คะมิกะเซะ หรือเรียกเป็นทางการว่า กองกำลังจูโจมพิเศษ เป็นคำในภาษาญี่ปุ่นมีความหมายว่าลมสวรรค์ หรือลมแห่งเทวะ คะมิกะเซะในภาษาญี่ปุ่น ถูกนำมาใช้เรียกลมสลาตัน และนำมาใช้เป็นชื่อฝูงบินและนักบินคะมิกะเซะเท่านั้น ต่างไปจากในภาษาอังกฤษที่ชาวตะวันตกนำคำๆนี้มาใช้เรียกการโจมตีแบบพลีชีพ คำๆนี้ถูกนำมาใช้เรียกอากาศยานพลีชีพของญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งบรรทุกระเบิดและพุ่งเข้าชนเรือ และคำนี้ยังหมายถึงนักบินผู้บังคับอากาศยานประเภทนี้ด้วย
คะมิ หมายถึง เทพเจ้า และ คาเซะ หมายถึงลม เมื่อนำมารวมกันแล้ววหมายถึงลมแห่งสวรรค์ และยังหมายถึง ลมพายุไต้ฝุ่นที่ให้กองทัพเรือของจี กว่าว 4,500 ลำ ล้มเหลวอย่างสิ้นเชิงในการบุกเข้าโจมตีญี่ปุ่นในสมัย จักรพรรดิจีนกุบไลข่าน
นวาโท อะไซกิ ทาไม อาจารย์สอน การบินทหาเรือ สอบถามนักเรียการบิน 23 คนในกลุ่มว่ามีใครสนใจจะเข้าร่วม ในกองกำลังโจมตีพิเศษ โดยทั้งหมดตกลงที่จะเข้าร่วมปฏิบัติการครั้งนี้ ต่อมามีมาเข้าร่วมอีก 1 นาย จึงรวมเป็น 24 คน
หน่วยพิเศษนี้ประกอบไปด้วย 4 หน่วยย่อยคือหน่วยชิคิชิมา หน่วยยามาโตะ หน่วยอาซาฮิ และหน่วยยามซาคูรา ซึ่งนำมาจากบทกว่าเกียวกับความรักชาติ ที่ประพันธ์โดย โมโตริ โนรินากะ
หลักฐานที่เชื่อถือได้ในการปฏิบัติการของหน่วยพิเศษหน่วยนี้คือกรโจมตีเรือลาดตระเวนหนัก ของออสเตรเลีย เรือถูกเครื่องบินญี่ปุ่น บรรทุกระเบิดหนัก 200 กิโลกรัมพุ่งเข้าชนกลางทะเล นอกเกาะเลเต เครื่องบินลำนี้ปะทะเข้ากับ ส่วนโครงสร้างเหนือดาดฟ้าใหญ่ของเรือ เหนือสะพานเดินเรือเกิดการระเบิด น้ำมันลุกไหม้และซากปรักหักพังกระจัดกระจาย เป็นวงกว้าง แต่ระเบิดหนัก 200 กิโลกรัมที่ติดมากับเครื่องบิน ไม่เกิดการระเบิด มีคนเสียชีวิตบนเรืออย่างน้อย 30 คน แต่กการโจมตีครั้งนี้ไม่ได้มาจากเครื่องบินคะมิกะเซะของหน่วยโจมตีพิเศษ ภายใต้การนำของ นาวาโท ทาไม่ แต่เป็นการปฏิบัติการของนักบินญี่ปุ่นไม่ทราบนาม
เดือนตุลา 1944 ฝูงบินคะมิกะเซะ ซึ่งประกอบเวย เครืองบินซีโร่ จำนวน 5 ลำ นำโดย เรือโท เซกิ ได้เข้าโจมตี เรือบรรทุกเครื่องบินคุ้มกันของสหรัฐฯ แม่จะมีเครื่องบินเพียงลำเดียวที่พุ่งชนเครื่องเรือได้สำเร็จ แต่ก็ส่งผลเกินคุ้มสามารถจมเรือได้
มกราคม 1945 ได้ถูกฝูงบินคะมิคะเซะโจมตีถึงหกครั้ง มีทหารประจำเรือเสียชีวิตถึง 86 นายแต่เรือก็รอดจากการถูกทำลายมาได้เรือรบของฝ่ายสัมพันธมิตร ลำอื่นๆ ที่รอดจากการระเบิดและจมลงทะเล แม้จะถูกฝูงบินคะมิกะเซะโจมตีซ้ำหลายครั้งในช่วง สงครามโลกครั้งที่ 2 เช่น เรือบรรทุกเครื่องยินขนาดใหญ่ ของสหรัฐจำนวน
2 ลำดูอัลบั้มทั้งหมด
วันเสาร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2556
WWII:Kamikaze
วันศุกร์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2556
WWII:Leyte Gulf
ฟิลิปปินส์ เป็นประเทศที่มีพทรัยากรธรรมชาตอุดมสมบูรณ์โดยเฉพาะยาพารา และยังเป็นเส้นทางส่งกำลังเสริมและการสนับสนุนในการบุกโจมตีเกาะบอร์เนียว และสุมาตรา และเป็นแหล่งน้ำมันของที่ส่งไปยังญี่ปุ่น อเมริกาเห็นว่าฟิลิปปินส์เปนจุดยุทธศาสตร์ที่จะต้องยึดให้ได้เพราะเป็นกุญแจที่จะบุกญี่ปุ่น ซึ่งจะเป็นที่ เติมเชื่อเพลิงในการเข้าโจมตี
ยุทธนาวีที่อ่าวเลย์เต หรือยุทธนาวีทะเลฟิลิปินส์ครั้งที่ 2 เป็นยุทธนาวีที่ใหญ่สุดในสงครามโลกครั้งที่ 2 และใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์
สมรภูมิในทะเลบริเวณใกล้กับเกาะเลย์เต ซามาร์และลูซอนของประเทศฟิลิปินส์ ในเดือนตุลาคม 1944 ระหว่างสัมพันธมิตรกับจักรวรรดิญี่ป่น การจู่โจมเกาะเลย์เตเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ที่มีวัตถุประสงค์ที่จะโดเดี่ยวญี่ปุ่นจกาบรรดาประเทศที่ญี่ปุ่นเข้าขึดครองในเอเชียตะวันออกเฉียใต้และยึดครองแปล่งน้ำมันซึ่งเป็นสิ่งสำคัญยิ่งในกองทัพและอุตสาหกรรม
กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ป่น ระดมเรือรบที่เหลือทั้งหมดในบริเวณนั้นเข้าต่อสู้เพื่อยับยั้งการบุกของฝ่ายสัมพันธมิตร แต่ถูกขับไล่ล่าถอยโดยกองเรือที่ 3 และกองเรือที่ 7 ของกองทัพเรือสหรัฐ กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นประสบความล้มเหลวและสูญเสียอย่งใหญ่หลวงจนไม่สามารถฟื้นตัวได้อีกในภายหลัง เรือรบขนาดใหญ่ที่เลือรอดก็ปราศจากน้ำมันเชื้อเพลิงต้องจอดทิ้งอยู่ในฐานทัพจนสงครามมหาสมุทรแปซิฟิกสงบลง
การรบที่อ่าวเลย์เต ในเดือนตุลาคม พลเอก ดักลาส แมคอาเธอร์ข้นบกที่อ่าวเลย์เต พร้อมกับกล่าวว่า “ผมกลับมาแล้ว” ญี่ปุ่นต้องการยึดคืนจึงได้นำแผน โช-1 มาใช้ เป็นแผนที่ต้องการล่อกองเรือสหรัฐอเมริกามาทำลาย โดยใช้กำลัง 3 กองเรือ
กองกำลังทางทะเลของญี่ปุ่น
- กองเรือภาคเหนือ อยู่ในการบังคับบัญชาของนายพลเรือ โอซาวา ใช้เป็นกองเรือล่อ ให้กองเรือบรรทุกเครื่องยบินของสหรัฐอเมริกาออกห่างจาก อ่าวเลย์เตประกองด้วยเรือบรรทุก เครื่องซุยกักุ เรือบรรทุกเครื่องบินเบา ซุยโฮ ชิโตเซ และซิโตยา กับเรือประจัญบานดัดแปลง เป็นเรือบรรทุกเครื่องบิน ไฮยูการ และอเซ
- กองเรือภาคกลาง อยู่ในการบังคับบัญชาของนายพลเรือ คูริตะ จะแล่นผ่านช่องแคบซาน เบอร์ดิโนถึงอ่าวเลย์เตเข้าโจมตีกองเรือสหรัฐอเมริกา ที่ป้องกันอ่าวเลย์เตประกอบด้วยเรือประจัญบานเก่า 3 ลำ เรือลาดตระเวนหนัก 10 ลำ เรือลาดตระเวนเบา 2 ลำ เรือพิฆาต 15 ลำ
- กองเรือภาคใต้ ประกอบด้วย กองเรือของนายพลเรือ ชิมา และกองเรือของนายพลเรือ นิชิมูรา แล่นฝ่านช่องซูบิกาเข้าโจมตีกองเรือสหรัฐอเมริกาที่อ่าวเลย์เต พร้อมกับนายพลเรือ คูริตะ กองเรือ นายเรือ ชิมา มีเรือลาดตระเวนหนัก 2 ลำ เรือลาดตระเวนเบา 1 ลำ เรือพิฆาต 4 ลำ กองเรือของนายพลเรือ นิชิมูรา มีเรือประจัญบานเก่า 2 ลำ เรือลาดตระเวนหนักโมกามิ และเรือพิฆาต 4 ลำ
กองกำลังทางทะเลของสหรัฐอเมริกา
- ในอ่าวเลย์เต กำลังส่วนใหญ่เป็นกองทัพเรือที่ 7 มีเรือบรรทุกกำลังยกพลขึ้นบก 2 ลำ เรือสินค้าหลายลำ เรือยกพลขึ้นบกกำลังระดมยิงฝั่งและยิงสนับสนุนประกอบด้วยเรือประจัญบาน เก่า 6 ลำ เรือลาดตระเวนและเรือพิฆาตหลายลำอยู่ยใต้การบังคับบัฐชาของพลเรือตรี เจสเซ บี โอล เดนดอร์ฟ
- ด้านนอกทางตะวันออกอ่างเลย์เตเป็นหน่วยเรือบรรทุกเครื่องบินเฉาะกิจของกองทัพรเอที่ 7 มีเรือบรรทุกเครื่องบินคุ้มกัน 18 ลำ มีเรือพิฆาตและเรือพิฆาตคุ้มกันจำนวนมากทำหน้าที่เรือฉาก
- ด้านตะวันออกเกาะลูซอน เป็นกองเรือเฉพาะกิจที่ 38 ของพลเรือเอก ฮาลเซย์ประกอบด้วยหมู่เรือเฉพาะกิจ 4 หน่วย แต่ละหน่วยมีเรือประมาณ 23 ลำ เรือบรรทุกเครื่องบินเบา 2 ลำ เรือประจัญบานใหม่ 3 ลำ เรือลาดตระเวน 2 ลำ เรือพิฆาต 14 ลำ กองเรือของนายพลเรือโอชาวา ทำงานสำเร็จภารกิจ คือ สามารถล่อกองเรือบรรทุกเครื่องยินของฮาลเซย์ขึ้นไปทางเหนือจนไกลจากอ่าวเลย์เต เมื่อมีเหตุการณ์ฉุกเฉิน จึงไม่สามารถจะมาช่วยกองเรือของตนที่อ่าวเลย์เต เพมื่อมีเหตุการณ์ฉุกเฉิน จึงไม่สามารถจะมาช่วยกองเรือของ ตนที่อ่าวเลย์เตได้ ทั้งนี้เพราะกองทัพเรือที่ 3 นายพลเรือ นิมิตซ์ ออกคำสังให้ปฏิบัติ 2 ภารกิจ คือ นายพลเรือ ฮาลเซย์ ทำหน้าที่คุ้มกันและสนับสนุนกำลังรบที่ฟิลิปปินส์ และถ้ามีโอกาสทำลายข้าศึก ให้ถือว่าเป็นภารกิจจำเพราะที่สำคัญ นายพลเรือ ฮาลเซย์ ถือปฏิบัติตามข้อหลัง จึงทำให้มาช่วยกองเรือที่อ่าวเลย์เตไม่ได้ตามกำหนดเวลา
การยกพลขึ้นบก อย่งเป็นทางการเริ่มในวันที่ 17 ตุลา พร้อมกับหน่วยทำลายกับระเบิดหน่วยที่ 6บริเวณระหว่างเกาะ 3 เกาะ คือ Suluan Dinagat และเกาะ Homonhon บริเวณปากอ่าวเลย์เต หน่วยเรนเจอร์(หน่วยทหารเคลื่อที่เร็ว)
กองกำลังที่ 6 ต่อสู้อย่างเต็มกำลั ง กองทหารม้าที่ 1 ยึดเมืองสำคัญของเกาะเลย์เตได้ นายพล แมคอาเธอร์ จัดงานเลี้ยงฉลองเพื่อเรียกขวัญกำลังใจให้กับกองกำลังและพี่น้องประชาชนท้องถ่อน ณ เกาะเลย์เต
กองกำลังสหรัฐ ต่อสู้กับทหารญี่ปุ่นบนเกาะแบบข้ามวันข้ามคืนและสามารถยึดครองเนื่อที่ของเกาะเหนือ 7 วันหลังจากยกพลขึ้นบก กองทหารม้าบุกเข้าไปในหุบเขา และสร้างความเสียหายให้กับอู่ต่อเรือ Carigara
สนามบินญี่ปุ่นถูกบุกโจมตีถึง 4 แห่งแบบฉับพลัน ความยากลำบากเนื่องทัพอากาศญี่ปุ่นไม่สามารถลงจอดได้ เป็นเหตุให้กองกำลังทางอากาศญี่ปุ่น กว่า 200 ลำ บุกโจมตีกองเรืออเมริกาบริเวณชายหาด เครื่องบินกามิกาเซ่ ถือกำเนิดในยุทธการเลย์เต
ภาคพื้นทะเล การสู้รบมีหลายแบบ การใช้กำลังเรือบรรทุกเครื่องบิน การดวลปืนใหญ่เรือ สงครามตอร์ปิโดของเรือดำน้ำ และเรือพิฆาตหรือกระทั้งการต่อสู้ของเรือผิวน้ำของกองเรือที่ 7 ในการคุ้มกับเรือบรรทุกเครื่องบิน การใช้ยุทธวิธีโบราณ เรื่อคุ้มกันเรือบรรทุกเครื่องยิน ทำหน้าที่ เสมือนส่วนทะลวงและคุ้มกันเบื้องหน้า กองเรือล่อหลอกอยู่ที่แห่งหนึ่ง.. การยกธงขาวยอมแพ้ซึ่งมีให้เห็นไม่มากนัก ที่ยุทธนาวีเลย์เตนี้มีให้เห็นลำหนึ่งเป็นเรือของออสเตรเลีย เรือลาดตระเวน 3 ปล่อง ชั้น คันที่ เรือชักธงขาวขึ้นที่พรวนซ้าย มองเห็นชัดเจน เรื่อที่สร้างแหวงแนวของเครื่อจักรภพอังกฤษลำนี้ปัจจุบันเปลี่ยนมือไปเป็นของโคลัมเบีย… การโจมตีเรือที่ทรงพลังอำนาจ อย่างยามาโต้ และมูซาชิ ซึ่งพิสูจน์ให้เห็นว่าแม้จะมีพลังอำนาจเพียงใดแต่ยังคมีความเปราะบางต่อการโจมตีทางอากาศ..
วันพฤหัสบดีที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556
WWII:Liberation of Paris
ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 กรุงปารสได้อยู่ในแนวหน้าของการรบ โดยรอดจากการโจมตีของเยอรมันไปได้ กรุงปารีสกลายเป็นที่สวนสนามแห่งชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตรและเป็นที่เจรจาสันติภาพอีกด้วย ในช่วงระหว่างสงคราม กรุงปารีสได้มีชื่อเสียงจากศิลปวัฒนธรรมต่าง ๆ และชีวิตยามค่ำคืน เมื่องนี้ได้กลายเป็นศูนย์รวมชองจิตกรชื่อดังทั่งโลก
มิถุนายน 1940 ห้าสัปดาห์หลังจากการเริ่มต้นของสงครามแห่งฝรั่งเศส กรุงปารีสตกอยู่ภายใต้การปกครองของกองทัพนาซีเยอรมัน กรุงปารีสยืนหยัดท่ามกลางสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยไม่ได้รับความเสียหายใดๆ เนื่องจากภายในกรุงปารสไม่มีเป้าทางยุทธศาสตร์สำหรับฝ่ายสัมพันธมิตรในการวางระเบิด และด้วยความสวยงามทางวัฒนธรรม พลเอกดีทริช ฟอน โชลทิทซ์ General der Infanterich von Choltitz นายทหารเยอรมันขัดคำสั่งของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในการทำลายกรุงปารีสและอนุสาวรีย์ที่สำคัญก่อนการถอนทหารเยอรมันออกจากปารีส ชาวฝรั่งเศสบางคนมองเขาว่าเป็นผู้ช่วยเหลือกรุงปารีส
18 มิถุนายน เดอ โกล เตรียมตัวที่จะปราศรัยแก่คนฝรั่งเศฝ่านทางวิทยุ BBC ในกรุงลอนดอน คณะรัฐมนตรีของอังกฤษได้พยายามบล็อกคำปราศรัยครั้งนั้น แต่วินสตัน เชอร์ชิลล์ ก็ได้ยับยั้งมติคณะรัฐมนตรีไว้ได้ ในประเทศฝรั่งเศส เดอ โกล Appel du 18 June น่าจะเป็นที่ได้ยินของคนทั้งชาติในเย็นวันนั้น แต่ในความเป็นจริงมีผู้ได้ยินคำประกาศนั้นน้อยมาก เดอ โกลยังไม่เป็นที่รู้จักกันฝรั่งเศสตอนนั้น คำปราศรัยของเขาเป็นเหมือนความเพ้อฝัน วลีที่ว่า ฝรังเศสแพ้จากการรบ แต่ยังมิได้แพ้สงคราม นั้นแสดงให้เห็นถึงความตั้งใจแน่วแนของชาร์ล เดอ โกล เขามีส่วนร่วมในการต่อต้านการบุกรุกของเยอรมันและประกาศว่า “ไฟแห่งการต่อต้านของฝรั่งเศสจะไม่ดับลง”
ในไม่ช้าท่ามกลางความวุ่นวาย งุ่นงง และยุ่งเหยิงของประเทศฝรั่งเศส ข่าวที่ว่ามีนายพลชาวฝรั่งเศสที่อยู่ในกรุงลอนดอนได้ปฏิเสธที่จะยอมแพ้หรือสงบศึกกับเยอรมันและได้ประกาศว่าสงครามยังดำเนินต่อไป ได้กระจายจากปากสู่ปาก และจนวันนี้คำปราศรัยของเขานั้นเป็นที่จดจำและโด่งดังที่สุดอย่างหนึ่งในประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส
ในลอนดอน ชาร์ล เดอ โกล ได้ก่อตั้งและดำเนินการแนวร่วมการปลดปล่อยฝรั่งเศส ในขณะที่สหรัฐอเมริกาให้การยอมรับรัฐบาลวิซีฝรั่งเศสแต่สหราชอาณาจักรรัฐบาลของวินสตัน เชอร์ชิลล์ให้การสนับสนุนชาร์ล เดอ โกล ทั่งที่รักษาระดับความสัมพันธ์กับรัฐบาลวิซีฝรั่งเศสอยู่
เดือนกรกฎาคม ปี 1940 ศาลทหารได้ตัดสินให้ชาร์ล เอด โกล จำคุกเป็นเวลา 4 ปี(โดยที่เจ้าตัวไม่อยู่) และการตัดสินครั้งที่ 2 ในเดือนสิงหาปีเดียวกัน ตัดสินประหารชีวิตเนื่องจากทรยศและทำการกบฏต่อรัฐบาลวิซีฝรั่งเศส
ในการปฏิบัติต่อสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกานั้น เขายืนหยัดตลอดเวลาในการยืนหยัดสิทธิเสรีภาพในฐานะตัวแทนคนฝรั่งเศส แต่บ่อยครั้งบที่เขาถูกฝ่ายสัมพันธมิตรลืม ภรรยาเซอร์วินสตัน เชอร์ชิลล์ ผุ้ซึ่งชื่นชมในตัวเอด โกล เคยเตือนเขาว่า อย่างเหลียดพันธมิตมากกวาศัตรู แต่เดอ โกลตอบกลับไปว่า ฝรั่งเศสไม่ม่เพื่อนมีแต่หุ้นส่วน
สถานการณ์ดังกล่าวมีความซับซ้อน เดอ โกล ไม่ไว้วางใจจุดประสงค์ของสหราชอาณาจักและสหรัฐอเมริกา เนื่องจากนักการเมืองระดับสูงของสหรัฐฯนั้นไม่ไว้วางใจแนวร่วมปลดปล่อยฝรั้งเศส ในทางกลับกัน สหรัฐอเมริกาก็ยังให้การยอมรับรัฐบาลวิซีฝรั่งเศสแทน
เขาทำงานร่วมกับกลุ่มการต่อต้านของฝรั่งเศสและผุ้สนับสนุนการครอบครองเมืองขึ้นฝรั่งเศสบริเวณแอฟริกา ต่อมาหลังภารกิจ Oparation Torch ทหารอังกฤษและอเมริกันยกพลบุกเมืองขึ้นฝรั้งเศสในอแฟริกาเนหือ เดอ โกล ย้ายกองบัญชการไปยังเมืองแอลเจียร์ ประเทศแอลจีเรีย หลังจากนั้น เดอ โกลก็ได้เป็นประธานร่วม และภายหลังเป็นประธารคณะกรรมมาธิการปลดปล่อยแห่งชาติแบบเต็มตัว
ระหว่างภารกิจการปลดปล่อยฝรั่งเศสนั้น ทหารอังกฤษและอเมริกันก็ได้ยกพลขึ้นผืนแผ่นดินใหญ่ที่ประเทศฝรั่งเศสในภารกิจ Operation OverLord เดอ โกลก็สถาปนา แนวร่วมการปลดปล่อยฝรั่งเศสในผืนแผ่นดินใหญ่ฝรั่งเศส หลีกเลี่ยง รัฐบาลทหารสัมพันธมิตรเพื่อครอบครองดินแดน เขานั่งเครื่องฯจากประเทศแอลจีเรียมายังฝรังเศสก่อนการเป็นเสรีภาพของกรุงปารีส และได้เคลื่อนที่เข้าไปบริเวณแนวหน้าใกล้ ๆ เมื่องหลวงพร้อมกับทหารสัมพันธมิตร เขาได้กลับมายังกรุงปารีสในไม่ช้า และได้กลับเข้าทำงานในกระทรวงระหว่างสงคราม และได้ประกาศว่าสาธารณรัฐที่ 3 ยังคงอยู่ต่อไปและปฏิเสธการปกครองของวิซีฝรั่งเศส
ภายหลังการนำของชาร์ล เดอ โกล ผู้ที่ได้ทำการต่อต้านและต่อสู้เพื่อฝรั่งเศสมาก่อนหน้านี้เเล้วซึ่งสามารถเคลื่อนกองทัพ กองทัพหนึ่งของฝรั่งเศสในบริเวณแนวตะวันตกได้ โดยการกระทำภารกิจยกพลขึ้นทางตอนใต้ของฝรั่งเศส Operation Dragoon ซึ่งสามารถทำให้ 1 ใน 3 ของประเทศฝรั่งเศสเป็นเสรีจากกองทัพเยอรมันได้ ทหารกลุ่มนีเเรยกว่า กองทัพฝรั่งเศสกลุ่มแรก ทำให้กองทัพฝรั่งเศสนั้นไดเข้าร่วมในการต่อสู้กับเยอมันทางทหารพร้อมเพรียงกับทหารอังกฤษโดยปริยาย และยังได้ยึดดินแดนที่กองทัพเยอรมันครอบครองไว้คืนมาอีกด้วยและส่งผลถึงการที่ฝรั่งเศสมีส่วนร่วมในสนธิสัญญการยอมแพ้ของเยอรมันด้วย ไปกวานั้นฝรั่งเศสยังมีโอกาสที่จะควบคุม 1 ใน 4 ส่วนของประเทศเยอรมันหลังสงครามอักด้วย
จากปฏิบัติการ “โอเวอร์ลอร์ด”สู่การปลดปล่อยปารีส ชาร์ล เดอโกล ได้จัดตั้งรัฐบาลเฉพาะการแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสในเดือนมิถุนายน ปี่ 1944 และหลังจากการประกาศอิสรภาพของกรุงปารีส รัฐบาลเฉพาะกาลแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสได้แต่งตั้งตัวเองอย่างเป็นทางการในวันที่ 31 สิงหาคม อีกทั้งได้รับการรับรองให้เป็ฯรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ถูกต้องตามกฎหมายโดยฝ่ายสัมพันธมิตรในวันที่ 24 ตุลาคม 1944
จากอิสรภาพของสาธารณรัฐฝรั่งเศสนเดือนสิงหาคมและกันยายนรัฐบาลวีซีย้ายไปยังเมืองซิกมาริงเงินในเยอรมันและได้กลายเป็นรัฐบาลที่ถูกเนรเทศ เปแตงยังคงเป็นผู้นำต่อมาจนถึงเดือนเมษายน ปี 1945 ภายหลังเปแตงถูกพิจารณาประหารชีวิตในข้อหากบฏ แต่ต่อมาภายหลังได้รับการลดทอนโทษให้เหลือจำคุกตลอดชีวิต
มิถุนายน 1940 ห้าสัปดาห์หลังจากการเริ่มต้นของสงครามแห่งฝรั่งเศส กรุงปารีสตกอยู่ภายใต้การปกครองของกองทัพนาซีเยอรมัน กรุงปารีสยืนหยัดท่ามกลางสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยไม่ได้รับความเสียหายใดๆ เนื่องจากภายในกรุงปารสไม่มีเป้าทางยุทธศาสตร์สำหรับฝ่ายสัมพันธมิตรในการวางระเบิด และด้วยความสวยงามทางวัฒนธรรม พลเอกดีทริช ฟอน โชลทิทซ์ General der Infanterich von Choltitz นายทหารเยอรมันขัดคำสั่งของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในการทำลายกรุงปารีสและอนุสาวรีย์ที่สำคัญก่อนการถอนทหารเยอรมันออกจากปารีส ชาวฝรั่งเศสบางคนมองเขาว่าเป็นผู้ช่วยเหลือกรุงปารีส
18 มิถุนายน เดอ โกล เตรียมตัวที่จะปราศรัยแก่คนฝรั่งเศฝ่านทางวิทยุ BBC ในกรุงลอนดอน คณะรัฐมนตรีของอังกฤษได้พยายามบล็อกคำปราศรัยครั้งนั้น แต่วินสตัน เชอร์ชิลล์ ก็ได้ยับยั้งมติคณะรัฐมนตรีไว้ได้ ในประเทศฝรั่งเศส เดอ โกล Appel du 18 June น่าจะเป็นที่ได้ยินของคนทั้งชาติในเย็นวันนั้น แต่ในความเป็นจริงมีผู้ได้ยินคำประกาศนั้นน้อยมาก เดอ โกลยังไม่เป็นที่รู้จักกันฝรั่งเศสตอนนั้น คำปราศรัยของเขาเป็นเหมือนความเพ้อฝัน วลีที่ว่า ฝรังเศสแพ้จากการรบ แต่ยังมิได้แพ้สงคราม นั้นแสดงให้เห็นถึงความตั้งใจแน่วแนของชาร์ล เดอ โกล เขามีส่วนร่วมในการต่อต้านการบุกรุกของเยอรมันและประกาศว่า “ไฟแห่งการต่อต้านของฝรั่งเศสจะไม่ดับลง”
ในไม่ช้าท่ามกลางความวุ่นวาย งุ่นงง และยุ่งเหยิงของประเทศฝรั่งเศส ข่าวที่ว่ามีนายพลชาวฝรั่งเศสที่อยู่ในกรุงลอนดอนได้ปฏิเสธที่จะยอมแพ้หรือสงบศึกกับเยอรมันและได้ประกาศว่าสงครามยังดำเนินต่อไป ได้กระจายจากปากสู่ปาก และจนวันนี้คำปราศรัยของเขานั้นเป็นที่จดจำและโด่งดังที่สุดอย่างหนึ่งในประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส
ในลอนดอน ชาร์ล เดอ โกล ได้ก่อตั้งและดำเนินการแนวร่วมการปลดปล่อยฝรั่งเศส ในขณะที่สหรัฐอเมริกาให้การยอมรับรัฐบาลวิซีฝรั่งเศสแต่สหราชอาณาจักรรัฐบาลของวินสตัน เชอร์ชิลล์ให้การสนับสนุนชาร์ล เดอ โกล ทั่งที่รักษาระดับความสัมพันธ์กับรัฐบาลวิซีฝรั่งเศสอยู่
เดือนกรกฎาคม ปี 1940 ศาลทหารได้ตัดสินให้ชาร์ล เอด โกล จำคุกเป็นเวลา 4 ปี(โดยที่เจ้าตัวไม่อยู่) และการตัดสินครั้งที่ 2 ในเดือนสิงหาปีเดียวกัน ตัดสินประหารชีวิตเนื่องจากทรยศและทำการกบฏต่อรัฐบาลวิซีฝรั่งเศส
ในการปฏิบัติต่อสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกานั้น เขายืนหยัดตลอดเวลาในการยืนหยัดสิทธิเสรีภาพในฐานะตัวแทนคนฝรั่งเศส แต่บ่อยครั้งบที่เขาถูกฝ่ายสัมพันธมิตรลืม ภรรยาเซอร์วินสตัน เชอร์ชิลล์ ผุ้ซึ่งชื่นชมในตัวเอด โกล เคยเตือนเขาว่า อย่างเหลียดพันธมิตมากกวาศัตรู แต่เดอ โกลตอบกลับไปว่า ฝรั่งเศสไม่ม่เพื่อนมีแต่หุ้นส่วน
สถานการณ์ดังกล่าวมีความซับซ้อน เดอ โกล ไม่ไว้วางใจจุดประสงค์ของสหราชอาณาจักและสหรัฐอเมริกา เนื่องจากนักการเมืองระดับสูงของสหรัฐฯนั้นไม่ไว้วางใจแนวร่วมปลดปล่อยฝรั้งเศส ในทางกลับกัน สหรัฐอเมริกาก็ยังให้การยอมรับรัฐบาลวิซีฝรั่งเศสแทน
เขาทำงานร่วมกับกลุ่มการต่อต้านของฝรั่งเศสและผุ้สนับสนุนการครอบครองเมืองขึ้นฝรั่งเศสบริเวณแอฟริกา ต่อมาหลังภารกิจ Oparation Torch ทหารอังกฤษและอเมริกันยกพลบุกเมืองขึ้นฝรั้งเศสในอแฟริกาเนหือ เดอ โกล ย้ายกองบัญชการไปยังเมืองแอลเจียร์ ประเทศแอลจีเรีย หลังจากนั้น เดอ โกลก็ได้เป็นประธานร่วม และภายหลังเป็นประธารคณะกรรมมาธิการปลดปล่อยแห่งชาติแบบเต็มตัว
ระหว่างภารกิจการปลดปล่อยฝรั่งเศสนั้น ทหารอังกฤษและอเมริกันก็ได้ยกพลขึ้นผืนแผ่นดินใหญ่ที่ประเทศฝรั่งเศสในภารกิจ Operation OverLord เดอ โกลก็สถาปนา แนวร่วมการปลดปล่อยฝรั่งเศสในผืนแผ่นดินใหญ่ฝรั่งเศส หลีกเลี่ยง รัฐบาลทหารสัมพันธมิตรเพื่อครอบครองดินแดน เขานั่งเครื่องฯจากประเทศแอลจีเรียมายังฝรังเศสก่อนการเป็นเสรีภาพของกรุงปารีส และได้เคลื่อนที่เข้าไปบริเวณแนวหน้าใกล้ ๆ เมื่องหลวงพร้อมกับทหารสัมพันธมิตร เขาได้กลับมายังกรุงปารีสในไม่ช้า และได้กลับเข้าทำงานในกระทรวงระหว่างสงคราม และได้ประกาศว่าสาธารณรัฐที่ 3 ยังคงอยู่ต่อไปและปฏิเสธการปกครองของวิซีฝรั่งเศส
ภายหลังการนำของชาร์ล เดอ โกล ผู้ที่ได้ทำการต่อต้านและต่อสู้เพื่อฝรั่งเศสมาก่อนหน้านี้เเล้วซึ่งสามารถเคลื่อนกองทัพ กองทัพหนึ่งของฝรั่งเศสในบริเวณแนวตะวันตกได้ โดยการกระทำภารกิจยกพลขึ้นทางตอนใต้ของฝรั่งเศส Operation Dragoon ซึ่งสามารถทำให้ 1 ใน 3 ของประเทศฝรั่งเศสเป็นเสรีจากกองทัพเยอรมันได้ ทหารกลุ่มนีเเรยกว่า กองทัพฝรั่งเศสกลุ่มแรก ทำให้กองทัพฝรั่งเศสนั้นไดเข้าร่วมในการต่อสู้กับเยอมันทางทหารพร้อมเพรียงกับทหารอังกฤษโดยปริยาย และยังได้ยึดดินแดนที่กองทัพเยอรมันครอบครองไว้คืนมาอีกด้วยและส่งผลถึงการที่ฝรั่งเศสมีส่วนร่วมในสนธิสัญญการยอมแพ้ของเยอรมันด้วย ไปกวานั้นฝรั่งเศสยังมีโอกาสที่จะควบคุม 1 ใน 4 ส่วนของประเทศเยอรมันหลังสงครามอักด้วย
จากปฏิบัติการ “โอเวอร์ลอร์ด”สู่การปลดปล่อยปารีส ชาร์ล เดอโกล ได้จัดตั้งรัฐบาลเฉพาะการแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสในเดือนมิถุนายน ปี่ 1944 และหลังจากการประกาศอิสรภาพของกรุงปารีส รัฐบาลเฉพาะกาลแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสได้แต่งตั้งตัวเองอย่างเป็นทางการในวันที่ 31 สิงหาคม อีกทั้งได้รับการรับรองให้เป็ฯรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ถูกต้องตามกฎหมายโดยฝ่ายสัมพันธมิตรในวันที่ 24 ตุลาคม 1944
จากอิสรภาพของสาธารณรัฐฝรั่งเศสนเดือนสิงหาคมและกันยายนรัฐบาลวีซีย้ายไปยังเมืองซิกมาริงเงินในเยอรมันและได้กลายเป็นรัฐบาลที่ถูกเนรเทศ เปแตงยังคงเป็นผู้นำต่อมาจนถึงเดือนเมษายน ปี 1945 ภายหลังเปแตงถูกพิจารณาประหารชีวิตในข้อหากบฏ แต่ต่อมาภายหลังได้รับการลดทอนโทษให้เหลือจำคุกตลอดชีวิต
WWII:Battle of Normandy
นอร์มังดีเป็นสมรภูมิที่ฝ่ายสัมพันธมิตรเลือกที่จะยกพลขึ้นบกทางตอนใต้ของฝรั่งเศสเพื่อรบกวนแนวหลังของเยอรมัน โดยบุกข้ามช่องแคบอังกฤษจากฐานที่ตั้งชั่วคราวในแนวรบที่อยู่ทางตอนใต้ของประทเษอังกฤษ(เมืองพอร์ทสมัธ)มายังหัวหาดนอร์มังดีภายมต้แผนปฏิบัติกาโอเวอร์ลอร์ด หรือที่รู้จักกันว่า วันดี-เดย์
กองกำลังฝ่ายสัมพันธิมิตรนั้นประกอบด้วยทหารจากหลายประเทศด้วยกัน ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร แคนาดา นอกจานี้ทหารจากกองกำลังฝรั่งเศสเสรี และโปแลนด์ได้เข้าร่วมกับกองกำลังสัมพันธมิตรด้วย เมื่อทจู่โจมจากเกาะอังกฤษเข้าสู่ฝรั่งเศสได้แล้ว ยังมีกองทหารจากหลายประเทศเข้ามาร่วมกับพันธมิตรหลังจากนั้นด้วย ได้แก่ เบลเยี่ยม เชโกสโลวาเกีย กรีซ เนเธอร์แลนด์ และนอร์เวย์
การบุกหัวหาดนอร์มัดีเริ่มต้นตั้งแต่คือวันที่ 5 มิถุนายน โดยเครื่องบินท้งพลร่มและเครื่องร่อนลงมา และกองทัพอากาศฝ่ายสัมพันธมิตรเริ่มเปิดการทิ้งระเบิดกองทัพเยอรมันที่ประจำอยู่ตามเมืองริมชายฝั่งของฝรั่งเศส รวมถึงการยิงปืนใหญ่จากเรือรบพันธมิตร กระทั่งการบุกข้ามทะเลของกองกำลังหลักเริ่มต้นขึ้นในตอนเช้าของวันที่ 6 และต่อจากนั้นอีก 2 เดือน จนถึงการปลดปล่อยปารีสในปลายเดือนสิงหาคม 1944 เป็นอันสิ้นสุดภาระกิจ
ในแผนดังกล่าว ถูกหนดไว้คือวันที่ 5 มิถุนา จะมีพลริ่มลงไปหลังแนวป้องกันก่อน เพื่อตัดกำลังและคุมสะพานไม่ใด้พวกเยอรมันที่อยู่หลังแนวรบ ส่งกำลังมาหน้าแนวได้ทัน ได้มีการทิ้งห่นพลร่มปลอมในบางจุดด้วย
เช้าวันที่ 6 กองทัพเรือขนาดใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โลก ยาตราเข้าอ่าวนอร์มังดี บนหาดมีเครื่องกีดขวางมากมาย แม้แต่เรือเล็กก็ไม่สามารถเข้าใกล้ตัวหาดได้มากนัก บนหาดถูกต่อต้านโดยปืนใหญ่ ปืนกลหนัก เครื่องยิงลูกระเบิด และปืนต่อต้านรถถังจำนวนมาก ทั้งยังมีรั่วลวดหนามคูดักรถถัง และกับระเบิดบนหาด ทหราเสียชีวิตมากมายก่อนจะยึดหัวหาดได้ โดยเฉพาะที่หาดโฮมาฮ่า
แผนการรับมือครั้งนี้ โดย จอมพล รอมเมลคือต้องการสร้าง
เครื่องกีดขวางและเครื่องป้องกันหาดต่าง ๆ บนหาดให้มากที่สุด เพราะเมื่อหาดถูกบุก หาดจะถูกป้องกันพวกพันธมิตร จะต้องตายคาหาด แต่ฮิตเลอร์ไม่เห็นด้วย โดยเห็นว่าการตั้งรับควรอยู่หลังแนวหาดมากกว่า คือควรจะจัดการกับพวกสัมพันธมิตรบนบกหลังแนวดีกว่า จึงดึงกำลังสำคัญ เช่น หน่วยยานเกราะเกือบทั้งหมดไปอยู่ส่วนหลัง เหลือเพียงกองพลยานเกราะที่ 21 กองพลเดียว พร้อมกับกองพลทหารราบ 38 กองพล วางกลังอยู่ตั้งแต่เมืองท่าคาเล่ย์ของฝรั่งเศส ขึ้นเหนือไปถึงฮอลเเลนด์ และเลยลงไปทางใต้ถึงชายแดนสเปน แนวตั้งรับของเยอรมันมีระยะทางที่ยาวมาก กำลังทหารเยอรมันจึงไม่เพียงพอต่อการต่อต้านการยกพลขึ้นบก ในขณะเดียวกัน ลูฟวาฟเฟ ของเยอรมันก็มีเครื่องบินขับไล่และเครื่องบินทิ้งระเบิดนอ้ยเกินกว่าจะรับมือได้
กำลังฝ่ายสัมพันธมิตรที่จะยกพลขึ้นบกประกอบด้วย กองพลทหารราบที่ 39 กองพล(สหรัฐ 20 กองพล อังกฤษ 3 กองพล แคนาดา 1 กองพล และฝรั่งเศสอิสระ1 กองพล โปแลนด์ 1 กองพลเครื่องบินขับไล่ กว่า 5,000 ลำ เครื่องร่อน 2,600 ลำ เรือรบและเรื่ออื่นๆ กว่า 6,000 ลำ ซึ่งแม้จะนวนทหารราบจะใกล้เคียงกัน แต่ด้วยแนวรบที่ตั้งรับเป็นระยะยาวจึงทำให้จำนวนทหารฝ่ายเยอมันกระจายออกในขณะที่ ทหารฝ่ายสัมพันธมิตรรวมกันเป็นจุดเดียว
เยอรมันเชื่อว่าการยกพลขึ้นบกจะมีขึ้นในฤดูร้อนของปี 1944 โดยมีการเตรียมการขนานใหญ่ที่สามารถสังเกตเห็นได้ในอังกฤษ ฝ่ายสัมพันธมิตเองก็พยายามลวงฝ่ายเยอรมันว่าการยกพลขึ้นบกจะมีขึ้นที่คาเล่ย์ สายลับทั้งสองฝ่ายต้องทำงานกันอย่งหนัก สายลับสัมพันธมิตรพยายามปล่อยข่าวสถานที่ยกพลขึ้นบกหลายห่ง จนสายลับเยอรมันในอังกฤษเกิดความสับสน นายพล ดไวท์ ดี.ไอเซนฮาว ผู้บัญชาการสุงสุดในยุทธการครั้งนี้ ก็วางแผนที่จะเริ่มการยกพลขึ้นบกในวันที่ 5-7 มิถุนายน ในเวลารุ่งเช้า แต่สภาพภูมิอากาศที่เลวร้าย คลื่นลมบริเวณช่องแคลอังกฤษแรงราวกับทะเลคลั่ง การปฏิบัติการจึงต้องเลื่อนออกไปอีก 24 ชม.กระทั่งเช้าวันที่ 6 นายพล ไอร์เซนฮาวน์จึงตัดสินใจที่จะเริ่มการยกพลขึ้นบก
ฝ่ายเยอมันสับสนกับข่าวการยกพลขึ้นบก ข่าววิทยุจาสถานกระจายเสียงจากกรุงลอนดอนของอังกฤษ สามารถรับฟังได้อย่างชัดเจนในฝรั่งเศส ซึ่งมักจะส่งข่าวให้พวกใต้ดินในฝรั่งเศส ฝ่านทางข้อความที่เป็นรหัสลับ ออกข่าวเป็นบทกวี ซึ่งเป็นสัญญาณให้หน่วนใต้ดินฝรั่งเศสทราบว่าการบุกกำลังจะเกิดขึ้น เยอรมันจับรหัสนี้ได้ แต่สภาพอากาศที่เลวร้าย ทะเลมีคลื่อลมแรง เยอรมันตายใจ ไม่คิดว่าการยกพลจะเกิดขึ้นในสภาพอากาศที่เลวร้ายอย่างนี้ จอมพลรอมเมลเอง ก็เดินทางกลับเยอรมัน ไม่มีใครคาดคิดว่าการยกพลกำลังจะเกิดขึ้น
คือนวันที่ 5 ต่อเช้าวันที่ 6 พันธมิตรส่งพลร่มเข้าโจมตีตามจุดต่างๆ ของเมือง โดยปล่อยหุ่นและปะทัดเข้าปะปนมากับพลร่มเพื่อสร้างกลลวง การปฏิบัติการดังกล่าว บางคนกล่าวว่าเป็นปฏิบัติการฆ่าตัวตาย เนื่องจากการเข้ามาในเขตของข้าศึกโดยไม่มีกำลังสนับสนุน การสู้รบจึงเป็นไปด้วยความลำบาก แต่ด้วยความกล้าหาญของทหารหาญซึ่งต่อสู้กระทั่งกองกำลังสมทบมาถึง
หาดโอมาฮ่า สถานะการณ์รุนแรงที่สุด ซึ่งกองพลทหารราบของสหรัฐ ได้รับการสนับสนุนด้วยรถถังเพียง 5 คัน การต้อนรับในหาดนี้เยอรันมีประสบการณ์จากกองพลที่ 352 แม้จะมีการระดมยิงจากปืนเรือก่อนขึ้นหาด แต่กองพลเยอรมันส่วนใหญ่ไม่ได้รับความเสียหายความสูญเสียมีมากกกระทั่งนายพลโอมาร์ แบรดลีย์ ของสหรัฐฯ พิจารณาถึงการจะถอนตัวจากหาดนี้ แต่ในที่สุดอเมริกันก็สามารถยึดหาดโอมาฮ่าได้..
หาดโกลด์ กองพลทหาราบที่ 50 และกองพลน้อยยานเกราะที่ 8 ของกองทัพอังกฤษที่พรั่งพร้อมด้วยรถถัง และอาวุธหนัก บุกเข้าโจมรีแนวต้านทานของเยอรมันตลอดแนวชายหาด การสู้รบที่หนักหน่วงที่สุด เกิดขึ้นที่หมูบ้านเล็ก ๆ ซึ่งถูกดัดแปลงให้เป็นป้อมปรากการ มีการวางปืนใหญ่ขนาด 75 มม. จำนวนหนึ่ง ซึ่งสามารถยิงครอบคลุมได้ทั้งหาด รถถังอังกฤษ 4 ใน 5 คันถูกทำลายทันทีเมื่อถึงหาดโกลด์ อังกฤษต่อสู้อย่างยืนหยัดนานกว่า 8 ชม.โดยปราศจากการสนับสนุนจากอาวุธหนักเช่นรถถัง การต่อสู้แบบประชิดตัวในที่สุดทหารอังกฤษก็สามารถรถกเข้าไปถึง 13 กม.จากหัวหาดโกลด์
สิ้นสุดวันอันยาวนาน The longest day ฝ่ายสัมพันธมิตรกว่า 150,000 คน สามารถยึดครองพื้นที่ กว่า 200 ตารางกิโลเมตรตามแนวหาดนอร์มังดี นับจากวัน ดี-เดย์เป็นต้นมาเยอรมันก็เร่มเป็นฝ่ายถอย และเป็นการเริ่มต้นของการปลดปล่อยฝรั่งเศสพร้อมๆกับการเริ่มต้นของการล่มสลายของระบอบปกครองนาซี..
กองกำลังฝ่ายสัมพันธิมิตรนั้นประกอบด้วยทหารจากหลายประเทศด้วยกัน ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร แคนาดา นอกจานี้ทหารจากกองกำลังฝรั่งเศสเสรี และโปแลนด์ได้เข้าร่วมกับกองกำลังสัมพันธมิตรด้วย เมื่อทจู่โจมจากเกาะอังกฤษเข้าสู่ฝรั่งเศสได้แล้ว ยังมีกองทหารจากหลายประเทศเข้ามาร่วมกับพันธมิตรหลังจากนั้นด้วย ได้แก่ เบลเยี่ยม เชโกสโลวาเกีย กรีซ เนเธอร์แลนด์ และนอร์เวย์
การบุกหัวหาดนอร์มัดีเริ่มต้นตั้งแต่คือวันที่ 5 มิถุนายน โดยเครื่องบินท้งพลร่มและเครื่องร่อนลงมา และกองทัพอากาศฝ่ายสัมพันธมิตรเริ่มเปิดการทิ้งระเบิดกองทัพเยอรมันที่ประจำอยู่ตามเมืองริมชายฝั่งของฝรั่งเศส รวมถึงการยิงปืนใหญ่จากเรือรบพันธมิตร กระทั่งการบุกข้ามทะเลของกองกำลังหลักเริ่มต้นขึ้นในตอนเช้าของวันที่ 6 และต่อจากนั้นอีก 2 เดือน จนถึงการปลดปล่อยปารีสในปลายเดือนสิงหาคม 1944 เป็นอันสิ้นสุดภาระกิจ
ในแผนดังกล่าว ถูกหนดไว้คือวันที่ 5 มิถุนา จะมีพลริ่มลงไปหลังแนวป้องกันก่อน เพื่อตัดกำลังและคุมสะพานไม่ใด้พวกเยอรมันที่อยู่หลังแนวรบ ส่งกำลังมาหน้าแนวได้ทัน ได้มีการทิ้งห่นพลร่มปลอมในบางจุดด้วย
เช้าวันที่ 6 กองทัพเรือขนาดใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โลก ยาตราเข้าอ่าวนอร์มังดี บนหาดมีเครื่องกีดขวางมากมาย แม้แต่เรือเล็กก็ไม่สามารถเข้าใกล้ตัวหาดได้มากนัก บนหาดถูกต่อต้านโดยปืนใหญ่ ปืนกลหนัก เครื่องยิงลูกระเบิด และปืนต่อต้านรถถังจำนวนมาก ทั้งยังมีรั่วลวดหนามคูดักรถถัง และกับระเบิดบนหาด ทหราเสียชีวิตมากมายก่อนจะยึดหัวหาดได้ โดยเฉพาะที่หาดโฮมาฮ่า
แผนการรับมือครั้งนี้ โดย จอมพล รอมเมลคือต้องการสร้าง
เครื่องกีดขวางและเครื่องป้องกันหาดต่าง ๆ บนหาดให้มากที่สุด เพราะเมื่อหาดถูกบุก หาดจะถูกป้องกันพวกพันธมิตร จะต้องตายคาหาด แต่ฮิตเลอร์ไม่เห็นด้วย โดยเห็นว่าการตั้งรับควรอยู่หลังแนวหาดมากกว่า คือควรจะจัดการกับพวกสัมพันธมิตรบนบกหลังแนวดีกว่า จึงดึงกำลังสำคัญ เช่น หน่วยยานเกราะเกือบทั้งหมดไปอยู่ส่วนหลัง เหลือเพียงกองพลยานเกราะที่ 21 กองพลเดียว พร้อมกับกองพลทหารราบ 38 กองพล วางกลังอยู่ตั้งแต่เมืองท่าคาเล่ย์ของฝรั่งเศส ขึ้นเหนือไปถึงฮอลเเลนด์ และเลยลงไปทางใต้ถึงชายแดนสเปน แนวตั้งรับของเยอรมันมีระยะทางที่ยาวมาก กำลังทหารเยอรมันจึงไม่เพียงพอต่อการต่อต้านการยกพลขึ้นบก ในขณะเดียวกัน ลูฟวาฟเฟ ของเยอรมันก็มีเครื่องบินขับไล่และเครื่องบินทิ้งระเบิดนอ้ยเกินกว่าจะรับมือได้
กำลังฝ่ายสัมพันธมิตรที่จะยกพลขึ้นบกประกอบด้วย กองพลทหารราบที่ 39 กองพล(สหรัฐ 20 กองพล อังกฤษ 3 กองพล แคนาดา 1 กองพล และฝรั่งเศสอิสระ1 กองพล โปแลนด์ 1 กองพลเครื่องบินขับไล่ กว่า 5,000 ลำ เครื่องร่อน 2,600 ลำ เรือรบและเรื่ออื่นๆ กว่า 6,000 ลำ ซึ่งแม้จะนวนทหารราบจะใกล้เคียงกัน แต่ด้วยแนวรบที่ตั้งรับเป็นระยะยาวจึงทำให้จำนวนทหารฝ่ายเยอมันกระจายออกในขณะที่ ทหารฝ่ายสัมพันธมิตรรวมกันเป็นจุดเดียว
เยอรมันเชื่อว่าการยกพลขึ้นบกจะมีขึ้นในฤดูร้อนของปี 1944 โดยมีการเตรียมการขนานใหญ่ที่สามารถสังเกตเห็นได้ในอังกฤษ ฝ่ายสัมพันธมิตเองก็พยายามลวงฝ่ายเยอรมันว่าการยกพลขึ้นบกจะมีขึ้นที่คาเล่ย์ สายลับทั้งสองฝ่ายต้องทำงานกันอย่งหนัก สายลับสัมพันธมิตรพยายามปล่อยข่าวสถานที่ยกพลขึ้นบกหลายห่ง จนสายลับเยอรมันในอังกฤษเกิดความสับสน นายพล ดไวท์ ดี.ไอเซนฮาว ผู้บัญชาการสุงสุดในยุทธการครั้งนี้ ก็วางแผนที่จะเริ่มการยกพลขึ้นบกในวันที่ 5-7 มิถุนายน ในเวลารุ่งเช้า แต่สภาพภูมิอากาศที่เลวร้าย คลื่นลมบริเวณช่องแคลอังกฤษแรงราวกับทะเลคลั่ง การปฏิบัติการจึงต้องเลื่อนออกไปอีก 24 ชม.กระทั่งเช้าวันที่ 6 นายพล ไอร์เซนฮาวน์จึงตัดสินใจที่จะเริ่มการยกพลขึ้นบก
ฝ่ายเยอมันสับสนกับข่าวการยกพลขึ้นบก ข่าววิทยุจาสถานกระจายเสียงจากกรุงลอนดอนของอังกฤษ สามารถรับฟังได้อย่างชัดเจนในฝรั่งเศส ซึ่งมักจะส่งข่าวให้พวกใต้ดินในฝรั่งเศส ฝ่านทางข้อความที่เป็นรหัสลับ ออกข่าวเป็นบทกวี ซึ่งเป็นสัญญาณให้หน่วนใต้ดินฝรั่งเศสทราบว่าการบุกกำลังจะเกิดขึ้น เยอรมันจับรหัสนี้ได้ แต่สภาพอากาศที่เลวร้าย ทะเลมีคลื่อลมแรง เยอรมันตายใจ ไม่คิดว่าการยกพลจะเกิดขึ้นในสภาพอากาศที่เลวร้ายอย่างนี้ จอมพลรอมเมลเอง ก็เดินทางกลับเยอรมัน ไม่มีใครคาดคิดว่าการยกพลกำลังจะเกิดขึ้น
คือนวันที่ 5 ต่อเช้าวันที่ 6 พันธมิตรส่งพลร่มเข้าโจมตีตามจุดต่างๆ ของเมือง โดยปล่อยหุ่นและปะทัดเข้าปะปนมากับพลร่มเพื่อสร้างกลลวง การปฏิบัติการดังกล่าว บางคนกล่าวว่าเป็นปฏิบัติการฆ่าตัวตาย เนื่องจากการเข้ามาในเขตของข้าศึกโดยไม่มีกำลังสนับสนุน การสู้รบจึงเป็นไปด้วยความลำบาก แต่ด้วยความกล้าหาญของทหารหาญซึ่งต่อสู้กระทั่งกองกำลังสมทบมาถึง
หาดโอมาฮ่า สถานะการณ์รุนแรงที่สุด ซึ่งกองพลทหารราบของสหรัฐ ได้รับการสนับสนุนด้วยรถถังเพียง 5 คัน การต้อนรับในหาดนี้เยอรันมีประสบการณ์จากกองพลที่ 352 แม้จะมีการระดมยิงจากปืนเรือก่อนขึ้นหาด แต่กองพลเยอรมันส่วนใหญ่ไม่ได้รับความเสียหายความสูญเสียมีมากกกระทั่งนายพลโอมาร์ แบรดลีย์ ของสหรัฐฯ พิจารณาถึงการจะถอนตัวจากหาดนี้ แต่ในที่สุดอเมริกันก็สามารถยึดหาดโอมาฮ่าได้..
หาดโกลด์ กองพลทหาราบที่ 50 และกองพลน้อยยานเกราะที่ 8 ของกองทัพอังกฤษที่พรั่งพร้อมด้วยรถถัง และอาวุธหนัก บุกเข้าโจมรีแนวต้านทานของเยอรมันตลอดแนวชายหาด การสู้รบที่หนักหน่วงที่สุด เกิดขึ้นที่หมูบ้านเล็ก ๆ ซึ่งถูกดัดแปลงให้เป็นป้อมปรากการ มีการวางปืนใหญ่ขนาด 75 มม. จำนวนหนึ่ง ซึ่งสามารถยิงครอบคลุมได้ทั้งหาด รถถังอังกฤษ 4 ใน 5 คันถูกทำลายทันทีเมื่อถึงหาดโกลด์ อังกฤษต่อสู้อย่างยืนหยัดนานกว่า 8 ชม.โดยปราศจากการสนับสนุนจากอาวุธหนักเช่นรถถัง การต่อสู้แบบประชิดตัวในที่สุดทหารอังกฤษก็สามารถรถกเข้าไปถึง 13 กม.จากหัวหาดโกลด์
สิ้นสุดวันอันยาวนาน The longest day ฝ่ายสัมพันธมิตรกว่า 150,000 คน สามารถยึดครองพื้นที่ กว่า 200 ตารางกิโลเมตรตามแนวหาดนอร์มังดี นับจากวัน ดี-เดย์เป็นต้นมาเยอรมันก็เร่มเป็นฝ่ายถอย และเป็นการเริ่มต้นของการปลดปล่อยฝรั่งเศสพร้อมๆกับการเริ่มต้นของการล่มสลายของระบอบปกครองนาซี..
วันพุธที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556
WWII:Last Emperer:KMT:CCP
สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ พระราชสมภพ 7 กุมภาพันธ์ 1906 พระนามเต็มว่า อ้ายซินเจว๋หลัว ผู่อี๋ หรือ เฮนรี่ ผู่อี๋ เป็นจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ชาวแมนจู แห่งราชวงศ์ชิง เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ชิง และเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายของประเทศจีนมีปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเซวียนถ่ง จากปี 1908-1912 กรุทั่งสละราชสมบัติ ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 1912 ในช่วงเวลาการฟื้นฟูราชวงศ์ช่วงสั้นๆ ในเดือนกรกฎาคม ปี 1917 โดยขุนสึก จาง ซวิน ในปี 1934 ได้สถาปนาเป็น สมเด็จพระจักพรรดิคังเต๋อ ในประเทศแมนจูกัว ซึ่งสถาปนาขึ้นโดยจักรวรรดิญี่ปุ่น และครองราชย์จนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี 1945
ภายหลังการก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีนในปี 1949 ปูยีได้เข้าเป็นสมาชิกสภาที่ปรึกษาการเมืองแป่งชาติ ตั้งแต่ปี 1964 กระทั่งสวรรคตเยี่ยงสามัญชนในปี 1967
ผู่อี๋ สืบราชสมบัติต่อจากสมเด็จพระจักรพรรดิกวังซวี โดยผู่อี๋เป็นโอรสองค์โตของเจ้าชายชุนที่ 2 ซึ่งเป็นโอรสของ อี้ซวน เจ้าชายชุนที่ 1 ฌเยเจ้าชายชุนและพระสนมของพระองค์ ท่านผู้หญิงหลิงกิยาเมื่อเป็นสนมของ เจ้ชายชุนที่1 เพราะฉพนั้นไจเชง เจ้าชายชุนที่ 2 จึงเป็นพี่น้องร่วมชนกเดียวกับสมเด็จพระจักรพรรดิกวังซวี่และเป็นทายาทสืบราชบัลลังก์ที่อยู่ในลำดับแรก
ผู่อี๋เป็นราชสกุล อ้ายซิเจว๋หลัวในสายที่ผูกพันกันแน่นกับเผ่าเย่เหอนาลาของพระนางซูสีไทเฮา นัดดาของพระนางซูสีไทเฮา คือ สมเด็จพระพันปีหลวงหลงยู่ ก็เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระจักรพรรดิกวังซวี
พระอนุชาของผู่อี๋คือ เจ้าชายผู่เจี๋ย ซึ่งต่อมาได้สมรสกับพระญาติของจัรพรรดิโชวะ คือ เจ้าหญิงฮิโระ ซะงะ ซึ่งกฎมณเทียรบาลในเรื่องการสืบราชสมบัตินั้นให้ผู่เจี๋ยสืบราชบัลลังก์จากผู่อี๋ซึ่งไม่มีบุตรได้
ผู่เริ่นพี่น้องของผู่อี๋เพียงคนเดียวที่ยังทีชีวิตอยู่ และปัจจุยันได้เปลี่ยไปเป็นชื่อจีน คือ จิน โหย่วจือ ปัจจุบันอาศัยอยู่ที่ประเทศจีน จินโหยว่จือได้ยืนฟ้องดำเนินต่อศาลเกี่ยวกับสิทธิในรูปของผู่อี๋และความเป็นส่วนตัว โดยได้กล่าวว่าสิทธิของเขาได้ถูกละเมิดจากงานจัดแสดง “จักรพรรดิพระองค์สุดท้ายและราชวงศ์”
ผู่อี๋ ถูกเลื่อนให้เป็นจักรพรรดิโดยพระนางซูสีไทเฮา ในขณะที่ปรชวรหนักอยู่บนพระแท่นบรรทม ผู่อี๋ขึ้นเป็นจักรพรรดิในขณะที่มีพระชนมายุ ได้ 2 พรรษากับอีก 10 เดือน พระบิดาของพระองค์ขึ้นเป็นผู้สำเร็จราชการในระหว่งพิธีราชาภิเษกที่พระที่นั่งไท่เหอ พระบิดาได้อุ้มจักรพรรดิที่ยังทรงเยาว์ขึ้นไปยังบนบัลลังก์ พระองค์ทรงร้องไห้ พระราชบิดาทำสิ่งใดไม่ได้เพียงพูดปลอบใจว่า “อย่างร้องไห้ เดี๋ยวก็เสร็จแล้ว”
แม่นมของปูยี เหวิน เฉาหว่าง เป็นเพียงคนเดียวที่สามารถควบคุมพระองค์ได้ เพราะฉะนั้นเธอจึงได้ตามพระองค์เข้าพระราชวังต้องห้าม แต่เธอก็ออกจากพระราชวังต้องห้ามเมื่อพระอง์มีพระชนมายุได้ 8 พรรษา
การเลี้ยงดูอบรมสั่งสอนนผู่อี๋เป็นไปด้วยความยากในการเลี้ยงดูให้พระองค์เป็นผู้มีสุขภาพที่ดีเช่นเด็กปกติ พระองค์ถูกเลี้ยงดูดังเทพเจ้าและไม่สามารถที่จะประพฤติตัวได้อย่างเด็ก ชีวิตวัยผู้ใหญ่ของพระองค์ ยกเว้นแม่นมของพระองค์ ล้วนเป็นคนแปลกหน้าทั้งหมด เป็นเหมือนญาติห่าง ๆ ไม่ค้นเคยและหม่สามารถทีจะอบรมพระองค์ได้ ไม่ว่าพระองค์จะเสด็จที่ใด จะมีคนคุกเข่าคำนับให้กับพระองค์จนกระทั่งเห็นพระองค์เดินไปจนลับสายตา ในไม่ช้าพระองค์ในวัยเยาว์ก็ทรงค้นพบว่าพระองค์ทรงมีอำนาจเป็นล้นพ้น
พระบิดาของผู่อี๋ เจ้าชายชุนที่ 2 ได้เป็นผู้สำเร็จราชการเมื่อสมเด็จพระพันปีหลวงหลงยู่เข้าควบคุมอำนาจเพื่อที่จะเผชิญกับเหตุกาณ์การปฏิบัติซินไฮ่(การปฏิวัติจีน เป็นการปฏิวัติเพื่อโค่นล้มราชวงศ์ชิง เพื่อสถาปนาสาธารณรัฐจีน)
พระพันปีหลวงหลงยู่เป็นผู้ลงพระปรมาภิไธยใน “พระบรมราชโองการสลาราชสมบัติของสมเด็จพระจักพรรดิแห่งราชวงศ์ชิง ภายใจ้การต่อรองโดยขุนศึกหยวน ซื่อไข่ นายพลแห่งกองทัพเป่ยหยาง กับสมาชิกราชวงศ์ในปักกิ่ง และกลุ่มสาธารณรัฐในทางใต้ โดยมีการลงนามเพื่อก่อตั้ง สาธารณรัฐจากพิธีสารซึ่งจะถือว่าจะปกิบัตพระองค์ให้เท่าเทียมกับกษัตริยของต่างประเทศ ผู่อี๋และสมาชิก
ราชวงศ์ยังได้รับการอนุญาติให้พำนักอยู่ในส่วนเหนือของพระราชวงต้องห้าม และในพระราชวังฤดูร้อนอี๋เหอหยวน เงินช่วยเหลือสนับสนุนราชวงศ์มีจำนวนสูงถึง 4 ล้านเหรียญและจ่ายโดยรัฐบาลสาธารณรัฐให้แก่สามชิกราชวงศ์ แต่ว่าเงินจำนวนนี้ทางวังไม่เคยได้รับเต็มจำนวนและถูกยกเลิกในเวลาต่อมาเพียงไม่นาน
ในการฟื้นฟูราชวงศ์ไม่ประสบความสำเร็จเกิดการต่อต้านจากทั่งประเทศและมีการแทรกแซงจากพวกขุนศึก ผู่อี๋ถูกขับออกจากพระราชวังต้องห้าม ผู้อี๋ใช้เวลาสองสามวันอยู่ที่ตำหนักของพระบิดา หลังจากนั้นก็ไปอาศัยอยู่ที่สถานทูตญี่ปุ่นเป็นการชั่วคราว ประมาณ 1 ปีต่มาได้ย้ายไปยังเขตปกครองของญี่ปุ่นในเทียนจิน
ผู่อี๋และบรรดาที่ปรึกษาได้ถกเถียงกันเกี่ยวกับการฟื้นฟูเขาเป็นจักรพรรดิ โดยเจิงและโหลได้เสนอให้ของความช่วยเลือจากภายนอก แต่เฉินไม่เห็นด้วย ผู่อี๋ส่งจดหมายถึง จิโร่ มินะมิ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการสงครามของญี่ปุ่น บ่งบอกความภายในว่าเขาต้องการที่จะกลับมาเป็นจักรพรรดิ เขายังไปเยี่ยม เคนจิ โดอิฮะระ หัวหน้าจารกรรมของกองทัพกวนตง ผู้ซึ่งมีความปรารถนาจะให้ปูยีเป็นผู้นำแห่งแมนจูกัว ผู่อี๋และ เจิง เสี่ยวซูเดินทางไปยังแมนจูเรียเพื่อตกลงเกียวกับแผนการตั้งรัฐแมนจูกัวให้สำเร็จรัฐบาลจีนออกคำสั่งจับผู่อี๋ข้อหาเป็นกบฏแต่ไม่สามารถที่จะฝ่าการค้มครองของญี่ปุ่นไปได้
ผู่อี๋ได้เป็นผู้บริหารสูงสุดของแมนจูกัว ซึ่งกอ่ตั้งโดยญี่ปุ่น ส่วนใหญเห้นว่าเป็นัฐที่เป็นหุ่นเชิดของจักรวรรดิญี่ปุ่น ผู่อี๋ขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นต้าถ่ง เป็นจักรพรรดิแห่งแมนจูกัวโดยมีพระบรมนามาภิไธยวา ตังเต๋อ ผู่อี๋ต้องการทีจะฟืนฟูราชวงศ์ชิง เขาขึ้นรับตำแหน่างที่หอสัการะฟ้าเทียนถันด้วยชุดเครื่องแบบทหารแบบตะวันตกและสวมเสื้อคลุมมังกรสำหรับการประกาศการขึ้นครองราช
ราชวงศ์จีนเข้ากับญี่ปุ่น ในขณะที่พรรคคอมมิวนิสต์จีนกำลังเติบโต และเจียง ไค เชค ประกาศสงครามกับญี่ปุ่นอย่างเป็นทางการในวันที่ 9 ธันวาคม ปี 1941 และยังประกาศสงครามกับเยอรมันีและอิตาลีด้วยสาเหตุทางการเมืองมากกว่าจะเป็นการส่งทหารไปสู้รบ
หลังจากประกาศสงครามอย่างเป็นทางการกับหลุ่มอักษะเรียบร้อยแล้วกองทัพจีนเคลื่อทัพไปทางชายแดนพม่าทันที เพราะว่าถนนพม่าเป็นเส้นทางทางบกทางเดียวเท่านั้นที่ฝ่ายพันธมิตรสามารถใช้เป็นเส้นทางจัดส่งเสบียงสัมภาระไปให้จีน เจียงไคเชคไดรับแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการสูงสุดของกองทัพพันธมิตรในสมรภูมิรบที่ประเทศจีน นับตั้งแต่ญี่ปุ่นโจมตี เพิร์ล ฮาร์เบิร์ลได้ 8 สัปดาห์ จีนประทสบความสำเร็จในการรบครั้งสำคัญ กองทหารจีนสารถขับไล่กองทหารญี่ปุ่นออกไปได้ เมือ่ญี่ปุบุกเข้าโจมตีเส้นทางสายรไฟกวางต้ง - ฮานโกว์
เจียง ไค เชค และสติลเวลล์ คอยสกันกั้นญี่ปุนในพม่าเรื่อยมา กองทัพอังกฤษและอินเดียถึงแม้จะต่อสู้กับญี่ปุ่นอย่างดุเดือดในพม่าก็ต้องล่าถอยเพราะญี่ปุ่นมีกำลังทหารทั้งทางภาคพื้นดินและทางอากาศเหนือกว่ามาก ในช่วงกลางเดือนเมษายนกองทหารจีนอีกหน่วยหนึ่งเข้ามาช่วยกองทหารอังกฤษป้องกันเมืองยีนังยองบนฝั่งแม่น้ำอิรวดีไว้ทัน และสามารถผลักดันกองทัพญี่ปุ่นให้ถอยกลับไป แต่ในเดือนเมษาญี่ปุ่นเดินทัพเข้ายึดลาชิโอซึ่งเป็นจุดรวมทางใต้ของถนนพม่า เพื่อตัดเส้นทางขนส่งของฝ่ายพันธมิตรไปยังประเทศจีน ต่อมาจานั้นญี่ปุ่นเพิ่มความกดดันอย่างหนักจนกระทั่งในเดือนต่อมากองทหารอังกฤษและอินเดียต้องถอยทัพผ่านกาเลวา เข้าไปยังอิมฟาลตรงเลยชายแดนอินเดียเข้าไป ในขณะที่กองทหารอังกฤษ อินเดียถอยทัพหนีญี่ปุ่นเข้าไปในพรมแดนอินเดีย กองทหารจีนส่วนใหญ่หนีข้ามแม่น้ำสาละวินกลับเข้าไปยังประเทศจีน มีทหารบางหน่วยถอยทัพเข้าไปยังอินเดีย
ในที่ประชุมไคโร 1943 คำประกาศไคโรเรียกร้องให้ญี่ปุ่นยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข ร่วมลงนามโดย รูสเวลส์ประธานาธิบดีสหรัฐ เชอร์ชิล นายกรัฐมนตรีอังกฤษ และเจียง ไค เชค ผุ้นำรัฐบาลจีน
หลังจากที่สหรัฐสามารถควบคุมน่านน้ำภาคพื้นแปซิฟิคได้เป็นส่วนใหญ่แล้วในปี 1944 ภายหลังการยึดครองหมู่เกาะมาเเชลล์ ญี่ปุ่นจึงหันมารุกทางภาคพื้นทวีป โดยกองทัพญี่ปุ่นรุกเข้าอินเดีย เกิดสงครามรอบๆ Imphal ญี่ปุ่นถอนกำลังออกจากพม่ารุกรานเข้าที่ราบ Imphal โดยฝ่ายอังกฤษไม่สามารถต้านทานได้ ทัพญี่ปุนเคลื่อพลเข้าสู่แผ่นดินจีนตอนกลางและมุ่งหน้าลงไปทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีนซึ่งเป็นฐานทัพอากาศขนาดใหญ่ทีทัพอเมริกาตั้งมั่นอยู่
กองทัพอังกฤษตีฝ่าออกจาก Imphal ไปยังโคฮิมาในอินเดียได้ กองทัพจีนจำนวนมากยุพลเข้ารุกรานตอนเหนือของพม่า ก่อนการยกพลขึ้นบกที่นอร์มังดี ประเทศฝรั่งเศส ญี่ปุ่นถอนทัพออกจาก Imphal โดยได้รับความสูญเสียอย่างหนักการรุกรานอินเดียเป็นอันสิ้นสุดลง
ภายหลังการก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีนในปี 1949 ปูยีได้เข้าเป็นสมาชิกสภาที่ปรึกษาการเมืองแป่งชาติ ตั้งแต่ปี 1964 กระทั่งสวรรคตเยี่ยงสามัญชนในปี 1967
ผู่อี๋ สืบราชสมบัติต่อจากสมเด็จพระจักรพรรดิกวังซวี โดยผู่อี๋เป็นโอรสองค์โตของเจ้าชายชุนที่ 2 ซึ่งเป็นโอรสของ อี้ซวน เจ้าชายชุนที่ 1 ฌเยเจ้าชายชุนและพระสนมของพระองค์ ท่านผู้หญิงหลิงกิยาเมื่อเป็นสนมของ เจ้ชายชุนที่1 เพราะฉพนั้นไจเชง เจ้าชายชุนที่ 2 จึงเป็นพี่น้องร่วมชนกเดียวกับสมเด็จพระจักรพรรดิกวังซวี่และเป็นทายาทสืบราชบัลลังก์ที่อยู่ในลำดับแรก
ผู่อี๋เป็นราชสกุล อ้ายซิเจว๋หลัวในสายที่ผูกพันกันแน่นกับเผ่าเย่เหอนาลาของพระนางซูสีไทเฮา นัดดาของพระนางซูสีไทเฮา คือ สมเด็จพระพันปีหลวงหลงยู่ ก็เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระจักรพรรดิกวังซวี
พระอนุชาของผู่อี๋คือ เจ้าชายผู่เจี๋ย ซึ่งต่อมาได้สมรสกับพระญาติของจัรพรรดิโชวะ คือ เจ้าหญิงฮิโระ ซะงะ ซึ่งกฎมณเทียรบาลในเรื่องการสืบราชสมบัตินั้นให้ผู่เจี๋ยสืบราชบัลลังก์จากผู่อี๋ซึ่งไม่มีบุตรได้
ผู่เริ่นพี่น้องของผู่อี๋เพียงคนเดียวที่ยังทีชีวิตอยู่ และปัจจุยันได้เปลี่ยไปเป็นชื่อจีน คือ จิน โหย่วจือ ปัจจุบันอาศัยอยู่ที่ประเทศจีน จินโหยว่จือได้ยืนฟ้องดำเนินต่อศาลเกี่ยวกับสิทธิในรูปของผู่อี๋และความเป็นส่วนตัว โดยได้กล่าวว่าสิทธิของเขาได้ถูกละเมิดจากงานจัดแสดง “จักรพรรดิพระองค์สุดท้ายและราชวงศ์”
ผู่อี๋ ถูกเลื่อนให้เป็นจักรพรรดิโดยพระนางซูสีไทเฮา ในขณะที่ปรชวรหนักอยู่บนพระแท่นบรรทม ผู่อี๋ขึ้นเป็นจักรพรรดิในขณะที่มีพระชนมายุ ได้ 2 พรรษากับอีก 10 เดือน พระบิดาของพระองค์ขึ้นเป็นผู้สำเร็จราชการในระหว่งพิธีราชาภิเษกที่พระที่นั่งไท่เหอ พระบิดาได้อุ้มจักรพรรดิที่ยังทรงเยาว์ขึ้นไปยังบนบัลลังก์ พระองค์ทรงร้องไห้ พระราชบิดาทำสิ่งใดไม่ได้เพียงพูดปลอบใจว่า “อย่างร้องไห้ เดี๋ยวก็เสร็จแล้ว”
แม่นมของปูยี เหวิน เฉาหว่าง เป็นเพียงคนเดียวที่สามารถควบคุมพระองค์ได้ เพราะฉะนั้นเธอจึงได้ตามพระองค์เข้าพระราชวังต้องห้าม แต่เธอก็ออกจากพระราชวังต้องห้ามเมื่อพระอง์มีพระชนมายุได้ 8 พรรษา
การเลี้ยงดูอบรมสั่งสอนนผู่อี๋เป็นไปด้วยความยากในการเลี้ยงดูให้พระองค์เป็นผู้มีสุขภาพที่ดีเช่นเด็กปกติ พระองค์ถูกเลี้ยงดูดังเทพเจ้าและไม่สามารถที่จะประพฤติตัวได้อย่างเด็ก ชีวิตวัยผู้ใหญ่ของพระองค์ ยกเว้นแม่นมของพระองค์ ล้วนเป็นคนแปลกหน้าทั้งหมด เป็นเหมือนญาติห่าง ๆ ไม่ค้นเคยและหม่สามารถทีจะอบรมพระองค์ได้ ไม่ว่าพระองค์จะเสด็จที่ใด จะมีคนคุกเข่าคำนับให้กับพระองค์จนกระทั่งเห็นพระองค์เดินไปจนลับสายตา ในไม่ช้าพระองค์ในวัยเยาว์ก็ทรงค้นพบว่าพระองค์ทรงมีอำนาจเป็นล้นพ้น
พระบิดาของผู่อี๋ เจ้าชายชุนที่ 2 ได้เป็นผู้สำเร็จราชการเมื่อสมเด็จพระพันปีหลวงหลงยู่เข้าควบคุมอำนาจเพื่อที่จะเผชิญกับเหตุกาณ์การปฏิบัติซินไฮ่(การปฏิวัติจีน เป็นการปฏิวัติเพื่อโค่นล้มราชวงศ์ชิง เพื่อสถาปนาสาธารณรัฐจีน)
พระพันปีหลวงหลงยู่เป็นผู้ลงพระปรมาภิไธยใน “พระบรมราชโองการสลาราชสมบัติของสมเด็จพระจักพรรดิแห่งราชวงศ์ชิง ภายใจ้การต่อรองโดยขุนศึกหยวน ซื่อไข่ นายพลแห่งกองทัพเป่ยหยาง กับสมาชิกราชวงศ์ในปักกิ่ง และกลุ่มสาธารณรัฐในทางใต้ โดยมีการลงนามเพื่อก่อตั้ง สาธารณรัฐจากพิธีสารซึ่งจะถือว่าจะปกิบัตพระองค์ให้เท่าเทียมกับกษัตริยของต่างประเทศ ผู่อี๋และสมาชิก
ราชวงศ์ยังได้รับการอนุญาติให้พำนักอยู่ในส่วนเหนือของพระราชวงต้องห้าม และในพระราชวังฤดูร้อนอี๋เหอหยวน เงินช่วยเหลือสนับสนุนราชวงศ์มีจำนวนสูงถึง 4 ล้านเหรียญและจ่ายโดยรัฐบาลสาธารณรัฐให้แก่สามชิกราชวงศ์ แต่ว่าเงินจำนวนนี้ทางวังไม่เคยได้รับเต็มจำนวนและถูกยกเลิกในเวลาต่อมาเพียงไม่นาน
ในการฟื้นฟูราชวงศ์ไม่ประสบความสำเร็จเกิดการต่อต้านจากทั่งประเทศและมีการแทรกแซงจากพวกขุนศึก ผู่อี๋ถูกขับออกจากพระราชวังต้องห้าม ผู้อี๋ใช้เวลาสองสามวันอยู่ที่ตำหนักของพระบิดา หลังจากนั้นก็ไปอาศัยอยู่ที่สถานทูตญี่ปุ่นเป็นการชั่วคราว ประมาณ 1 ปีต่มาได้ย้ายไปยังเขตปกครองของญี่ปุ่นในเทียนจิน
ผู่อี๋และบรรดาที่ปรึกษาได้ถกเถียงกันเกี่ยวกับการฟื้นฟูเขาเป็นจักรพรรดิ โดยเจิงและโหลได้เสนอให้ของความช่วยเลือจากภายนอก แต่เฉินไม่เห็นด้วย ผู่อี๋ส่งจดหมายถึง จิโร่ มินะมิ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการสงครามของญี่ปุ่น บ่งบอกความภายในว่าเขาต้องการที่จะกลับมาเป็นจักรพรรดิ เขายังไปเยี่ยม เคนจิ โดอิฮะระ หัวหน้าจารกรรมของกองทัพกวนตง ผู้ซึ่งมีความปรารถนาจะให้ปูยีเป็นผู้นำแห่งแมนจูกัว ผู่อี๋และ เจิง เสี่ยวซูเดินทางไปยังแมนจูเรียเพื่อตกลงเกียวกับแผนการตั้งรัฐแมนจูกัวให้สำเร็จรัฐบาลจีนออกคำสั่งจับผู่อี๋ข้อหาเป็นกบฏแต่ไม่สามารถที่จะฝ่าการค้มครองของญี่ปุ่นไปได้
ผู่อี๋ได้เป็นผู้บริหารสูงสุดของแมนจูกัว ซึ่งกอ่ตั้งโดยญี่ปุ่น ส่วนใหญเห้นว่าเป็นัฐที่เป็นหุ่นเชิดของจักรวรรดิญี่ปุ่น ผู่อี๋ขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นต้าถ่ง เป็นจักรพรรดิแห่งแมนจูกัวโดยมีพระบรมนามาภิไธยวา ตังเต๋อ ผู่อี๋ต้องการทีจะฟืนฟูราชวงศ์ชิง เขาขึ้นรับตำแหน่างที่หอสัการะฟ้าเทียนถันด้วยชุดเครื่องแบบทหารแบบตะวันตกและสวมเสื้อคลุมมังกรสำหรับการประกาศการขึ้นครองราช
ราชวงศ์จีนเข้ากับญี่ปุ่น ในขณะที่พรรคคอมมิวนิสต์จีนกำลังเติบโต และเจียง ไค เชค ประกาศสงครามกับญี่ปุ่นอย่างเป็นทางการในวันที่ 9 ธันวาคม ปี 1941 และยังประกาศสงครามกับเยอรมันีและอิตาลีด้วยสาเหตุทางการเมืองมากกว่าจะเป็นการส่งทหารไปสู้รบ
หลังจากประกาศสงครามอย่างเป็นทางการกับหลุ่มอักษะเรียบร้อยแล้วกองทัพจีนเคลื่อทัพไปทางชายแดนพม่าทันที เพราะว่าถนนพม่าเป็นเส้นทางทางบกทางเดียวเท่านั้นที่ฝ่ายพันธมิตรสามารถใช้เป็นเส้นทางจัดส่งเสบียงสัมภาระไปให้จีน เจียงไคเชคไดรับแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการสูงสุดของกองทัพพันธมิตรในสมรภูมิรบที่ประเทศจีน นับตั้งแต่ญี่ปุ่นโจมตี เพิร์ล ฮาร์เบิร์ลได้ 8 สัปดาห์ จีนประทสบความสำเร็จในการรบครั้งสำคัญ กองทหารจีนสารถขับไล่กองทหารญี่ปุ่นออกไปได้ เมือ่ญี่ปุบุกเข้าโจมตีเส้นทางสายรไฟกวางต้ง - ฮานโกว์
เจียง ไค เชค และสติลเวลล์ คอยสกันกั้นญี่ปุนในพม่าเรื่อยมา กองทัพอังกฤษและอินเดียถึงแม้จะต่อสู้กับญี่ปุ่นอย่างดุเดือดในพม่าก็ต้องล่าถอยเพราะญี่ปุ่นมีกำลังทหารทั้งทางภาคพื้นดินและทางอากาศเหนือกว่ามาก ในช่วงกลางเดือนเมษายนกองทหารจีนอีกหน่วยหนึ่งเข้ามาช่วยกองทหารอังกฤษป้องกันเมืองยีนังยองบนฝั่งแม่น้ำอิรวดีไว้ทัน และสามารถผลักดันกองทัพญี่ปุ่นให้ถอยกลับไป แต่ในเดือนเมษาญี่ปุ่นเดินทัพเข้ายึดลาชิโอซึ่งเป็นจุดรวมทางใต้ของถนนพม่า เพื่อตัดเส้นทางขนส่งของฝ่ายพันธมิตรไปยังประเทศจีน ต่อมาจานั้นญี่ปุ่นเพิ่มความกดดันอย่างหนักจนกระทั่งในเดือนต่อมากองทหารอังกฤษและอินเดียต้องถอยทัพผ่านกาเลวา เข้าไปยังอิมฟาลตรงเลยชายแดนอินเดียเข้าไป ในขณะที่กองทหารอังกฤษ อินเดียถอยทัพหนีญี่ปุ่นเข้าไปในพรมแดนอินเดีย กองทหารจีนส่วนใหญ่หนีข้ามแม่น้ำสาละวินกลับเข้าไปยังประเทศจีน มีทหารบางหน่วยถอยทัพเข้าไปยังอินเดีย
หลังจากที่สหรัฐสามารถควบคุมน่านน้ำภาคพื้นแปซิฟิคได้เป็นส่วนใหญ่แล้วในปี 1944 ภายหลังการยึดครองหมู่เกาะมาเเชลล์ ญี่ปุ่นจึงหันมารุกทางภาคพื้นทวีป โดยกองทัพญี่ปุ่นรุกเข้าอินเดีย เกิดสงครามรอบๆ Imphal ญี่ปุ่นถอนกำลังออกจากพม่ารุกรานเข้าที่ราบ Imphal โดยฝ่ายอังกฤษไม่สามารถต้านทานได้ ทัพญี่ปุนเคลื่อพลเข้าสู่แผ่นดินจีนตอนกลางและมุ่งหน้าลงไปทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีนซึ่งเป็นฐานทัพอากาศขนาดใหญ่ทีทัพอเมริกาตั้งมั่นอยู่
กองทัพอังกฤษตีฝ่าออกจาก Imphal ไปยังโคฮิมาในอินเดียได้ กองทัพจีนจำนวนมากยุพลเข้ารุกรานตอนเหนือของพม่า ก่อนการยกพลขึ้นบกที่นอร์มังดี ประเทศฝรั่งเศส ญี่ปุ่นถอนทัพออกจาก Imphal โดยได้รับความสูญเสียอย่างหนักการรุกรานอินเดียเป็นอันสิ้นสุดลง
วันอังคารที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2556
WWII:Operaion Bagration
ปฏิบัติการบากราติออน เป็นชื่อรหัสของปฏิบัติการรุกทางยุทธศาสตร์เลารุส ปี 1944 ปฏิบัติการดังกล่าวตั้งตามชื่อของเจ้าขายจอร์จเยสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18-19 ปีเตอร์ บากราติออน ซึ่งเป็นพลเอกแห่งกองทัพจักรวรรดิรัสเซียผู้ทรงได้รับบาดแผลฉกรรจ์ในยุทธการโบโรตีโน กองทัพโซเวียตเกี่ยวข้องโดยตรงกับการปฏิบัติการบากราติออนโดยตรงมีแนวรบบอลติกที่ 1 ภายใต้การบังคับบัญชาขของพลเอกฮอฟฮันเนส บากรัมยัน แนวรบเบลารุสที่ 2 ภายใต้การบังคับบัญชาของพลเอก จี.เอฟ.ซาฮารอฟ และแนวรบเบลารุสที่ 3 ภายใต้การบังคับบัญชาขอ
งพลเอก อีวาน เชียร์นยาฮอฟสกี
เป้าหมายของปฏิบัติการนั้นซับซ้อน กองทัพแดงปรับใช้มโนทัศน์การปฏิบัติการเชิงลึกโซเวียต ยุทธการเชิงลึกโซเวียตและมาสกีรอฟกา(การลวงทางทหาร) นวัตกรรมของโซเวียตเหล่านี้เป็นไปได้ส่วนหนึ่งเพราะการจัดหารถบรรทุกกว่า 220,000 คันจาสหรัฐอเมริกาเพื่อให้ทหารราบโซเวียตมียานยนต์ เป้าหมายหลักในการรุกครั้งนี้ คือหัวสะพานบนแม่น้ำวิสตูล่าทางตอนกลางของโปแลนด์และเพื่อสร้างวิกฤตการณ์ในเบลารุสเซยเพื่อหันกองหนุนเคลื่อที่เร็วไปยังส่วนกลางโดยเป็นส่วนหนึ่งของมาสกีรอฟกาให้ออกจากพื้นที่ลูบลิน-เบรสท์, โดยเวียตตั้งใจจะดำเนินการรุกลวอฟ-ซานโดเมียร์ซและรุกลุบลิน-เบรสท์
ยุทธการเบเกรชั่น เปิดฉากเริ่มจากกองทัพกองโจรที่มีกำลังพลกว่าแสนสี่ ได้รับสัญญาจากกองทัพใหญ่ให้เข้าโจมตีกองทัพนาซีที่ถอยออกมาอย่างไม่เป็นขบวนที่ฝั่งเบโลรุเซีย ซึ่งเป็นห้วงเวลาเดียวกับปฏิบัติการ “โอเวอร์ลอร์ด”ที่นอร์มังดี ฝรั่งเศส โจมตีหน่วยสื่อสาร กองบัญชาการนาซีและสนามบิน เข้าโจมตีแบบประจันบานภาคพื้นดินในช่วงปลายเดื่อนมิถุนา 1944 กองทัพกองโจรสามารถยึด Minsk กลับคือมาได้ในสภาพที่ทุกอย่างถูกทำลายจนสิ้น เหลือเพียงซากปรักหักพัง
กรกฏคม แม่ทัพซูคอฟและแม่ทัพโคเนฟ เข้ายึด Vilnius สำเร็จ แม่ทัพซูคอฟได้รับการสถาปนาเป็น วีรบุรุษแห่งโซเวียต(เป็นครั้งที่ 2) สตาลินมอบอำนาจเด็ดขาดของการทำยทุธการเบเกรชั่นในทุกสายทัพให้ขึ้นตรงกับซู่คอฟ
การสู้รบเป็นไปอย่างดุเดือนในช่วง วันที่ 22 มิถุนายน-4 กรกฎาคม โซเวียตสุญเสียกำลังพลกว่าเจ็ดแสนห้านาย เพื่อแลกกลัการได้เบลารุสเซียและยูเครนกลับคืนมา ทัพฟินแลนด์ได้รับควมเสียหายมากในการขับไลฐานของเยอรมันที่ตั้งคุมฝั่งทะเลบอลติค รัฐบาลฟินแลนด์ที่ฝักใฝ่นาซี่ เริ่มไหวตัว จึงเปลี่ยนผู้นำและหาทางสงบศึกกับโซเวียต สตาลินเสนอทางเลือกเพียงอย่างเดียวคือยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไข ฟินแลนด์ยื้อเวลาเพื่อรอดูสถานะการณ์ โซเวียตจึงส่งกองทัพเข้าไปขับไล่นาซีการสู้รบยืดเยื้อกระทั่งหลังวันดี-เดย์ ก็ยังคงไม่เรียบร้อย..กองทัพเยอรมันได้รับความเสียหายยิ่งกว่าเมื่อครั้งยุทธการสตาลินกราด..
รุสเซียบรรลุวัตถุประสงค์คือยึดพื้นที่ในเบลารุสเซียกลับคืนมาได้ เท่ากับว่ากองทัพรัสเซียได้มาตั้งรออยู่ที่ชายแดนของปรัสเซียตะวันออกเรียบร้อยแล้ว และข้ามเข้าโปแลนด์ได้จากใจกลางและจากทางตอนใต้ด้วย สิ้นเดือนกรกฎาคม 1944 กองทัพโซเวียตจึงประชิดกรึงวอร์ซอร์แล้ว
งพลเอก อีวาน เชียร์นยาฮอฟสกี
เป้าหมายของปฏิบัติการนั้นซับซ้อน กองทัพแดงปรับใช้มโนทัศน์การปฏิบัติการเชิงลึกโซเวียต ยุทธการเชิงลึกโซเวียตและมาสกีรอฟกา(การลวงทางทหาร) นวัตกรรมของโซเวียตเหล่านี้เป็นไปได้ส่วนหนึ่งเพราะการจัดหารถบรรทุกกว่า 220,000 คันจาสหรัฐอเมริกาเพื่อให้ทหารราบโซเวียตมียานยนต์ เป้าหมายหลักในการรุกครั้งนี้ คือหัวสะพานบนแม่น้ำวิสตูล่าทางตอนกลางของโปแลนด์และเพื่อสร้างวิกฤตการณ์ในเบลารุสเซยเพื่อหันกองหนุนเคลื่อที่เร็วไปยังส่วนกลางโดยเป็นส่วนหนึ่งของมาสกีรอฟกาให้ออกจากพื้นที่ลูบลิน-เบรสท์, โดยเวียตตั้งใจจะดำเนินการรุกลวอฟ-ซานโดเมียร์ซและรุกลุบลิน-เบรสท์
ยุทธการเบเกรชั่น เปิดฉากเริ่มจากกองทัพกองโจรที่มีกำลังพลกว่าแสนสี่ ได้รับสัญญาจากกองทัพใหญ่ให้เข้าโจมตีกองทัพนาซีที่ถอยออกมาอย่างไม่เป็นขบวนที่ฝั่งเบโลรุเซีย ซึ่งเป็นห้วงเวลาเดียวกับปฏิบัติการ “โอเวอร์ลอร์ด”ที่นอร์มังดี ฝรั่งเศส โจมตีหน่วยสื่อสาร กองบัญชาการนาซีและสนามบิน เข้าโจมตีแบบประจันบานภาคพื้นดินในช่วงปลายเดื่อนมิถุนา 1944 กองทัพกองโจรสามารถยึด Minsk กลับคือมาได้ในสภาพที่ทุกอย่างถูกทำลายจนสิ้น เหลือเพียงซากปรักหักพัง
กรกฏคม แม่ทัพซูคอฟและแม่ทัพโคเนฟ เข้ายึด Vilnius สำเร็จ แม่ทัพซูคอฟได้รับการสถาปนาเป็น วีรบุรุษแห่งโซเวียต(เป็นครั้งที่ 2) สตาลินมอบอำนาจเด็ดขาดของการทำยทุธการเบเกรชั่นในทุกสายทัพให้ขึ้นตรงกับซู่คอฟ
การสู้รบเป็นไปอย่างดุเดือนในช่วง วันที่ 22 มิถุนายน-4 กรกฎาคม โซเวียตสุญเสียกำลังพลกว่าเจ็ดแสนห้านาย เพื่อแลกกลัการได้เบลารุสเซียและยูเครนกลับคืนมา ทัพฟินแลนด์ได้รับควมเสียหายมากในการขับไลฐานของเยอรมันที่ตั้งคุมฝั่งทะเลบอลติค รัฐบาลฟินแลนด์ที่ฝักใฝ่นาซี่ เริ่มไหวตัว จึงเปลี่ยนผู้นำและหาทางสงบศึกกับโซเวียต สตาลินเสนอทางเลือกเพียงอย่างเดียวคือยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไข ฟินแลนด์ยื้อเวลาเพื่อรอดูสถานะการณ์ โซเวียตจึงส่งกองทัพเข้าไปขับไล่นาซีการสู้รบยืดเยื้อกระทั่งหลังวันดี-เดย์ ก็ยังคงไม่เรียบร้อย..กองทัพเยอรมันได้รับความเสียหายยิ่งกว่าเมื่อครั้งยุทธการสตาลินกราด..
รุสเซียบรรลุวัตถุประสงค์คือยึดพื้นที่ในเบลารุสเซียกลับคืนมาได้ เท่ากับว่ากองทัพรัสเซียได้มาตั้งรออยู่ที่ชายแดนของปรัสเซียตะวันออกเรียบร้อยแล้ว และข้ามเข้าโปแลนด์ได้จากใจกลางและจากทางตอนใต้ด้วย สิ้นเดือนกรกฎาคม 1944 กองทัพโซเวียตจึงประชิดกรึงวอร์ซอร์แล้ว
WWII:Ukraine
ห่างจากเคียฟไปทางตะวันตกแปดสิบไมล์ กองทัพแพนเซอร์ที่ 4 ซึ่งเชื่อวากองทัพแดงกำลังอ่อนแรงและสามารถโต้ตอลฉับพลันเป็นผลสำเร็จโดยการโจมตีจากด้านข้างอยางห้ายหาญ ยุทธการครั้งนี้กองทัพกลุ่มใต้ยึดโครอสเตนคืนได้ และมีเวลาหยุดพัก อย่างไรก็ดีมีการล่าถอนเริ่มขึ้นอีกครั้งในแนวรบยูเครนที่หนึ่ง โซเวียตเคลื่อนทัพดำเนินต่อไปกระทั่งถึงพรมแดนโปแลนด์-โซเวียต ช่วงต้นปี 1944 แนวรบยูเครนที่สองข้ามแม่น้ำนีเปอร์และบุกต่อไปทางตะวันตก แนวรบยูเครนที่สองเลี้ยวไปทางเหนือบรรจบกับกำลังรถถังของวาตูติน ซึ่งแกว่งลงใต้จากการตีฝ่าเข้าสู่โปแลนด์และล้อมกองทัพเยอรมันสิบกองพลทค่คอร์ชุน-เชเวนตะวันตกของเชียร์คัสชี
การยืนกรานให้รักษาแนวนีเปอร์ของฮิตเลอร์ โดยเขาเชื่อมั่นวาสามารถตีฝ่าออกไปได้ และรุกไปยังเคียฟได้ด้วย กองทหารเยอรมันที่ถูกล้อม ซึ่งมีกองพลแพนเซอร์ SS ที่ 5 วีคิงรวมอยู่ด้วยตีฝ่าวงล้อมข้ามแม่น้ำได้อย่างปลอดภัย แม้จะเสียกำลังพลไปถึงครึ่งและยุทโธปกร์ทั้งหมดก็ตามพวกเขาสันนิษฐานว่าพวกโซเวียตจะไม่เข้าตีอีก
มีนาคม 1944 แนวรบโซเวียตยูเครนเปลี่ยนไปรุกเมือโดเดียวไครเมียแล้ว กำลังรัศเซียรุกข้ามปลักโครนไปยังพรมแดนโรมาเนีย จึงเป็นอันยุติการทัพในทางใต้ หลังจากการรุกกว่า 500 ไมล์
แพนเซือร์ที่ 1 ตีฝ่าวงล้อมรัสเซียด้วยความสูญเสียเพียงเล็กน้อย เมษายน กองทัพแดงยึดโอเดสซาคืนได้ ตามด้วยการทัพของแนวรบยูเครนที่ 4 ในการฟื้นฟู การควบคุมไครเมียจึงสิ้นสุดลงในเดื่อนพฤษภา
แนวรบของกองทัพกลุ่มเหนือ กองกำลังเยอรมันถูกผลักดันจากแนวฮาเกนอย่างช้าๆ โดยยึดดินแดนได้ค่อนข้างเล็กน้อย แต่การเสียเบีรนสก์และสโมเลนสก์สำคัญกว่าในเดือนธันวา 1943 ทำให้เยอรมันเสียหลักประกันของระบบการป้องกันเยรอมันทั้งระบบ บนแนวรบของกองทัพกลุ่มเหนือมีการต่อสู้เพียงเล็กน้อย กระทั่งต้นปี 1944 เมื่อแนวรบวอลฮอฟและแนวรบบอลติกที่สองโจมตีอย่างไม่คาดฝัน ฝ่ายเยอรมันถูกผลักดันจากเลนินกราด และนอฟโกรอดถูกกองกำลังโซเวียตยึดคืน กองทัพแดงถึงพรมแดนเอนโตเนียหลังการบุก 75 ไมล์ทะเลบอลติกเหนือจะเป็นเส้นทางเร็วที่สุดที่จะนำการสู้รบสู่แผ่นดินเยอรมันในปรัสเซียตะวันออกและยึดคุมฟินแลนด์สำหรับสตาลิน
ฮิตเลอร์เตรียมการรับข้าศึกจึงต้องรวบรวมกำลังเพื่อตั้งรับ ฝ่ายโซเวียตมีการเตรียมการไว้ล่วงหน้าเช่นกัน นั่นคือ การขยายผลของแปนสู่ตะวันตก ที่ก่อนอื่นจะต้องขับไล่กองทัพนาซีออกไปให้หมดเสียกอ่น ซึ่งหมายถึงการที่จะต้องเข้ากระจายกำลังบนทุกพื้นที่ที่กว้างใหญ่ไพศาล ซึ่งไม่ใช่เรื่องง่ายและเสี่ยงต่อการถูกซุ่มโจมตี
แม่ทัพรัสเซียรวมทั้งสตาลิน จึงได้คิดแผนการขับไล่นาซี ดังนี้
แผน คูทูซอฟ เข้าจัดการที่ Briansk Orel และ Central Front
แผน รูเมียทเซฟ เข้าจัดการที่ Voronezh Steppeและต่อไปทางใต้
แผน ซูฌวรอฟ เข้าจัดการที่ สโมเลนสค์
เยอรมันสู้ไปถอยไปในทุกพื้นที่ อย่างไม่เป็นระเบียบนัก ในการขับไล่นาซีครั้งนี้ซูคอฟต้องการที่จะจัดการกับกองทัพเยอรมันขนาดใหญ่ แต่สตาลินไม่เห็นด้วย สตาลินมองว่า การทำศึกใหญ่อีกอาจจะมีความเสี่ยง ในกรณีที่ปิดล้อมไม่สำเร็จ ดังนั้น จงได้แต่ขับไล่กองทัพเยอมันให้ออกไปอยู่แนวชายแดนที่เคียฟ
ครุสเซฟดำรงตำแหน่างเป็นประธานสภาแดงที่ยูเครน ที่ควบคุมดูแลเคียฟอยู่ด้วย ครุสเชฟเสนอสตาลินว่าการขับไล่กองทัพเยอรมันที่เคียฟควรให้เป็นหน้าที่ของแม่ทัพ วาทูติน เพราะดูและเเนวหน้าฝั่นนี้อยู่ ซึ่งสตาลินก็อนุญาติ
เมษายนเหล่าแม่ทัพภายใต้การนำจอมพลซูคอฟ ทำการขับไล่นาซีเยอรมันออกไปจากยูเคนจนหมดสิ้น เป็นชัยชนะซึ่งสตาลินถึงกับสั่งยิงสลุดคารวะต่อทหารหาญในกรุงมอสควาเป็นครั้งที่สอง หลังจากยุทธการสตาลินกราด
การยืนกรานให้รักษาแนวนีเปอร์ของฮิตเลอร์ โดยเขาเชื่อมั่นวาสามารถตีฝ่าออกไปได้ และรุกไปยังเคียฟได้ด้วย กองทหารเยอรมันที่ถูกล้อม ซึ่งมีกองพลแพนเซอร์ SS ที่ 5 วีคิงรวมอยู่ด้วยตีฝ่าวงล้อมข้ามแม่น้ำได้อย่างปลอดภัย แม้จะเสียกำลังพลไปถึงครึ่งและยุทโธปกร์ทั้งหมดก็ตามพวกเขาสันนิษฐานว่าพวกโซเวียตจะไม่เข้าตีอีก
มีนาคม 1944 แนวรบโซเวียตยูเครนเปลี่ยนไปรุกเมือโดเดียวไครเมียแล้ว กำลังรัศเซียรุกข้ามปลักโครนไปยังพรมแดนโรมาเนีย จึงเป็นอันยุติการทัพในทางใต้ หลังจากการรุกกว่า 500 ไมล์
แพนเซือร์ที่ 1 ตีฝ่าวงล้อมรัสเซียด้วยความสูญเสียเพียงเล็กน้อย เมษายน กองทัพแดงยึดโอเดสซาคืนได้ ตามด้วยการทัพของแนวรบยูเครนที่ 4 ในการฟื้นฟู การควบคุมไครเมียจึงสิ้นสุดลงในเดื่อนพฤษภา
แนวรบของกองทัพกลุ่มเหนือ กองกำลังเยอรมันถูกผลักดันจากแนวฮาเกนอย่างช้าๆ โดยยึดดินแดนได้ค่อนข้างเล็กน้อย แต่การเสียเบีรนสก์และสโมเลนสก์สำคัญกว่าในเดือนธันวา 1943 ทำให้เยอรมันเสียหลักประกันของระบบการป้องกันเยรอมันทั้งระบบ บนแนวรบของกองทัพกลุ่มเหนือมีการต่อสู้เพียงเล็กน้อย กระทั่งต้นปี 1944 เมื่อแนวรบวอลฮอฟและแนวรบบอลติกที่สองโจมตีอย่างไม่คาดฝัน ฝ่ายเยอรมันถูกผลักดันจากเลนินกราด และนอฟโกรอดถูกกองกำลังโซเวียตยึดคืน กองทัพแดงถึงพรมแดนเอนโตเนียหลังการบุก 75 ไมล์ทะเลบอลติกเหนือจะเป็นเส้นทางเร็วที่สุดที่จะนำการสู้รบสู่แผ่นดินเยอรมันในปรัสเซียตะวันออกและยึดคุมฟินแลนด์สำหรับสตาลิน
ฮิตเลอร์เตรียมการรับข้าศึกจึงต้องรวบรวมกำลังเพื่อตั้งรับ ฝ่ายโซเวียตมีการเตรียมการไว้ล่วงหน้าเช่นกัน นั่นคือ การขยายผลของแปนสู่ตะวันตก ที่ก่อนอื่นจะต้องขับไล่กองทัพนาซีออกไปให้หมดเสียกอ่น ซึ่งหมายถึงการที่จะต้องเข้ากระจายกำลังบนทุกพื้นที่ที่กว้างใหญ่ไพศาล ซึ่งไม่ใช่เรื่องง่ายและเสี่ยงต่อการถูกซุ่มโจมตี
แม่ทัพรัสเซียรวมทั้งสตาลิน จึงได้คิดแผนการขับไล่นาซี ดังนี้
แผน คูทูซอฟ เข้าจัดการที่ Briansk Orel และ Central Front
แผน รูเมียทเซฟ เข้าจัดการที่ Voronezh Steppeและต่อไปทางใต้
แผน ซูฌวรอฟ เข้าจัดการที่ สโมเลนสค์
เยอรมันสู้ไปถอยไปในทุกพื้นที่ อย่างไม่เป็นระเบียบนัก ในการขับไล่นาซีครั้งนี้ซูคอฟต้องการที่จะจัดการกับกองทัพเยอรมันขนาดใหญ่ แต่สตาลินไม่เห็นด้วย สตาลินมองว่า การทำศึกใหญ่อีกอาจจะมีความเสี่ยง ในกรณีที่ปิดล้อมไม่สำเร็จ ดังนั้น จงได้แต่ขับไล่กองทัพเยอมันให้ออกไปอยู่แนวชายแดนที่เคียฟ
ครุสเซฟดำรงตำแหน่างเป็นประธานสภาแดงที่ยูเครน ที่ควบคุมดูแลเคียฟอยู่ด้วย ครุสเชฟเสนอสตาลินว่าการขับไล่กองทัพเยอรมันที่เคียฟควรให้เป็นหน้าที่ของแม่ทัพ วาทูติน เพราะดูและเเนวหน้าฝั่นนี้อยู่ ซึ่งสตาลินก็อนุญาติ
เมษายนเหล่าแม่ทัพภายใต้การนำจอมพลซูคอฟ ทำการขับไล่นาซีเยอรมันออกไปจากยูเคนจนหมดสิ้น เป็นชัยชนะซึ่งสตาลินถึงกับสั่งยิงสลุดคารวะต่อทหารหาญในกรุงมอสควาเป็นครั้งที่สอง หลังจากยุทธการสตาลินกราด
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...