการปลดปล่อยปารีสในปลายเดือนสิงหาคม 1944 เป็นอันสิ้นสุดภาระกิจ
ในแผนดังกล่าว ถูกหนดไว้คือวันที่ 5 มิถุนา จะมีพลริ่มลงไปหลังแนวป้องกันก่อน เพื่อตัดกำลังและคุมสะพานไม่ใด้พวกเยอรมันที่อยู่หลังแนวรบ ส่งกำลังมาหน้าแนวได้ทัน ได้มีการทิ้งห่นพลร่มปลอมในบางจุดด้วย
เช้าวันที่ 6 กองทัพเรือขนาดใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โลก ยาตราเข้าอ่าวนอร์มังดี บนหาดมีเครื่องกีดขวางมากมาย แม้แต่เรือเล็กก็ไม่สามารถเข้าใกล้ตัวหาดได้มากนัก บนหาดถูกต่อต้านโดยปืนใหญ่ ปืนกลหนัก เครื่องยิงลูกระเบิด และปืนต่อต้านรถถังจำนวนมาก ทั้งยังมีรั่วลวดหนามคูดักรถถัง และกับระเบิดบนหาด ทหราเสียชีวิตมากมายก่อนจะยึดหัวหาดได้ โดยเฉพาะที่หาดโฮมาฮ่า
แผนการรับมือครั้งนี้ โดย จอมพล รอมเมลคือต้องการสร้าง
เครื่องกีดขวางและเครื่องป้องกันหาดต่าง ๆ บนหาดให้มากที่สุด เพราะเมื่อหาดถูกบุก หาดจะถูกป้องกันพวกพันธมิตร จะต้องตายคาหาด แต่ฮิตเลอร์ไม่เห็นด้วย โดยเห็นว่าการตั้งรับควรอยู่หลังแนวหาดมากกว่า คือควรจะจัดการกับพวกสัมพันธมิตรบนบกหลังแนวดีกว่า จึงดึงกำลังสำคัญ เช่น หน่วยยานเกราะเกือบทั้งหมดไปอยู่ส่วนหลัง เหลือเพียงกองพลยานเกราะที่ 21 กองพลเดียว พร้อมกับกองพลทหารราบ 38 กองพล วางกลังอยู่ตั้งแต่เมืองท่าคาเล่ย์ของฝรั่งเศส ขึ้นเหนือไปถึงฮอลเเลนด์ และเลยลงไปทางใต้ถึงชายแดนสเปน แนวตั้งรับของเยอรมันมีระยะทางที่ยาวมาก กำลังทหารเยอรมันจึงไม่เพียงพอต่อการต่อต้านการยกพลขึ้นบก ในขณะเดียวกัน ลูฟวาฟเฟ ของเยอรมันก็มีเครื่องบินขับไล่และเครื่องบินทิ้งระเบิดนอ้ยเกินกว่าจะรับมือได้
กำลังฝ่ายสัมพันธมิตรที่จะยกพลขึ้นบกประกอบด้วย กองพลทหารราบที่ 39 กองพล(สหรัฐ 20 กองพล อังกฤษ 3 กองพล แคนาดา 1 กองพล และฝรั่งเศสอิสระ1 กองพล โปแลนด์ 1 กองพลเครื่องบินขับไล่ กว่า 5,000 ลำ เครื่องร่อน 2,600 ลำ เรือรบและเรื่ออื่นๆ กว่า 6,000 ลำ ซึ่งแม้จะนวนทหารราบจะใกล้เคียงกัน แต่ด้วยแนวรบที่ตั้งรับเป็นระยะยาวจึงทำให้จำนวนทหารฝ่ายเยอมันกระจายออกในขณะที่ ทหารฝ่ายสัมพันธมิตรรวมกันเป็นจุดเดียว
เยอรมันเชื่อว่าการยกพลขึ้นบกจะมีขึ้นในฤดูร้อนของปี 1944 โดยมีการเตรียมการขนานใหญ่ที่สามารถสังเกตเห็นได้ในอังกฤษ ฝ่ายสัมพันธมิตเองก็พยายามลวงฝ่ายเยอรมันว่าการยกพลขึ้นบกจะมีขึ้นที่คาเล่ย์ สายลับทั้งสองฝ่ายต้องทำงานกันอย่งหนัก สายลับสัมพันธมิตรพยายามปล่อยข่าวสถานที่ยกพลขึ้นบกหลายห่ง จนสายลับเยอรมันในอังกฤษเกิดความสับสน นายพล ดไวท์ ดี.ไอเซนฮาว ผู้บัญชาการสุงสุดในยุทธการครั้งนี้ ก็วางแผนที่จะเริ่มการยกพลขึ้นบกในวันที่ 5-7 มิถุนายน ในเวลารุ่งเช้า แต่สภาพภูมิอากาศที่เลวร้าย คลื่นลมบริเวณช่องแคลอังกฤษแรงราวกับทะเลคลั่ง การปฏิบัติการจึงต้องเลื่อนออกไปอีก 24 ชม.กระทั่งเช้าวันที่ 6 นายพล ไอร์เซนฮาวน์จึงตัดสินใจที่จะเริ่มการยกพลขึ้นบก
ฝ่ายเยอมันสับสนกับข่าวการยกพลขึ้นบก ข่าววิทยุจาสถานกระจายเสียงจากกรุงลอนดอนของอังกฤษ สามารถรับฟังได้อย่างชัดเจนในฝรั่งเศส ซึ่งมักจะส่งข่าวให้พวกใต้ดินในฝรั่งเศส ฝ่านทางข้อความที่เป็นรหัสลับ ออกข่าวเป็นบทกวี ซึ่งเป็นสัญญาณให้หน่วนใต้ดินฝรั่งเศสทราบว่าการบุกกำลังจะเกิดขึ้น เยอรมันจับรหัสนี้ได้ แต่สภาพอากาศที่เลวร้าย ทะเลมีคลื่อลมแรง เยอรมันตายใจ ไม่คิดว่าการยกพลจะเกิดขึ้นในสภาพอากาศที่เลวร้ายอย่างนี้ จอมพลรอมเมลเอง ก็เดินทางกลับเยอรมัน ไม่มีใครคาดคิดว่าการยกพลกำลังจะเกิดขึ้น
คือนวันที่ 5 ต่อเช้าวันที่ 6 พันธมิตรส่งพลร่มเข้าโจมตีตามจุดต่างๆ ของเมือง โดยปล่อยหุ่นและปะทัดเข้าปะปนมากับพลร่มเพื่อสร้างกลลวง การปฏิบัติการดังกล่าว บางคนกล่าวว่าเป็นปฏิบัติการฆ่าตัวตาย เนื่องจากการเข้ามาในเขตของข้าศึกโดยไม่มีกำลังสนับสนุน การสู้รบจึงเป็นไปด้วยความลำบาก แต่ด้วยความกล้าหาญของทหารหาญซึ่งต่อสู้กระทั่งกองกำลังสมทบมาถึง
หาดโอมาฮ่า สถานะการณ์รุนแรงที่สุด ซึ่งกองพลทหารราบของสหรัฐ ได้รับการสนับสนุนด้วยรถถังเพียง 5 คัน การต้อนรับในหาดนี้เยอรันมีประสบการณ์จากกองพลที่ 352 แม้จะมีการระดมยิงจากปืนเรือก่อนขึ้นหาด แต่กองพลเยอรมันส่วนใหญ่ไม่ได้รับความเสียหายความสูญเสียมีมากกกระทั่งนายพลโอมาร์ แบรดลีย์ ของสหรัฐฯ พิจารณาถึงการจะถอนตัวจากหาดนี้ แต่ในที่สุดอเมริกันก็สามารถยึดหาดโอมาฮ่าได้..
หาดโกลด์ กองพลทหาราบที่ 50 และกองพลน้อยยานเกราะที่ 8 ของกองทัพอังกฤษที่พรั่งพร้อมด้วยรถถัง และอาวุธหนัก บุกเข้าโจมรีแนวต้านทานของเยอรมันตลอดแนวชายหาด การสู้รบที่หนักหน่วงที่สุด เกิดขึ้นที่หมูบ้านเล็ก ๆ ซึ่งถูกดัดแปลงให้เป็นป้อมปรากการ มีการวางปืนใหญ่ขนาด 75 มม. จำนวนหนึ่ง ซึ่งสามารถยิงครอบคลุมได้ทั้งหาด รถถังอังกฤษ 4 ใน 5 คันถูกทำลายทันทีเมื่อถึงหาดโกลด์ อังกฤษต่อสู้อย่างยืนหยัดนานกว่า 8 ชม.โดยปราศจากการสนับสนุนจากอาวุธหนักเช่นรถถัง การต่อสู้แบบประชิดตัวในที่สุดทหารอังกฤษก็สามารถรถกเข้าไปถึง 13 กม.จากหัวหาดโกลด์
สิ้นสุดวันอันยาวนาน The longest day ฝ่ายสัมพันธมิตรกว่า 150,000 คน สามารถยึดครองพื้นที่ กว่า 200 ตารางกิโลเมตรตามแนวหาดนอร์มังดี นับจากวัน ดี-เดย์เป็นต้นมาเยอรมันก็เร่มเป็นฝ่ายถอย และเป็นการเริ่มต้นของการปลดปล่อยฝรั่งเศสพร้อมๆกับการเริ่มต้นของการล่มสลายของระบอบปกครองนาซี..
วันพฤหัสบดีที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556
วันพุธที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556
WWII:Last Emperer:KMT:CCP
สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ พระราชสมภพ 7 กุมภาพันธ์ 1906 พระนามเต็มว่า อ้ายซินเจว๋หลัว ผู่อี๋ หรือ เฮนรี่ ผู่อี๋ เป็นจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ชาวแมนจู แห่งราชวงศ์ชิง เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ชิง และเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายของประเทศจีนมีปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเซวียนถ่ง จากปี 1908-1912 กรุทั่งสละราชสมบัติ ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 1912 ในช่วงเวลาการฟื้นฟูราชวงศ์ช่วงสั้นๆ ในเดือนกรกฎาคม ปี 1917 โดยขุนสึก จาง ซวิน ในปี 1934 ได้สถาปนาเป็น สมเด็จพระจักพรรดิคังเต๋อ ในประเทศแมนจูกัว ซึ่งสถาปนาขึ้นโดยจักรวรรดิญี่ปุ่น และครองราชย์จนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี 1945
ภายหลังการก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีนในปี 1949 ปูยีได้เข้าเป็นสมาชิกสภาที่ปรึกษาการเมืองแป่งชาติ ตั้งแต่ปี 1964 กระทั่งสวรรคตเยี่ยงสามัญชนในปี 1967
ผู่อี๋ สืบราชสมบัติต่อจากสมเด็จพระจักรพรรดิกวังซวี โดยผู่อี๋เป็นโอรสองค์โตของเจ้าชายชุนที่ 2 ซึ่งเป็นโอรสของ อี้ซวน เจ้าชายชุนที่ 1 ฌเยเจ้าชายชุนและพระสนมของพระองค์ ท่านผู้หญิงหลิงกิยาเมื่อเป็นสนมของ เจ้ชายชุนที่1 เพราะฉพนั้นไจเชง เจ้าชายชุนที่ 2 จึงเป็นพี่น้องร่วมชนกเดียวกับสมเด็จพระจักรพรรดิกวังซวี่และเป็นทายาทสืบราชบัลลังก์ที่อยู่ในลำดับแรก
ผู่อี๋เป็นราชสกุล อ้ายซิเจว๋หลัวในสายที่ผูกพันกันแน่นกับเผ่าเย่เหอนาลาของพระนางซูสีไทเฮา นัดดาของพระนางซูสีไทเฮา คือ สมเด็จพระพันปีหลวงหลงยู่ ก็เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระจักรพรรดิกวังซวี
พระอนุชาของผู่อี๋คือ เจ้าชายผู่เจี๋ย ซึ่งต่อมาได้สมรสกับพระญาติของจัรพรรดิโชวะ คือ เจ้าหญิงฮิโระ ซะงะ ซึ่งกฎมณเทียรบาลในเรื่องการสืบราชสมบัตินั้นให้ผู่เจี๋ยสืบราชบัลลังก์จากผู่อี๋ซึ่งไม่มีบุตรได้
ผู่เริ่นพี่น้องของผู่อี๋เพียงคนเดียวที่ยังทีชีวิตอยู่ และปัจจุยันได้เปลี่ยไปเป็นชื่อจีน คือ จิน โหย่วจือ ปัจจุบันอาศัยอยู่ที่ประเทศจีน จินโหยว่จือได้ยืนฟ้องดำเนินต่อศาลเกี่ยวกับสิทธิในรูปของผู่อี๋และความเป็นส่วนตัว โดยได้กล่าวว่าสิทธิของเขาได้ถูกละเมิดจากงานจัดแสดง “จักรพรรดิพระองค์สุดท้ายและราชวงศ์”
ผู่อี๋ ถูกเลื่อนให้เป็นจักรพรรดิโดยพระนางซูสีไทเฮา ในขณะที่ปรชวรหนักอยู่บนพระแท่นบรรทม ผู่อี๋ขึ้นเป็นจักรพรรดิในขณะที่มีพระชนมายุ ได้ 2 พรรษากับอีก 10 เดือน พระบิดาของพระองค์ขึ้นเป็นผู้สำเร็จราชการในระหว่งพิธีราชาภิเษกที่พระที่นั่งไท่เหอ พระบิดาได้อุ้มจักรพรรดิที่ยังทรงเยาว์ขึ้นไปยังบนบัลลังก์ พระองค์ทรงร้องไห้ พระราชบิดาทำสิ่งใดไม่ได้เพียงพูดปลอบใจว่า “อย่างร้องไห้ เดี๋ยวก็เสร็จแล้ว”
แม่นมของปูยี เหวิน เฉาหว่าง เป็นเพียงคนเดียวที่สามารถควบคุมพระองค์ได้ เพราะฉะนั้นเธอจึงได้ตามพระองค์เข้าพระราชวังต้องห้าม แต่เธอก็ออกจากพระราชวังต้องห้ามเมื่อพระอง์มีพระชนมายุได้ 8 พรรษา
การเลี้ยงดูอบรมสั่งสอนนผู่อี๋เป็นไปด้วยความยากในการเลี้ยงดูให้พระองค์เป็นผู้มีสุขภาพที่ดีเช่นเด็กปกติ พระองค์ถูกเลี้ยงดูดังเทพเจ้าและไม่สามารถที่จะประพฤติตัวได้อย่างเด็ก ชีวิตวัยผู้ใหญ่ของพระองค์ ยกเว้นแม่นมของพระองค์ ล้วนเป็นคนแปลกหน้าทั้งหมด เป็นเหมือนญาติห่าง ๆ ไม่ค้นเคยและหม่สามารถทีจะอบรมพระองค์ได้ ไม่ว่าพระองค์จะเสด็จที่ใด จะมีคนคุกเข่าคำนับให้กับพระองค์จนกระทั่งเห็นพระองค์เดินไปจนลับสายตา ในไม่ช้าพระองค์ในวัยเยาว์ก็ทรงค้นพบว่าพระองค์ทรงมีอำนาจเป็นล้นพ้น
พระบิดาของผู่อี๋ เจ้าชายชุนที่ 2 ได้เป็นผู้สำเร็จราชการเมื่อสมเด็จพระพันปีหลวงหลงยู่เข้าควบคุมอำนาจเพื่อที่จะเผชิญกับเหตุกาณ์การปฏิบัติซินไฮ่(การปฏิวัติจีน เป็นการปฏิวัติเพื่อโค่นล้มราชวงศ์ชิง เพื่อสถาปนาสาธารณรัฐจีน)
พระพันปีหลวงหลงยู่เป็นผู้ลงพระปรมาภิไธยใน “พระบรมราชโองการสลาราชสมบัติของสมเด็จพระจักพรรดิแห่งราชวงศ์ชิง ภายใจ้การต่อรองโดยขุนศึกหยวน ซื่อไข่ นายพลแห่งกองทัพเป่ยหยาง กับสมาชิกราชวงศ์ในปักกิ่ง และกลุ่มสาธารณรัฐในทางใต้ โดยมีการลงนามเพื่อก่อตั้ง สาธารณรัฐจากพิธีสารซึ่งจะถือว่าจะปกิบัตพระองค์ให้เท่าเทียมกับกษัตริยของต่างประเทศ ผู่อี๋และสมาชิก
ราชวงศ์ยังได้รับการอนุญาติให้พำนักอยู่ในส่วนเหนือของพระราชวงต้องห้าม และในพระราชวังฤดูร้อนอี๋เหอหยวน เงินช่วยเหลือสนับสนุนราชวงศ์มีจำนวนสูงถึง 4 ล้านเหรียญและจ่ายโดยรัฐบาลสาธารณรัฐให้แก่สามชิกราชวงศ์ แต่ว่าเงินจำนวนนี้ทางวังไม่เคยได้รับเต็มจำนวนและถูกยกเลิกในเวลาต่อมาเพียงไม่นาน
ในการฟื้นฟูราชวงศ์ไม่ประสบความสำเร็จเกิดการต่อต้านจากทั่งประเทศและมีการแทรกแซงจากพวกขุนศึก ผู่อี๋ถูกขับออกจากพระราชวังต้องห้าม ผู้อี๋ใช้เวลาสองสามวันอยู่ที่ตำหนักของพระบิดา หลังจากนั้นก็ไปอาศัยอยู่ที่สถานทูตญี่ปุ่นเป็นการชั่วคราว ประมาณ 1 ปีต่มาได้ย้ายไปยังเขตปกครองของญี่ปุ่นในเทียนจิน
ผู่อี๋และบรรดาที่ปรึกษาได้ถกเถียงกันเกี่ยวกับการฟื้นฟูเขาเป็นจักรพรรดิ โดยเจิงและโหลได้เสนอให้ของความช่วยเลือจากภายนอก แต่เฉินไม่เห็นด้วย ผู่อี๋ส่งจดหมายถึง จิโร่ มินะมิ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการสงครามของญี่ปุ่น บ่งบอกความภายในว่าเขาต้องการที่จะกลับมาเป็นจักรพรรดิ เขายังไปเยี่ยม เคนจิ โดอิฮะระ หัวหน้าจารกรรมของกองทัพกวนตง ผู้ซึ่งมีความปรารถนาจะให้ปูยีเป็นผู้นำแห่งแมนจูกัว ผู่อี๋และ เจิง เสี่ยวซูเดินทางไปยังแมนจูเรียเพื่อตกลงเกียวกับแผนการตั้งรัฐแมนจูกัวให้สำเร็จรัฐบาลจีนออกคำสั่งจับผู่อี๋ข้อหาเป็นกบฏแต่ไม่สามารถที่จะฝ่าการค้มครองของญี่ปุ่นไปได้
ผู่อี๋ได้เป็นผู้บริหารสูงสุดของแมนจูกัว ซึ่งกอ่ตั้งโดยญี่ปุ่น ส่วนใหญเห้นว่าเป็นัฐที่เป็นหุ่นเชิดของจักรวรรดิญี่ปุ่น ผู่อี๋ขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นต้าถ่ง เป็นจักรพรรดิแห่งแมนจูกัวโดยมีพระบรมนามาภิไธยวา ตังเต๋อ ผู่อี๋ต้องการทีจะฟืนฟูราชวงศ์ชิง เขาขึ้นรับตำแหน่างที่หอสัการะฟ้าเทียนถันด้วยชุดเครื่องแบบทหารแบบตะวันตกและสวมเสื้อคลุมมังกรสำหรับการประกาศการขึ้นครองราช
ราชวงศ์จีนเข้ากับญี่ปุ่น ในขณะที่พรรคคอมมิวนิสต์จีนกำลังเติบโต และเจียง ไค เชค ประกาศสงครามกับญี่ปุ่นอย่างเป็นทางการในวันที่ 9 ธันวาคม ปี 1941 และยังประกาศสงครามกับเยอรมันีและอิตาลีด้วยสาเหตุทางการเมืองมากกว่าจะเป็นการส่งทหารไปสู้รบ
หลังจากประกาศสงครามอย่างเป็นทางการกับหลุ่มอักษะเรียบร้อยแล้วกองทัพจีนเคลื่อทัพไปทางชายแดนพม่าทันที เพราะว่าถนนพม่าเป็นเส้นทางทางบกทางเดียวเท่านั้นที่ฝ่ายพันธมิตรสามารถใช้เป็นเส้นทางจัดส่งเสบียงสัมภาระไปให้จีน เจียงไคเชคไดรับแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการสูงสุดของกองทัพพันธมิตรในสมรภูมิรบที่ประเทศจีน นับตั้งแต่ญี่ปุ่นโจมตี เพิร์ล ฮาร์เบิร์ลได้ 8 สัปดาห์ จีนประทสบความสำเร็จในการรบครั้งสำคัญ กองทหารจีนสารถขับไล่กองทหารญี่ปุ่นออกไปได้ เมือ่ญี่ปุบุกเข้าโจมตีเส้นทางสายรไฟกวางต้ง - ฮานโกว์
เจียง ไค เชค และสติลเวลล์ คอยสกันกั้นญี่ปุนในพม่าเรื่อยมา กองทัพอังกฤษและอินเดียถึงแม้จะต่อสู้กับญี่ปุ่นอย่างดุเดือดในพม่าก็ต้องล่าถอยเพราะญี่ปุ่นมีกำลังทหารทั้งทางภาคพื้นดินและทางอากาศเหนือกว่ามาก ในช่วงกลางเดือนเมษายนกองทหารจีนอีกหน่วยหนึ่งเข้ามาช่วยกองทหารอังกฤษป้องกันเมืองยีนังยองบนฝั่งแม่น้ำอิรวดีไว้ทัน และสามารถผลักดันกองทัพญี่ปุ่นให้ถอยกลับไป แต่ในเดือนเมษาญี่ปุ่นเดินทัพเข้ายึดลาชิโอซึ่งเป็นจุดรวมทางใต้ของถนนพม่า เพื่อตัดเส้นทางขนส่งของฝ่ายพันธมิตรไปยังประเทศจีน ต่อมาจานั้นญี่ปุ่นเพิ่มความกดดันอย่างหนักจนกระทั่งในเดือนต่อมากองทหารอังกฤษและอินเดียต้องถอยทัพผ่านกาเลวา เข้าไปยังอิมฟาลตรงเลยชายแดนอินเดียเข้าไป ในขณะที่กองทหารอังกฤษ อินเดียถอยทัพหนีญี่ปุ่นเข้าไปในพรมแดนอินเดีย กองทหารจีนส่วนใหญ่หนีข้ามแม่น้ำสาละวินกลับเข้าไปยังประเทศจีน มีทหารบางหน่วยถอยทัพเข้าไปยังอินเดีย
ในที่ประชุมไคโร 1943 คำประกาศไคโรเรียกร้องให้ญี่ปุ่นยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข ร่วมลงนามโดย รูสเวลส์ประธานาธิบดีสหรัฐ เชอร์ชิล นายกรัฐมนตรีอังกฤษ และเจียง ไค เชค ผุ้นำรัฐบาลจีน
หลังจากที่สหรัฐสามารถควบคุมน่านน้ำภาคพื้นแปซิฟิคได้เป็นส่วนใหญ่แล้วในปี 1944 ภายหลังการยึดครองหมู่เกาะมาเเชลล์ ญี่ปุ่นจึงหันมารุกทางภาคพื้นทวีป โดยกองทัพญี่ปุ่นรุกเข้าอินเดีย เกิดสงครามรอบๆ Imphal ญี่ปุ่นถอนกำลังออกจากพม่ารุกรานเข้าที่ราบ Imphal โดยฝ่ายอังกฤษไม่สามารถต้านทานได้ ทัพญี่ปุนเคลื่อพลเข้าสู่แผ่นดินจีนตอนกลางและมุ่งหน้าลงไปทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีนซึ่งเป็นฐานทัพอากาศขนาดใหญ่ทีทัพอเมริกาตั้งมั่นอยู่
กองทัพอังกฤษตีฝ่าออกจาก Imphal ไปยังโคฮิมาในอินเดียได้ กองทัพจีนจำนวนมากยุพลเข้ารุกรานตอนเหนือของพม่า ก่อนการยกพลขึ้นบกที่นอร์มังดี ประเทศฝรั่งเศส ญี่ปุ่นถอนทัพออกจาก Imphal โดยได้รับความสูญเสียอย่างหนักการรุกรานอินเดียเป็นอันสิ้นสุดลง
ภายหลังการก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีนในปี 1949 ปูยีได้เข้าเป็นสมาชิกสภาที่ปรึกษาการเมืองแป่งชาติ ตั้งแต่ปี 1964 กระทั่งสวรรคตเยี่ยงสามัญชนในปี 1967
ผู่อี๋ สืบราชสมบัติต่อจากสมเด็จพระจักรพรรดิกวังซวี โดยผู่อี๋เป็นโอรสองค์โตของเจ้าชายชุนที่ 2 ซึ่งเป็นโอรสของ อี้ซวน เจ้าชายชุนที่ 1 ฌเยเจ้าชายชุนและพระสนมของพระองค์ ท่านผู้หญิงหลิงกิยาเมื่อเป็นสนมของ เจ้ชายชุนที่1 เพราะฉพนั้นไจเชง เจ้าชายชุนที่ 2 จึงเป็นพี่น้องร่วมชนกเดียวกับสมเด็จพระจักรพรรดิกวังซวี่และเป็นทายาทสืบราชบัลลังก์ที่อยู่ในลำดับแรก
ผู่อี๋เป็นราชสกุล อ้ายซิเจว๋หลัวในสายที่ผูกพันกันแน่นกับเผ่าเย่เหอนาลาของพระนางซูสีไทเฮา นัดดาของพระนางซูสีไทเฮา คือ สมเด็จพระพันปีหลวงหลงยู่ ก็เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระจักรพรรดิกวังซวี
พระอนุชาของผู่อี๋คือ เจ้าชายผู่เจี๋ย ซึ่งต่อมาได้สมรสกับพระญาติของจัรพรรดิโชวะ คือ เจ้าหญิงฮิโระ ซะงะ ซึ่งกฎมณเทียรบาลในเรื่องการสืบราชสมบัตินั้นให้ผู่เจี๋ยสืบราชบัลลังก์จากผู่อี๋ซึ่งไม่มีบุตรได้
ผู่เริ่นพี่น้องของผู่อี๋เพียงคนเดียวที่ยังทีชีวิตอยู่ และปัจจุยันได้เปลี่ยไปเป็นชื่อจีน คือ จิน โหย่วจือ ปัจจุบันอาศัยอยู่ที่ประเทศจีน จินโหยว่จือได้ยืนฟ้องดำเนินต่อศาลเกี่ยวกับสิทธิในรูปของผู่อี๋และความเป็นส่วนตัว โดยได้กล่าวว่าสิทธิของเขาได้ถูกละเมิดจากงานจัดแสดง “จักรพรรดิพระองค์สุดท้ายและราชวงศ์”
ผู่อี๋ ถูกเลื่อนให้เป็นจักรพรรดิโดยพระนางซูสีไทเฮา ในขณะที่ปรชวรหนักอยู่บนพระแท่นบรรทม ผู่อี๋ขึ้นเป็นจักรพรรดิในขณะที่มีพระชนมายุ ได้ 2 พรรษากับอีก 10 เดือน พระบิดาของพระองค์ขึ้นเป็นผู้สำเร็จราชการในระหว่งพิธีราชาภิเษกที่พระที่นั่งไท่เหอ พระบิดาได้อุ้มจักรพรรดิที่ยังทรงเยาว์ขึ้นไปยังบนบัลลังก์ พระองค์ทรงร้องไห้ พระราชบิดาทำสิ่งใดไม่ได้เพียงพูดปลอบใจว่า “อย่างร้องไห้ เดี๋ยวก็เสร็จแล้ว”
แม่นมของปูยี เหวิน เฉาหว่าง เป็นเพียงคนเดียวที่สามารถควบคุมพระองค์ได้ เพราะฉะนั้นเธอจึงได้ตามพระองค์เข้าพระราชวังต้องห้าม แต่เธอก็ออกจากพระราชวังต้องห้ามเมื่อพระอง์มีพระชนมายุได้ 8 พรรษา
การเลี้ยงดูอบรมสั่งสอนนผู่อี๋เป็นไปด้วยความยากในการเลี้ยงดูให้พระองค์เป็นผู้มีสุขภาพที่ดีเช่นเด็กปกติ พระองค์ถูกเลี้ยงดูดังเทพเจ้าและไม่สามารถที่จะประพฤติตัวได้อย่างเด็ก ชีวิตวัยผู้ใหญ่ของพระองค์ ยกเว้นแม่นมของพระองค์ ล้วนเป็นคนแปลกหน้าทั้งหมด เป็นเหมือนญาติห่าง ๆ ไม่ค้นเคยและหม่สามารถทีจะอบรมพระองค์ได้ ไม่ว่าพระองค์จะเสด็จที่ใด จะมีคนคุกเข่าคำนับให้กับพระองค์จนกระทั่งเห็นพระองค์เดินไปจนลับสายตา ในไม่ช้าพระองค์ในวัยเยาว์ก็ทรงค้นพบว่าพระองค์ทรงมีอำนาจเป็นล้นพ้น
พระบิดาของผู่อี๋ เจ้าชายชุนที่ 2 ได้เป็นผู้สำเร็จราชการเมื่อสมเด็จพระพันปีหลวงหลงยู่เข้าควบคุมอำนาจเพื่อที่จะเผชิญกับเหตุกาณ์การปฏิบัติซินไฮ่(การปฏิวัติจีน เป็นการปฏิวัติเพื่อโค่นล้มราชวงศ์ชิง เพื่อสถาปนาสาธารณรัฐจีน)
พระพันปีหลวงหลงยู่เป็นผู้ลงพระปรมาภิไธยใน “พระบรมราชโองการสลาราชสมบัติของสมเด็จพระจักพรรดิแห่งราชวงศ์ชิง ภายใจ้การต่อรองโดยขุนศึกหยวน ซื่อไข่ นายพลแห่งกองทัพเป่ยหยาง กับสมาชิกราชวงศ์ในปักกิ่ง และกลุ่มสาธารณรัฐในทางใต้ โดยมีการลงนามเพื่อก่อตั้ง สาธารณรัฐจากพิธีสารซึ่งจะถือว่าจะปกิบัตพระองค์ให้เท่าเทียมกับกษัตริยของต่างประเทศ ผู่อี๋และสมาชิก
ราชวงศ์ยังได้รับการอนุญาติให้พำนักอยู่ในส่วนเหนือของพระราชวงต้องห้าม และในพระราชวังฤดูร้อนอี๋เหอหยวน เงินช่วยเหลือสนับสนุนราชวงศ์มีจำนวนสูงถึง 4 ล้านเหรียญและจ่ายโดยรัฐบาลสาธารณรัฐให้แก่สามชิกราชวงศ์ แต่ว่าเงินจำนวนนี้ทางวังไม่เคยได้รับเต็มจำนวนและถูกยกเลิกในเวลาต่อมาเพียงไม่นาน
ในการฟื้นฟูราชวงศ์ไม่ประสบความสำเร็จเกิดการต่อต้านจากทั่งประเทศและมีการแทรกแซงจากพวกขุนศึก ผู่อี๋ถูกขับออกจากพระราชวังต้องห้าม ผู้อี๋ใช้เวลาสองสามวันอยู่ที่ตำหนักของพระบิดา หลังจากนั้นก็ไปอาศัยอยู่ที่สถานทูตญี่ปุ่นเป็นการชั่วคราว ประมาณ 1 ปีต่มาได้ย้ายไปยังเขตปกครองของญี่ปุ่นในเทียนจิน
ผู่อี๋และบรรดาที่ปรึกษาได้ถกเถียงกันเกี่ยวกับการฟื้นฟูเขาเป็นจักรพรรดิ โดยเจิงและโหลได้เสนอให้ของความช่วยเลือจากภายนอก แต่เฉินไม่เห็นด้วย ผู่อี๋ส่งจดหมายถึง จิโร่ มินะมิ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการสงครามของญี่ปุ่น บ่งบอกความภายในว่าเขาต้องการที่จะกลับมาเป็นจักรพรรดิ เขายังไปเยี่ยม เคนจิ โดอิฮะระ หัวหน้าจารกรรมของกองทัพกวนตง ผู้ซึ่งมีความปรารถนาจะให้ปูยีเป็นผู้นำแห่งแมนจูกัว ผู่อี๋และ เจิง เสี่ยวซูเดินทางไปยังแมนจูเรียเพื่อตกลงเกียวกับแผนการตั้งรัฐแมนจูกัวให้สำเร็จรัฐบาลจีนออกคำสั่งจับผู่อี๋ข้อหาเป็นกบฏแต่ไม่สามารถที่จะฝ่าการค้มครองของญี่ปุ่นไปได้
ผู่อี๋ได้เป็นผู้บริหารสูงสุดของแมนจูกัว ซึ่งกอ่ตั้งโดยญี่ปุ่น ส่วนใหญเห้นว่าเป็นัฐที่เป็นหุ่นเชิดของจักรวรรดิญี่ปุ่น ผู่อี๋ขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นต้าถ่ง เป็นจักรพรรดิแห่งแมนจูกัวโดยมีพระบรมนามาภิไธยวา ตังเต๋อ ผู่อี๋ต้องการทีจะฟืนฟูราชวงศ์ชิง เขาขึ้นรับตำแหน่างที่หอสัการะฟ้าเทียนถันด้วยชุดเครื่องแบบทหารแบบตะวันตกและสวมเสื้อคลุมมังกรสำหรับการประกาศการขึ้นครองราช
ราชวงศ์จีนเข้ากับญี่ปุ่น ในขณะที่พรรคคอมมิวนิสต์จีนกำลังเติบโต และเจียง ไค เชค ประกาศสงครามกับญี่ปุ่นอย่างเป็นทางการในวันที่ 9 ธันวาคม ปี 1941 และยังประกาศสงครามกับเยอรมันีและอิตาลีด้วยสาเหตุทางการเมืองมากกว่าจะเป็นการส่งทหารไปสู้รบ
หลังจากประกาศสงครามอย่างเป็นทางการกับหลุ่มอักษะเรียบร้อยแล้วกองทัพจีนเคลื่อทัพไปทางชายแดนพม่าทันที เพราะว่าถนนพม่าเป็นเส้นทางทางบกทางเดียวเท่านั้นที่ฝ่ายพันธมิตรสามารถใช้เป็นเส้นทางจัดส่งเสบียงสัมภาระไปให้จีน เจียงไคเชคไดรับแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการสูงสุดของกองทัพพันธมิตรในสมรภูมิรบที่ประเทศจีน นับตั้งแต่ญี่ปุ่นโจมตี เพิร์ล ฮาร์เบิร์ลได้ 8 สัปดาห์ จีนประทสบความสำเร็จในการรบครั้งสำคัญ กองทหารจีนสารถขับไล่กองทหารญี่ปุ่นออกไปได้ เมือ่ญี่ปุบุกเข้าโจมตีเส้นทางสายรไฟกวางต้ง - ฮานโกว์
เจียง ไค เชค และสติลเวลล์ คอยสกันกั้นญี่ปุนในพม่าเรื่อยมา กองทัพอังกฤษและอินเดียถึงแม้จะต่อสู้กับญี่ปุ่นอย่างดุเดือดในพม่าก็ต้องล่าถอยเพราะญี่ปุ่นมีกำลังทหารทั้งทางภาคพื้นดินและทางอากาศเหนือกว่ามาก ในช่วงกลางเดือนเมษายนกองทหารจีนอีกหน่วยหนึ่งเข้ามาช่วยกองทหารอังกฤษป้องกันเมืองยีนังยองบนฝั่งแม่น้ำอิรวดีไว้ทัน และสามารถผลักดันกองทัพญี่ปุ่นให้ถอยกลับไป แต่ในเดือนเมษาญี่ปุ่นเดินทัพเข้ายึดลาชิโอซึ่งเป็นจุดรวมทางใต้ของถนนพม่า เพื่อตัดเส้นทางขนส่งของฝ่ายพันธมิตรไปยังประเทศจีน ต่อมาจานั้นญี่ปุ่นเพิ่มความกดดันอย่างหนักจนกระทั่งในเดือนต่อมากองทหารอังกฤษและอินเดียต้องถอยทัพผ่านกาเลวา เข้าไปยังอิมฟาลตรงเลยชายแดนอินเดียเข้าไป ในขณะที่กองทหารอังกฤษ อินเดียถอยทัพหนีญี่ปุ่นเข้าไปในพรมแดนอินเดีย กองทหารจีนส่วนใหญ่หนีข้ามแม่น้ำสาละวินกลับเข้าไปยังประเทศจีน มีทหารบางหน่วยถอยทัพเข้าไปยังอินเดีย
หลังจากที่สหรัฐสามารถควบคุมน่านน้ำภาคพื้นแปซิฟิคได้เป็นส่วนใหญ่แล้วในปี 1944 ภายหลังการยึดครองหมู่เกาะมาเเชลล์ ญี่ปุ่นจึงหันมารุกทางภาคพื้นทวีป โดยกองทัพญี่ปุ่นรุกเข้าอินเดีย เกิดสงครามรอบๆ Imphal ญี่ปุ่นถอนกำลังออกจากพม่ารุกรานเข้าที่ราบ Imphal โดยฝ่ายอังกฤษไม่สามารถต้านทานได้ ทัพญี่ปุนเคลื่อพลเข้าสู่แผ่นดินจีนตอนกลางและมุ่งหน้าลงไปทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีนซึ่งเป็นฐานทัพอากาศขนาดใหญ่ทีทัพอเมริกาตั้งมั่นอยู่
กองทัพอังกฤษตีฝ่าออกจาก Imphal ไปยังโคฮิมาในอินเดียได้ กองทัพจีนจำนวนมากยุพลเข้ารุกรานตอนเหนือของพม่า ก่อนการยกพลขึ้นบกที่นอร์มังดี ประเทศฝรั่งเศส ญี่ปุ่นถอนทัพออกจาก Imphal โดยได้รับความสูญเสียอย่างหนักการรุกรานอินเดียเป็นอันสิ้นสุดลง
วันอังคารที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2556
WWII:Operaion Bagration
ปฏิบัติการบากราติออน เป็นชื่อรหัสของปฏิบัติการรุกทางยุทธศาสตร์เลารุส ปี 1944 ปฏิบัติการดังกล่าวตั้งตามชื่อของเจ้าขายจอร์จเยสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18-19 ปีเตอร์ บากราติออน ซึ่งเป็นพลเอกแห่งกองทัพจักรวรรดิรัสเซียผู้ทรงได้รับบาดแผลฉกรรจ์ในยุทธการโบโรตีโน กองทัพโซเวียตเกี่ยวข้องโดยตรงกับการปฏิบัติการบากราติออนโดยตรงมีแนวรบบอลติกที่ 1 ภายใต้การบังคับบัญชาขของพลเอกฮอฟฮันเนส บากรัมยัน แนวรบเบลารุสที่ 2 ภายใต้การบังคับบัญชาของพลเอก จี.เอฟ.ซาฮารอฟ และแนวรบเบลารุสที่ 3 ภายใต้การบังคับบัญชาขอ
งพลเอก อีวาน เชียร์นยาฮอฟสกี
เป้าหมายของปฏิบัติการนั้นซับซ้อน กองทัพแดงปรับใช้มโนทัศน์การปฏิบัติการเชิงลึกโซเวียต ยุทธการเชิงลึกโซเวียตและมาสกีรอฟกา(การลวงทางทหาร) นวัตกรรมของโซเวียตเหล่านี้เป็นไปได้ส่วนหนึ่งเพราะการจัดหารถบรรทุกกว่า 220,000 คันจาสหรัฐอเมริกาเพื่อให้ทหารราบโซเวียตมียานยนต์ เป้าหมายหลักในการรุกครั้งนี้ คือหัวสะพานบนแม่น้ำวิสตูล่าทางตอนกลางของโปแลนด์และเพื่อสร้างวิกฤตการณ์ในเบลารุสเซยเพื่อหันกองหนุนเคลื่อที่เร็วไปยังส่วนกลางโดยเป็นส่วนหนึ่งของมาสกีรอฟกาให้ออกจากพื้นที่ลูบลิน-เบรสท์, โดยเวียตตั้งใจจะดำเนินการรุกลวอฟ-ซานโดเมียร์ซและรุกลุบลิน-เบรสท์
ยุทธการเบเกรชั่น เปิดฉากเริ่มจากกองทัพกองโจรที่มีกำลังพลกว่าแสนสี่ ได้รับสัญญาจากกองทัพใหญ่ให้เข้าโจมตีกองทัพนาซีที่ถอยออกมาอย่างไม่เป็นขบวนที่ฝั่งเบโลรุเซีย ซึ่งเป็นห้วงเวลาเดียวกับปฏิบัติการ “โอเวอร์ลอร์ด”ที่นอร์มังดี ฝรั่งเศส โจมตีหน่วยสื่อสาร กองบัญชาการนาซีและสนามบิน เข้าโจมตีแบบประจันบานภาคพื้นดินในช่วงปลายเดื่อนมิถุนา 1944 กองทัพกองโจรสามารถยึด Minsk กลับคือมาได้ในสภาพที่ทุกอย่างถูกทำลายจนสิ้น เหลือเพียงซากปรักหักพัง
กรกฏคม แม่ทัพซูคอฟและแม่ทัพโคเนฟ เข้ายึด Vilnius สำเร็จ แม่ทัพซูคอฟได้รับการสถาปนาเป็น วีรบุรุษแห่งโซเวียต(เป็นครั้งที่ 2) สตาลินมอบอำนาจเด็ดขาดของการทำยทุธการเบเกรชั่นในทุกสายทัพให้ขึ้นตรงกับซู่คอฟ
การสู้รบเป็นไปอย่างดุเดือนในช่วง วันที่ 22 มิถุนายน-4 กรกฎาคม โซเวียตสุญเสียกำลังพลกว่าเจ็ดแสนห้านาย เพื่อแลกกลัการได้เบลารุสเซียและยูเครนกลับคืนมา ทัพฟินแลนด์ได้รับควมเสียหายมากในการขับไลฐานของเยอรมันที่ตั้งคุมฝั่งทะเลบอลติค รัฐบาลฟินแลนด์ที่ฝักใฝ่นาซี่ เริ่มไหวตัว จึงเปลี่ยนผู้นำและหาทางสงบศึกกับโซเวียต สตาลินเสนอทางเลือกเพียงอย่างเดียวคือยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไข ฟินแลนด์ยื้อเวลาเพื่อรอดูสถานะการณ์ โซเวียตจึงส่งกองทัพเข้าไปขับไล่นาซีการสู้รบยืดเยื้อกระทั่งหลังวันดี-เดย์ ก็ยังคงไม่เรียบร้อย..กองทัพเยอรมันได้รับความเสียหายยิ่งกว่าเมื่อครั้งยุทธการสตาลินกราด..
รุสเซียบรรลุวัตถุประสงค์คือยึดพื้นที่ในเบลารุสเซียกลับคืนมาได้ เท่ากับว่ากองทัพรัสเซียได้มาตั้งรออยู่ที่ชายแดนของปรัสเซียตะวันออกเรียบร้อยแล้ว และข้ามเข้าโปแลนด์ได้จากใจกลางและจากทางตอนใต้ด้วย สิ้นเดือนกรกฎาคม 1944 กองทัพโซเวียตจึงประชิดกรึงวอร์ซอร์แล้ว
งพลเอก อีวาน เชียร์นยาฮอฟสกี
เป้าหมายของปฏิบัติการนั้นซับซ้อน กองทัพแดงปรับใช้มโนทัศน์การปฏิบัติการเชิงลึกโซเวียต ยุทธการเชิงลึกโซเวียตและมาสกีรอฟกา(การลวงทางทหาร) นวัตกรรมของโซเวียตเหล่านี้เป็นไปได้ส่วนหนึ่งเพราะการจัดหารถบรรทุกกว่า 220,000 คันจาสหรัฐอเมริกาเพื่อให้ทหารราบโซเวียตมียานยนต์ เป้าหมายหลักในการรุกครั้งนี้ คือหัวสะพานบนแม่น้ำวิสตูล่าทางตอนกลางของโปแลนด์และเพื่อสร้างวิกฤตการณ์ในเบลารุสเซยเพื่อหันกองหนุนเคลื่อที่เร็วไปยังส่วนกลางโดยเป็นส่วนหนึ่งของมาสกีรอฟกาให้ออกจากพื้นที่ลูบลิน-เบรสท์, โดยเวียตตั้งใจจะดำเนินการรุกลวอฟ-ซานโดเมียร์ซและรุกลุบลิน-เบรสท์
ยุทธการเบเกรชั่น เปิดฉากเริ่มจากกองทัพกองโจรที่มีกำลังพลกว่าแสนสี่ ได้รับสัญญาจากกองทัพใหญ่ให้เข้าโจมตีกองทัพนาซีที่ถอยออกมาอย่างไม่เป็นขบวนที่ฝั่งเบโลรุเซีย ซึ่งเป็นห้วงเวลาเดียวกับปฏิบัติการ “โอเวอร์ลอร์ด”ที่นอร์มังดี ฝรั่งเศส โจมตีหน่วยสื่อสาร กองบัญชาการนาซีและสนามบิน เข้าโจมตีแบบประจันบานภาคพื้นดินในช่วงปลายเดื่อนมิถุนา 1944 กองทัพกองโจรสามารถยึด Minsk กลับคือมาได้ในสภาพที่ทุกอย่างถูกทำลายจนสิ้น เหลือเพียงซากปรักหักพัง
กรกฏคม แม่ทัพซูคอฟและแม่ทัพโคเนฟ เข้ายึด Vilnius สำเร็จ แม่ทัพซูคอฟได้รับการสถาปนาเป็น วีรบุรุษแห่งโซเวียต(เป็นครั้งที่ 2) สตาลินมอบอำนาจเด็ดขาดของการทำยทุธการเบเกรชั่นในทุกสายทัพให้ขึ้นตรงกับซู่คอฟ
การสู้รบเป็นไปอย่างดุเดือนในช่วง วันที่ 22 มิถุนายน-4 กรกฎาคม โซเวียตสุญเสียกำลังพลกว่าเจ็ดแสนห้านาย เพื่อแลกกลัการได้เบลารุสเซียและยูเครนกลับคืนมา ทัพฟินแลนด์ได้รับควมเสียหายมากในการขับไลฐานของเยอรมันที่ตั้งคุมฝั่งทะเลบอลติค รัฐบาลฟินแลนด์ที่ฝักใฝ่นาซี่ เริ่มไหวตัว จึงเปลี่ยนผู้นำและหาทางสงบศึกกับโซเวียต สตาลินเสนอทางเลือกเพียงอย่างเดียวคือยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไข ฟินแลนด์ยื้อเวลาเพื่อรอดูสถานะการณ์ โซเวียตจึงส่งกองทัพเข้าไปขับไล่นาซีการสู้รบยืดเยื้อกระทั่งหลังวันดี-เดย์ ก็ยังคงไม่เรียบร้อย..กองทัพเยอรมันได้รับความเสียหายยิ่งกว่าเมื่อครั้งยุทธการสตาลินกราด..
รุสเซียบรรลุวัตถุประสงค์คือยึดพื้นที่ในเบลารุสเซียกลับคืนมาได้ เท่ากับว่ากองทัพรัสเซียได้มาตั้งรออยู่ที่ชายแดนของปรัสเซียตะวันออกเรียบร้อยแล้ว และข้ามเข้าโปแลนด์ได้จากใจกลางและจากทางตอนใต้ด้วย สิ้นเดือนกรกฎาคม 1944 กองทัพโซเวียตจึงประชิดกรึงวอร์ซอร์แล้ว
WWII:Ukraine
ห่างจากเคียฟไปทางตะวันตกแปดสิบไมล์ กองทัพแพนเซอร์ที่ 4 ซึ่งเชื่อวากองทัพแดงกำลังอ่อนแรงและสามารถโต้ตอลฉับพลันเป็นผลสำเร็จโดยการโจมตีจากด้านข้างอยางห้ายหาญ ยุทธการครั้งนี้กองทัพกลุ่มใต้ยึดโครอสเตนคืนได้ และมีเวลาหยุดพัก อย่างไรก็ดีมีการล่าถอนเริ่มขึ้นอีกครั้งในแนวรบยูเครนที่หนึ่ง โซเวียตเคลื่อนทัพดำเนินต่อไปกระทั่งถึงพรมแดนโปแลนด์-โซเวียต ช่วงต้นปี 1944 แนวรบยูเครนที่สองข้ามแม่น้ำนีเปอร์และบุกต่อไปทางตะวันตก แนวรบยูเครนที่สองเลี้ยวไปทางเหนือบรรจบกับกำลังรถถังของวาตูติน ซึ่งแกว่งลงใต้จากการตีฝ่าเข้าสู่โปแลนด์และล้อมกองทัพเยอรมันสิบกองพลทค่คอร์ชุน-เชเวนตะวันตกของเชียร์คัสชี
การยืนกรานให้รักษาแนวนีเปอร์ของฮิตเลอร์ โดยเขาเชื่อมั่นวาสามารถตีฝ่าออกไปได้ และรุกไปยังเคียฟได้ด้วย กองทหารเยอรมันที่ถูกล้อม ซึ่งมีกองพลแพนเซอร์ SS ที่ 5 วีคิงรวมอยู่ด้วยตีฝ่าวงล้อมข้ามแม่น้ำได้อย่างปลอดภัย แม้จะเสียกำลังพลไปถึงครึ่งและยุทโธปกร์ทั้งหมดก็ตามพวกเขาสันนิษฐานว่าพวกโซเวียตจะไม่เข้าตีอีก
มีนาคม 1944 แนวรบโซเวียตยูเครนเปลี่ยนไปรุกเมือโดเดียวไครเมียแล้ว กำลังรัศเซียรุกข้ามปลักโครนไปยังพรมแดนโรมาเนีย จึงเป็นอันยุติการทัพในทางใต้ หลังจากการรุกกว่า 500 ไมล์
แพนเซือร์ที่ 1 ตีฝ่าวงล้อมรัสเซียด้วยความสูญเสียเพียงเล็กน้อย เมษายน กองทัพแดงยึดโอเดสซาคืนได้ ตามด้วยการทัพของแนวรบยูเครนที่ 4 ในการฟื้นฟู การควบคุมไครเมียจึงสิ้นสุดลงในเดื่อนพฤษภา
แนวรบของกองทัพกลุ่มเหนือ กองกำลังเยอรมันถูกผลักดันจากแนวฮาเกนอย่างช้าๆ โดยยึดดินแดนได้ค่อนข้างเล็กน้อย แต่การเสียเบีรนสก์และสโมเลนสก์สำคัญกว่าในเดือนธันวา 1943 ทำให้เยอรมันเสียหลักประกันของระบบการป้องกันเยรอมันทั้งระบบ บนแนวรบของกองทัพกลุ่มเหนือมีการต่อสู้เพียงเล็กน้อย กระทั่งต้นปี 1944 เมื่อแนวรบวอลฮอฟและแนวรบบอลติกที่สองโจมตีอย่างไม่คาดฝัน ฝ่ายเยอรมันถูกผลักดันจากเลนินกราด และนอฟโกรอดถูกกองกำลังโซเวียตยึดคืน กองทัพแดงถึงพรมแดนเอนโตเนียหลังการบุก 75 ไมล์ทะเลบอลติกเหนือจะเป็นเส้นทางเร็วที่สุดที่จะนำการสู้รบสู่แผ่นดินเยอรมันในปรัสเซียตะวันออกและยึดคุมฟินแลนด์สำหรับสตาลิน
ฮิตเลอร์เตรียมการรับข้าศึกจึงต้องรวบรวมกำลังเพื่อตั้งรับ ฝ่ายโซเวียตมีการเตรียมการไว้ล่วงหน้าเช่นกัน นั่นคือ การขยายผลของแปนสู่ตะวันตก ที่ก่อนอื่นจะต้องขับไล่กองทัพนาซีออกไปให้หมดเสียกอ่น ซึ่งหมายถึงการที่จะต้องเข้ากระจายกำลังบนทุกพื้นที่ที่กว้างใหญ่ไพศาล ซึ่งไม่ใช่เรื่องง่ายและเสี่ยงต่อการถูกซุ่มโจมตี
แม่ทัพรัสเซียรวมทั้งสตาลิน จึงได้คิดแผนการขับไล่นาซี ดังนี้
แผน คูทูซอฟ เข้าจัดการที่ Briansk Orel และ Central Front
แผน รูเมียทเซฟ เข้าจัดการที่ Voronezh Steppeและต่อไปทางใต้
แผน ซูฌวรอฟ เข้าจัดการที่ สโมเลนสค์
เยอรมันสู้ไปถอยไปในทุกพื้นที่ อย่างไม่เป็นระเบียบนัก ในการขับไล่นาซีครั้งนี้ซูคอฟต้องการที่จะจัดการกับกองทัพเยอรมันขนาดใหญ่ แต่สตาลินไม่เห็นด้วย สตาลินมองว่า การทำศึกใหญ่อีกอาจจะมีความเสี่ยง ในกรณีที่ปิดล้อมไม่สำเร็จ ดังนั้น จงได้แต่ขับไล่กองทัพเยอมันให้ออกไปอยู่แนวชายแดนที่เคียฟ
ครุสเซฟดำรงตำแหน่างเป็นประธานสภาแดงที่ยูเครน ที่ควบคุมดูแลเคียฟอยู่ด้วย ครุสเชฟเสนอสตาลินว่าการขับไล่กองทัพเยอรมันที่เคียฟควรให้เป็นหน้าที่ของแม่ทัพ วาทูติน เพราะดูและเเนวหน้าฝั่นนี้อยู่ ซึ่งสตาลินก็อนุญาติ
เมษายนเหล่าแม่ทัพภายใต้การนำจอมพลซูคอฟ ทำการขับไล่นาซีเยอรมันออกไปจากยูเคนจนหมดสิ้น เป็นชัยชนะซึ่งสตาลินถึงกับสั่งยิงสลุดคารวะต่อทหารหาญในกรุงมอสควาเป็นครั้งที่สอง หลังจากยุทธการสตาลินกราด
การยืนกรานให้รักษาแนวนีเปอร์ของฮิตเลอร์ โดยเขาเชื่อมั่นวาสามารถตีฝ่าออกไปได้ และรุกไปยังเคียฟได้ด้วย กองทหารเยอรมันที่ถูกล้อม ซึ่งมีกองพลแพนเซอร์ SS ที่ 5 วีคิงรวมอยู่ด้วยตีฝ่าวงล้อมข้ามแม่น้ำได้อย่างปลอดภัย แม้จะเสียกำลังพลไปถึงครึ่งและยุทโธปกร์ทั้งหมดก็ตามพวกเขาสันนิษฐานว่าพวกโซเวียตจะไม่เข้าตีอีก
มีนาคม 1944 แนวรบโซเวียตยูเครนเปลี่ยนไปรุกเมือโดเดียวไครเมียแล้ว กำลังรัศเซียรุกข้ามปลักโครนไปยังพรมแดนโรมาเนีย จึงเป็นอันยุติการทัพในทางใต้ หลังจากการรุกกว่า 500 ไมล์
แพนเซือร์ที่ 1 ตีฝ่าวงล้อมรัสเซียด้วยความสูญเสียเพียงเล็กน้อย เมษายน กองทัพแดงยึดโอเดสซาคืนได้ ตามด้วยการทัพของแนวรบยูเครนที่ 4 ในการฟื้นฟู การควบคุมไครเมียจึงสิ้นสุดลงในเดื่อนพฤษภา
แนวรบของกองทัพกลุ่มเหนือ กองกำลังเยอรมันถูกผลักดันจากแนวฮาเกนอย่างช้าๆ โดยยึดดินแดนได้ค่อนข้างเล็กน้อย แต่การเสียเบีรนสก์และสโมเลนสก์สำคัญกว่าในเดือนธันวา 1943 ทำให้เยอรมันเสียหลักประกันของระบบการป้องกันเยรอมันทั้งระบบ บนแนวรบของกองทัพกลุ่มเหนือมีการต่อสู้เพียงเล็กน้อย กระทั่งต้นปี 1944 เมื่อแนวรบวอลฮอฟและแนวรบบอลติกที่สองโจมตีอย่างไม่คาดฝัน ฝ่ายเยอรมันถูกผลักดันจากเลนินกราด และนอฟโกรอดถูกกองกำลังโซเวียตยึดคืน กองทัพแดงถึงพรมแดนเอนโตเนียหลังการบุก 75 ไมล์ทะเลบอลติกเหนือจะเป็นเส้นทางเร็วที่สุดที่จะนำการสู้รบสู่แผ่นดินเยอรมันในปรัสเซียตะวันออกและยึดคุมฟินแลนด์สำหรับสตาลิน
ฮิตเลอร์เตรียมการรับข้าศึกจึงต้องรวบรวมกำลังเพื่อตั้งรับ ฝ่ายโซเวียตมีการเตรียมการไว้ล่วงหน้าเช่นกัน นั่นคือ การขยายผลของแปนสู่ตะวันตก ที่ก่อนอื่นจะต้องขับไล่กองทัพนาซีออกไปให้หมดเสียกอ่น ซึ่งหมายถึงการที่จะต้องเข้ากระจายกำลังบนทุกพื้นที่ที่กว้างใหญ่ไพศาล ซึ่งไม่ใช่เรื่องง่ายและเสี่ยงต่อการถูกซุ่มโจมตี
แม่ทัพรัสเซียรวมทั้งสตาลิน จึงได้คิดแผนการขับไล่นาซี ดังนี้
แผน คูทูซอฟ เข้าจัดการที่ Briansk Orel และ Central Front
แผน รูเมียทเซฟ เข้าจัดการที่ Voronezh Steppeและต่อไปทางใต้
แผน ซูฌวรอฟ เข้าจัดการที่ สโมเลนสค์
เยอรมันสู้ไปถอยไปในทุกพื้นที่ อย่างไม่เป็นระเบียบนัก ในการขับไล่นาซีครั้งนี้ซูคอฟต้องการที่จะจัดการกับกองทัพเยอรมันขนาดใหญ่ แต่สตาลินไม่เห็นด้วย สตาลินมองว่า การทำศึกใหญ่อีกอาจจะมีความเสี่ยง ในกรณีที่ปิดล้อมไม่สำเร็จ ดังนั้น จงได้แต่ขับไล่กองทัพเยอมันให้ออกไปอยู่แนวชายแดนที่เคียฟ
ครุสเซฟดำรงตำแหน่างเป็นประธานสภาแดงที่ยูเครน ที่ควบคุมดูแลเคียฟอยู่ด้วย ครุสเชฟเสนอสตาลินว่าการขับไล่กองทัพเยอรมันที่เคียฟควรให้เป็นหน้าที่ของแม่ทัพ วาทูติน เพราะดูและเเนวหน้าฝั่นนี้อยู่ ซึ่งสตาลินก็อนุญาติ
เมษายนเหล่าแม่ทัพภายใต้การนำจอมพลซูคอฟ ทำการขับไล่นาซีเยอรมันออกไปจากยูเคนจนหมดสิ้น เป็นชัยชนะซึ่งสตาลินถึงกับสั่งยิงสลุดคารวะต่อทหารหาญในกรุงมอสควาเป็นครั้งที่สอง หลังจากยุทธการสตาลินกราด
วันจันทร์ที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2556
WWII: D_Day
แนวรบด้านตะวันตกของเขตสงครามยุโรป แห่งสงครามโลกครั้งที่สอง อาณาบริเวณตั้งแต่ประเทศเดนมาร์ก นอร์เวย์ ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ ฝรั่งเศสและเยอมรันตะวัจตก แนวรบด้านจะวันตกมีปฏิบัติการรบภาคพื้นขนาดใหญ่สองระยะ ระยะแรกลงเอยเด้วยการยอมจำนนของกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำและฝรั่งเศสระหว่างเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน ปี 1940 และประกอบด้วยสงครามทางอากาศระหว่างเยอรมันกับอังกฤษซึ่งถึงขีดสุดระหว่างยุทธการบริเตนระยะที่สองประกอบด้วยการสู้รบภาคพื้นขนาดใหญ่ ซึ่งเริ่มในเดือน มิถุนายน ค.ศ. 1944 ด้วยการยกพลขึ้นบกที่นอร์มังดี
ปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด เป็นส่วนหนึ่งของการรบในแนวรบด้านตะวันตะตก ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เริ่มเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 1944 รู้จักกันในชื่อ “วันดี-เดย์” สัมพันธมิตรยกกำลังทหาร 3,000,000 นายข้ามช่องแคบอังกฤษ ขึ้นบกที่นอร์มังดี ประเทศฝรั่งเศส
แผนปฏิบัติการรหัส “เนป จูน”เป็นการเคลื่อพลการบุกครั้งใหญที่สุดในประวัศาสตร์สงคราม โดยการนำของผู้บัญชาการสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตร พลเอก ดไวท์ ดี. ไอเซนอาวด์โดยกานำของทหารราบฝ่ายสัมพันธมิตร อันได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ แคนาดา โดยแบ่งหารนอร์มังดี ที่เรียกกันว่า กำแพงแห่งแอตแลนติก เนืองจากเป็นแนวชายหาดยาว และถัดมาเป็นผาสูงชันตลอดแนวหาด ทหารเยอรมันยึดเป็นที่มั่นในการป้องกัน ออกเป็น 5 ส่วนภายใต้ชือรหัส โอมาฮ่า,ยูทาห์,ชอร์ด จูโนและหาดโกลด์
วันอาทิตย์ที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2556
WWII:Yamamoto Isorogu II
เมื่อพ่ายแพ้ในการรบที่เกาะกัวดัลคะแนลสถานการณ์ในทะเลโซโลมอนดีขึ้นแต่ไม่ถึงกับสงบราบคาบยังมีการฝึกกำลังทหารและรวมพลจากเกาะอื่น ๆ ญี่ปุ่นมิได้ถอนกำลังจากทะเลโซโลมอนทั้งหมด การรบยังมีเป็นระยะ การรอบยิง
แนวรบด้านตะวันตกเฉียงใต้ของมหารสมุทรแปซิฟิกทีกินบริเวณมาถึงหมู่เกาะแคโรไลน์ตะวันตกที่มีเกาะ Yap,Palau (แหล่งสำรองเครื่องยิน เรือรบและ ยุทธปัจจัยของศูนย์บัญชาการที่เกะทรัก)ที่เชื่อมต่อกับทะเลโมลุกกะ เกาะติมอร์ ยันนิวกีนีจึงไม่มีอะไรเป็นที่น่าไว้วางใจ
หลังจากนั้นญี่ปุ่นเป็นฝ่ายตั้งรับที่ และ-ซาลาม และพบความสูญเสียอีกครั้งในยุทธนาวีแห่งทะเลบิสมาร์ก ญี่ปุ่นตกลงในใช้นโยบายเพิ่มความแข็งแกร่งในการป้องกันตรงจุดที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์และให้ทำการโจมตีตอบโต้ต่อเมืองีทางชนะเท่านั้น และมุ่งป้องกันที่ตั้งกองทหารญี่ปุ่นที่ยังเหลือยู่ในนิวกีนีเป็นหลักสำคัญอันดับแรก รองลงมาคือการป้องกันหมู่เกาะโซโลมอน ในขณะที่สัมพันธมิตรเพื่อมความมั่นคงที่มั่นในนิวกีนีของตนให้เข้ามแข็งยิ่งขึ้น โดยที่ญี่ปุ่นไม่สามารถขัดขวางได้ การเสียชีวิตของนายพลเรือยามาโมโต้ทำให้ญี่ปุ่นจึงเลิกความพยายามที่จะยึดเกาะนิวกีนี
มหาสมุทรอินเดียญี่ปุ่นบุกยึดหมู่เกาะอันดามัน ในปี 1942 อังกฤษชิงตัดหน้าแผนการของญี่ปุ่นที่จะบุกจากเกาะมาดากัสการ์ ไม่ว่ารัฐบาลวิซี่ของฝรั่งเศษจะเห็นด้วยหรือไม่ก็ตาม ข้าหลวงฝรั่งเศสแห่งเกาะดามัสกัสไม่ให้ความร่วมมือ อังกฤษเร่มโจมตีโดยเข้ายึดมาจันการ ยึดตามาตาวี และยึดแอนตานานาริโอ้ ฝ่ายหลังขบวนการฝรั่งเศสเสรีจึงเข้าปกครองมาดาร์กัสการ์ในปี 1943
แปซิฟิกเหนือ สหรัฐตัดสินใจขับไล่ญี่ปุ่นไปจากมู่เกาะอาลิวเซียน เพื่อขจัดอันตรายจากถัยคุกคามจากญี่ปุ่น สหรัฐยกพลขึ้นบกที่อาดันและจากฐานทัพที่ตั้งขึ้นจึงเริ่มโจมตีกีสกา และแอตตูในเวลาต่อมา สหรัฐฯเปิดการโจมตีอีกครั้งที่แอตตู และแอมชิตกา กองเรือรบสหรัฐฯ ปิดล้อมในบริเวณนั้นเพื่อป้องกันไม่ให้ญี่ปุ่นส่งกำลังเสริมกองทหารบนเกาะ ในที่สุดกองสหรัฐฯก็สามารถขับไล่ทหารญี่ปุ่นออกไปจากกีสกา
หลังจากที่ พลเรือเอก ยามาโมโต้ อิโชรุกคุ เสียชีวิตแล้ว พลเรือเอก โกงะ มิเนะอิจิ เข้ารับตำแหน่งผู้บัญชาการทัพเรือผสม โดยมีเรือประจัญบานมุซิชิเป็นเรือประจัญบาน ในขณะนั้นกำลังรบของจักรพรรดินาวี มีอยู่ไม่ถึงครั้งของฝ่ายสหรัฐฯ ดังนั้นในการยุทธ จะต้องใช้แนวป้องกันที่เป็นเกาะโดยจะใช้เกาะเป็นเสมือนเรือบรรทุกเครื่องบินที่ไม่มีวันจม
กองเรือผสมญี่ปุ่นประมาณการว่า กำลังรบสหรัฐฯ จะเข้าโจมตีที่มั่นของญี่ปุ่นในหมู่เกาะมาร์แชล โดยเริ่มจากการเข้ายึดเกาะมโลเอแล็ป ก่อน แล้วจะใช้เป็นฐานในการบุกโจมตีเพื่อยึดเกาะควาจาลีน และเกาะโรอีซึ่งเป็นที่มั่นของกำลังรบป้องกันฐานทัพที่ 6 ต่อไป นายพลเรือตรี โยชิมิ เดินทางไปรับหน้าที่ที่เกาะวอตจีในวงประการังวอตจี
วงปะการังวอตจี นั้นเป็นวงกลุ่มของเกาะเล็ก ๆ ประมาณ 30 เกาะจะเป็นเกาะที่เกิดจาปะการังที่ก่อตัวทับถม และการระเบิดของภูเขาไฟมีลักษณะเป็นรูปร่างต่าง ๆ และมีช่องทางให้เรือแล่นเข้าไปในวงนั้นได้ รอบวงมีส่วนที่โผล่พ้นน้ำขึ้นมาเป็นเกาะต่าง
อเมริกาวางแผนโจมตีหมู่เกาะมาร์แชล ซึ่งถูกญี่ปุ่นยึดครองได้ในปี 1942 โดยการเข้ายึดวงปะการังวอตจี เพื่อใช้เป็นฐานทัพหน้า เพราะมีสนามบินที่สร้างไว้ แต่ทราบว่าที่วงปะการังวอตจี มีการป้องกันเป็นอย่างดีจึงเปลียนแผนไปขึ้นบกที่วงปะการับควาจาลีน และมาโรเอแล็ป กระทั่งในเดือนกุมภาพันธ์ 1944 การบุกยึดเกาะมาร์แชลของกองทัพอเมริกาจึงใกล้จะประสบความสำเร็จ
(เกาะนิวกีนี ตั้งอยู่ทางทิสเหนือของประเทศออกเตรเลียเป็นเกาะที่มีขนาดเป้ฯอันดับที่ 2 ของโลก ซึ่งถูกแบ่งแยกออกจากแผ่นดินใกญ่ออสเตรเลีย พื้นที่ตะวันตกของเกาะเป็นของประเทศอินโดนี่เซียและพื้นที่ฝั่งตะวันออกเป็นผืนแผ่นดินของรัฐเอกราชปาปัวนิวกีนี)
แนวรบด้านตะวันตกเฉียงใต้ของมหารสมุทรแปซิฟิกทีกินบริเวณมาถึงหมู่เกาะแคโรไลน์ตะวันตกที่มีเกาะ Yap,Palau (แหล่งสำรองเครื่องยิน เรือรบและ ยุทธปัจจัยของศูนย์บัญชาการที่เกะทรัก)ที่เชื่อมต่อกับทะเลโมลุกกะ เกาะติมอร์ ยันนิวกีนีจึงไม่มีอะไรเป็นที่น่าไว้วางใจ
หลังจากนั้นญี่ปุ่นเป็นฝ่ายตั้งรับที่ และ-ซาลาม และพบความสูญเสียอีกครั้งในยุทธนาวีแห่งทะเลบิสมาร์ก ญี่ปุ่นตกลงในใช้นโยบายเพิ่มความแข็งแกร่งในการป้องกันตรงจุดที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์และให้ทำการโจมตีตอบโต้ต่อเมืองีทางชนะเท่านั้น และมุ่งป้องกันที่ตั้งกองทหารญี่ปุ่นที่ยังเหลือยู่ในนิวกีนีเป็นหลักสำคัญอันดับแรก รองลงมาคือการป้องกันหมู่เกาะโซโลมอน ในขณะที่สัมพันธมิตรเพื่อมความมั่นคงที่มั่นในนิวกีนีของตนให้เข้ามแข็งยิ่งขึ้น โดยที่ญี่ปุ่นไม่สามารถขัดขวางได้ การเสียชีวิตของนายพลเรือยามาโมโต้ทำให้ญี่ปุ่นจึงเลิกความพยายามที่จะยึดเกาะนิวกีนี
มหาสมุทรอินเดียญี่ปุ่นบุกยึดหมู่เกาะอันดามัน ในปี 1942 อังกฤษชิงตัดหน้าแผนการของญี่ปุ่นที่จะบุกจากเกาะมาดากัสการ์ ไม่ว่ารัฐบาลวิซี่ของฝรั่งเศษจะเห็นด้วยหรือไม่ก็ตาม ข้าหลวงฝรั่งเศสแห่งเกาะดามัสกัสไม่ให้ความร่วมมือ อังกฤษเร่มโจมตีโดยเข้ายึดมาจันการ ยึดตามาตาวี และยึดแอนตานานาริโอ้ ฝ่ายหลังขบวนการฝรั่งเศสเสรีจึงเข้าปกครองมาดาร์กัสการ์ในปี 1943
แปซิฟิกเหนือ สหรัฐตัดสินใจขับไล่ญี่ปุ่นไปจากมู่เกาะอาลิวเซียน เพื่อขจัดอันตรายจากถัยคุกคามจากญี่ปุ่น สหรัฐยกพลขึ้นบกที่อาดันและจากฐานทัพที่ตั้งขึ้นจึงเริ่มโจมตีกีสกา และแอตตูในเวลาต่อมา สหรัฐฯเปิดการโจมตีอีกครั้งที่แอตตู และแอมชิตกา กองเรือรบสหรัฐฯ ปิดล้อมในบริเวณนั้นเพื่อป้องกันไม่ให้ญี่ปุ่นส่งกำลังเสริมกองทหารบนเกาะ ในที่สุดกองสหรัฐฯก็สามารถขับไล่ทหารญี่ปุ่นออกไปจากกีสกา
หลังจากที่ พลเรือเอก ยามาโมโต้ อิโชรุกคุ เสียชีวิตแล้ว พลเรือเอก โกงะ มิเนะอิจิ เข้ารับตำแหน่งผู้บัญชาการทัพเรือผสม โดยมีเรือประจัญบานมุซิชิเป็นเรือประจัญบาน ในขณะนั้นกำลังรบของจักรพรรดินาวี มีอยู่ไม่ถึงครั้งของฝ่ายสหรัฐฯ ดังนั้นในการยุทธ จะต้องใช้แนวป้องกันที่เป็นเกาะโดยจะใช้เกาะเป็นเสมือนเรือบรรทุกเครื่องบินที่ไม่มีวันจม
กองเรือผสมญี่ปุ่นประมาณการว่า กำลังรบสหรัฐฯ จะเข้าโจมตีที่มั่นของญี่ปุ่นในหมู่เกาะมาร์แชล โดยเริ่มจากการเข้ายึดเกาะมโลเอแล็ป ก่อน แล้วจะใช้เป็นฐานในการบุกโจมตีเพื่อยึดเกาะควาจาลีน และเกาะโรอีซึ่งเป็นที่มั่นของกำลังรบป้องกันฐานทัพที่ 6 ต่อไป นายพลเรือตรี โยชิมิ เดินทางไปรับหน้าที่ที่เกาะวอตจีในวงประการังวอตจี
วงปะการังวอตจี นั้นเป็นวงกลุ่มของเกาะเล็ก ๆ ประมาณ 30 เกาะจะเป็นเกาะที่เกิดจาปะการังที่ก่อตัวทับถม และการระเบิดของภูเขาไฟมีลักษณะเป็นรูปร่างต่าง ๆ และมีช่องทางให้เรือแล่นเข้าไปในวงนั้นได้ รอบวงมีส่วนที่โผล่พ้นน้ำขึ้นมาเป็นเกาะต่าง
อเมริกาวางแผนโจมตีหมู่เกาะมาร์แชล ซึ่งถูกญี่ปุ่นยึดครองได้ในปี 1942 โดยการเข้ายึดวงปะการังวอตจี เพื่อใช้เป็นฐานทัพหน้า เพราะมีสนามบินที่สร้างไว้ แต่ทราบว่าที่วงปะการังวอตจี มีการป้องกันเป็นอย่างดีจึงเปลียนแผนไปขึ้นบกที่วงปะการับควาจาลีน และมาโรเอแล็ป กระทั่งในเดือนกุมภาพันธ์ 1944 การบุกยึดเกาะมาร์แชลของกองทัพอเมริกาจึงใกล้จะประสบความสำเร็จ
(เกาะนิวกีนี ตั้งอยู่ทางทิสเหนือของประเทศออกเตรเลียเป็นเกาะที่มีขนาดเป้ฯอันดับที่ 2 ของโลก ซึ่งถูกแบ่งแยกออกจากแผ่นดินใกญ่ออสเตรเลีย พื้นที่ตะวันตกของเกาะเป็นของประเทศอินโดนี่เซียและพื้นที่ฝั่งตะวันออกเป็นผืนแผ่นดินของรัฐเอกราชปาปัวนิวกีนี)
วันเสาร์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2556
WWII:"West-East
การปะทะกันอย่างดุเดือดที่โปรโฮรอฟกาซึ่งเป็นแนวยื่นทางทิศใต้ในปฏิบัติการ Citadel เหล่าทหารแพนเซอร์SSที่ 2 และกองพลกรอสส์ดอยท์ชลัทต์ พบกับการต้านทานอย่างดุเดือดทำให้ต้องเปลี่ยนทิศทางการบุกจากทางตะวันออกเป็นทางตะวันตกของแนวรบ แต่รถถังยงรุกไป เพืยง 25 กิโลเมตรก่อนเผลิญกับกำลังหนุนของกองทัพรถถังป้องกัน Guards Tank Army ที่ 5 ของโซเวียต ยุธการดังกล่าวมีรถถังราวหนึ่งพันคันอยู่ในสมรภูมิ หลังสงคราม นักประวัติศาสตร์โซเวียตยึดว่ายุทธการใกล้กับโปรโฮรอฟกา เป็นยุทธการรถถังใหญ่ที่สุดตลอดกาล การรบปะทะที่โปรโฮรอฟกาเป็นความสำเร็จในกาตั้งรับของฝ่ายโซเวียตแม้ต้องสูญเสียอย่างมากก็ตาม เมื่อสิ้นสุดการต่อสู้ในวันนั้น ทั้งสองฝ่ายต่างคุมเชิงกัน ปฏิบัติการซิทาเดล ก็หยุดลง กองทัพแดงจึงเริ่มปฏิบัตกการการรุกอย่างรุนแรงในแนวยื่นโอเรลทางเหนือ และสามารถเจาะฝ่านกองทัพเยอรมันได้ ประกอบกับฮิตเลอร์เป็นกังวลกับการยกพลขึ้นบกในซิชิลีของฝ่ายสัมพันธมิตรจึงตัดสินใจยุติการรุก แม้ทางฝ่ายเยอรมันจะได้พื้นที่ทางเหนือก็ตาม ปฏิบัติการเชิงรุกของเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่สองทางด้านตะวันออกจึงยุติลง
ฝ่ายโซเวียตรุกต่อไปยังแนวยื่นที่โอเรลของเยอรมัน มีการตัดสินใจทางยุทธศาสตร์ให้สละโอเรลและถอยไปยังแนวฮาเกรนทางใต้ ฝ่ายโซเวียตทะลวงผ่านไปได้และมุ่งหน้าสู่ฮาร์คอฟอีกครั้ง แม้รถถังไทเกอร์จะทำลายรถถังโซเวียตในด้านหนึ่ง แต่ไม่ช้าก็ถูกโอบล้อมในอีกด้านหนึ่งทางตะวันตก กองทัพที่ 6 ที่สถาปนาขึ้นใหม่หลังจากการยอมจำนนในยุทธการสตาลินกราดอ่อนแอเกินกว่าจะต้านทานทัพโซเวียต กระทั่งสูญเสียทรัพยากรทางอุตสหกรรมและพื้นที่เกษตรกรรมครึ่งหนึ่งที่เยอรมันเองบุกครอง ฮิตเลอร์ตกลงให้ถอยครั่งใหญ่ไปยังแนวนีเปอร์ซึ่งเป็นแนวป้องกันป้อมสนามตามชายแดนตะวันตกของเยอรมัน แต่ปัญหาหลักคือการป้องกันยังไม่ถูกสร้างขึ้น
แม้การพยายามโดยใช้พลร่มจะไร้โชคแต่โดยการที่พลร่มใช้การกำลังที่พลร่มเหล่านนั้นเตรียมไว้ข้ามแม่น้ำนีเปอร์และครองสนามเพลาะ เยอรมันพบว่า ที่จะยื้อแนวนีเปอร์เนื่องจากทัพโซเวียตเติบโตขึ้นและเมื่อสำคัญๆ เริ่มเเตก
โซเวียตฝ่าออกจากหัวสะพานทั้งสองฝั่งของเคียฟและยึดเมืองหลวงของยูเครน ซึ่งขณะนั้นเป็นนครใหญ่ที่สุดอันดับสามในสหภาพโซเวียตไว้ได้
แนวรบยูเครนที่สอง(แนวรบสเต็ปป์)…
ปฏิบัติการ Monte Casino เริ่มต้นขึ้นในตอนต้นปี 1944 หน่วยข่าวกรองสัมพันธมิตรแน่ใจว่าวิหารใน มอนติ คาสซิโน่ มีส่วนช่วยทัพเยอรมันในการสกัดทัพพันธมิตร ในการเตีรยมทัพเพื่อเข้ายึดคาสิโน่ครั้งที่ 2 พันธมิตรสั่งโจมตีทางอาการเหนือวิหารพวก วิหารถูกถล่มราบคาบการถล่มวิหารเคลื่องบินสัมพันธมิตรกว่า 300 เครื่องพร้อมระเบิดกว่า 450 ตัน หลังจากการทิ่งระเบิดของฝ่ายสัมพันธมิตร พลร่มเยอรมันเคลื่อนเข้าบริเวณที่เหลือ และจัดเตรียมแนวรับ
การโจมตีภาคพื้นดินเริ่มเมื่อกองทัพนิวซีแลนด์เคลื่อนตรงเข้าสู่มอนติ คาสซิโน่ จากทางใต้ ตามแนวรถไฟ กองทัพอินเดียก็เดินหน้าและสามารถยึดเทือกเขาสเนกเฮด ทางเหนือของวิหารเยอรมันต่อต้านและโจมตีจนทัพนิวซีแลนด์ต้องถอยร่น
ในการโจมตีครั้งต่อมาเครื่องบินทิ้งระเบิดกว่า 500 ลำทิ้งระเบิดกว่าพันตันถล่มเมืองก่อนการปฏิบัติกาภาคพื้นดิน มีการะดมยิงปืนใหญ่โจมตีเมืองและวิหาร การรุกภาคพื้นดินเริ่มท่ามกลางสายฝน เยอรมันระเบิดเขื่นเหนือแม่น้ำ และบริเวณด้านหน้ามเองถูกน้ำท่วม และระดมยิงปืนใหญ่ พันธมิตรสามารถยึดแฮงก์แมนฮิลและคาสเซิลฮิลได้ นิวซี่แลนหยุดเคลื่อนทัพ
มอนติ คาสซิโน่เป็นแนวรับที่แข็งแนวหนึ่งในสงครามครั้งนี้ จากความล้มเหลวในการุกครั้งที่ 2 และ 3 เพื่อหยุดการคุมเชิงในคาสซิโน สถานการณ์ค่อนข้างสงบ เหนือขึ้นไปที่อันซิโอ ทั้ง 2 ฝ่ายพยายามทุดวิถีทางที่จะเอาชนะ แตะยังไม่มีบทสรุปที่ชัดเจน การุมเชิงในอิตาลีใกล้ถึงขีดสุด พันธมิตรเริ่มการโจมตี
ทัพโปแลนด์เข้าโจมตีใกล้สันเขาสเนกเฮด และกองพลอิสระฝรั่งเศสบุกเข้าตะวันตกของคาสซิโน่ โดยมีกองทัพอังกฤษและสหรัฐตามสมทบ เยอรมันตระหนักถึงอันตรายที่ใกล้เข้ามา จึงถอยทัพไปทางเหนือ เป็นเวลากว่า 4 เดือนนับแต่เริ่มปฏิบัติการ
ความต้องการต่อไปของพันธมิตรคือโรม โดยไม่โอบล้อมข้าศึกที่อันซิโอ การสู้รับในอิตาลียืดเยื้อ การยึดครองโรมมีผลทางการเมืองและจิตวิทยาอย่างสูง เมื่องหลวงของอิตาลี เป็นเมืองที่สำคัญที่สุดในยุโรป ซึ่งเทียบเท่ากับ ปารีส เบอร์ลิน มอสโคว และลอนดอน การยึดครองเมืองเช่นนี้มีผลเหนือมิติทางการทหาร ซึ่งจะเห็นได้จากในเวลาต่อมาชาวอิตาลีอยู่ข้างสัมพันธมิตร
ข่าวการยึดครองโรมไม่ได้รับความสนใจมากนัก อิตาลีถูกแบ่งแยกจากการเปลี่ยนข้างมาอยู่ฝ่ายสัมพันธมิตรการล้มสลายของโรมถูกคาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ความสำคัญของยุทธการดี-เดย์ซึ่งเกิดขึ้นในวันถัดมา บดดบังความสำคัญในการยึดครองโรม
ฝ่ายโซเวียตรุกต่อไปยังแนวยื่นที่โอเรลของเยอรมัน มีการตัดสินใจทางยุทธศาสตร์ให้สละโอเรลและถอยไปยังแนวฮาเกรนทางใต้ ฝ่ายโซเวียตทะลวงผ่านไปได้และมุ่งหน้าสู่ฮาร์คอฟอีกครั้ง แม้รถถังไทเกอร์จะทำลายรถถังโซเวียตในด้านหนึ่ง แต่ไม่ช้าก็ถูกโอบล้อมในอีกด้านหนึ่งทางตะวันตก กองทัพที่ 6 ที่สถาปนาขึ้นใหม่หลังจากการยอมจำนนในยุทธการสตาลินกราดอ่อนแอเกินกว่าจะต้านทานทัพโซเวียต กระทั่งสูญเสียทรัพยากรทางอุตสหกรรมและพื้นที่เกษตรกรรมครึ่งหนึ่งที่เยอรมันเองบุกครอง ฮิตเลอร์ตกลงให้ถอยครั่งใหญ่ไปยังแนวนีเปอร์ซึ่งเป็นแนวป้องกันป้อมสนามตามชายแดนตะวันตกของเยอรมัน แต่ปัญหาหลักคือการป้องกันยังไม่ถูกสร้างขึ้น
แม้การพยายามโดยใช้พลร่มจะไร้โชคแต่โดยการที่พลร่มใช้การกำลังที่พลร่มเหล่านนั้นเตรียมไว้ข้ามแม่น้ำนีเปอร์และครองสนามเพลาะ เยอรมันพบว่า ที่จะยื้อแนวนีเปอร์เนื่องจากทัพโซเวียตเติบโตขึ้นและเมื่อสำคัญๆ เริ่มเเตก
โซเวียตฝ่าออกจากหัวสะพานทั้งสองฝั่งของเคียฟและยึดเมืองหลวงของยูเครน ซึ่งขณะนั้นเป็นนครใหญ่ที่สุดอันดับสามในสหภาพโซเวียตไว้ได้
แนวรบยูเครนที่สอง(แนวรบสเต็ปป์)…
ปฏิบัติการ Monte Casino เริ่มต้นขึ้นในตอนต้นปี 1944 หน่วยข่าวกรองสัมพันธมิตรแน่ใจว่าวิหารใน มอนติ คาสซิโน่ มีส่วนช่วยทัพเยอรมันในการสกัดทัพพันธมิตร ในการเตีรยมทัพเพื่อเข้ายึดคาสิโน่ครั้งที่ 2 พันธมิตรสั่งโจมตีทางอาการเหนือวิหารพวก วิหารถูกถล่มราบคาบการถล่มวิหารเคลื่องบินสัมพันธมิตรกว่า 300 เครื่องพร้อมระเบิดกว่า 450 ตัน หลังจากการทิ่งระเบิดของฝ่ายสัมพันธมิตร พลร่มเยอรมันเคลื่อนเข้าบริเวณที่เหลือ และจัดเตรียมแนวรับ
การโจมตีภาคพื้นดินเริ่มเมื่อกองทัพนิวซีแลนด์เคลื่อนตรงเข้าสู่มอนติ คาสซิโน่ จากทางใต้ ตามแนวรถไฟ กองทัพอินเดียก็เดินหน้าและสามารถยึดเทือกเขาสเนกเฮด ทางเหนือของวิหารเยอรมันต่อต้านและโจมตีจนทัพนิวซีแลนด์ต้องถอยร่น
ในการโจมตีครั้งต่อมาเครื่องบินทิ้งระเบิดกว่า 500 ลำทิ้งระเบิดกว่าพันตันถล่มเมืองก่อนการปฏิบัติกาภาคพื้นดิน มีการะดมยิงปืนใหญ่โจมตีเมืองและวิหาร การรุกภาคพื้นดินเริ่มท่ามกลางสายฝน เยอรมันระเบิดเขื่นเหนือแม่น้ำ และบริเวณด้านหน้ามเองถูกน้ำท่วม และระดมยิงปืนใหญ่ พันธมิตรสามารถยึดแฮงก์แมนฮิลและคาสเซิลฮิลได้ นิวซี่แลนหยุดเคลื่อนทัพ
มอนติ คาสซิโน่เป็นแนวรับที่แข็งแนวหนึ่งในสงครามครั้งนี้ จากความล้มเหลวในการุกครั้งที่ 2 และ 3 เพื่อหยุดการคุมเชิงในคาสซิโน สถานการณ์ค่อนข้างสงบ เหนือขึ้นไปที่อันซิโอ ทั้ง 2 ฝ่ายพยายามทุดวิถีทางที่จะเอาชนะ แตะยังไม่มีบทสรุปที่ชัดเจน การุมเชิงในอิตาลีใกล้ถึงขีดสุด พันธมิตรเริ่มการโจมตี
ทัพโปแลนด์เข้าโจมตีใกล้สันเขาสเนกเฮด และกองพลอิสระฝรั่งเศสบุกเข้าตะวันตกของคาสซิโน่ โดยมีกองทัพอังกฤษและสหรัฐตามสมทบ เยอรมันตระหนักถึงอันตรายที่ใกล้เข้ามา จึงถอยทัพไปทางเหนือ เป็นเวลากว่า 4 เดือนนับแต่เริ่มปฏิบัติการ
ความต้องการต่อไปของพันธมิตรคือโรม โดยไม่โอบล้อมข้าศึกที่อันซิโอ การสู้รับในอิตาลียืดเยื้อ การยึดครองโรมมีผลทางการเมืองและจิตวิทยาอย่างสูง เมื่องหลวงของอิตาลี เป็นเมืองที่สำคัญที่สุดในยุโรป ซึ่งเทียบเท่ากับ ปารีส เบอร์ลิน มอสโคว และลอนดอน การยึดครองเมืองเช่นนี้มีผลเหนือมิติทางการทหาร ซึ่งจะเห็นได้จากในเวลาต่อมาชาวอิตาลีอยู่ข้างสัมพันธมิตร
ข่าวการยึดครองโรมไม่ได้รับความสนใจมากนัก อิตาลีถูกแบ่งแยกจากการเปลี่ยนข้างมาอยู่ฝ่ายสัมพันธมิตรการล้มสลายของโรมถูกคาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ความสำคัญของยุทธการดี-เดย์ซึ่งเกิดขึ้นในวันถัดมา บดดบังความสำคัญในการยึดครองโรม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...