ฟิลิปปินส์ เป็นประเทศที่มีพทรัยากรธรรมชาตอุดมสมบูรณ์โดยเฉพาะยาพารา และยังเป็นเส้นทางส่งกำลังเสริมและการสนับสนุนในการบุกโจมตีเกาะบอร์เนียว และสุมาตรา และเป็นแหล่งน้ำมันของที่ส่งไปยังญี่ปุ่น อเมริกาเห็นว่าฟิลิปปินส์เปนจุดยุทธศาสตร์ที่จะต้องยึดให้ได้เพราะเป็นกุญแจที่จะบุกญี่ปุ่น ซึ่งจะเป็นที่ เติมเชื่อเพลิงในการเข้าโจมตี
ยุทธนาวีที่อ่าวเลย์เต หรือยุทธนาวีทะเลฟิลิปินส์ครั้งที่ 2 เป็นยุทธนาวีที่ใหญ่สุดในสงครามโลกครั้งที่ 2 และใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์
สมรภูมิในทะเลบริเวณใกล้กับเกาะเลย์เต ซามาร์และลูซอนของประเทศฟิลิปินส์ ในเดือนตุลาคม 1944 ระหว่างสัมพันธมิตรกับจักรวรรดิญี่ป่น การจู่โจมเกาะเลย์เตเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ที่มีวัตถุประสงค์ที่จะโดเดี่ยวญี่ปุ่นจกาบรรดาประเทศที่ญี่ปุ่นเข้าขึดครองในเอเชียตะวันออกเฉียใต้และยึดครองแปล่งน้ำมันซึ่งเป็นสิ่งสำคัญยิ่งในกองทัพและอุตสาหกรรม
กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ป่น ระดมเรือรบที่เหลือทั้งหมดในบริเวณนั้นเข้าต่อสู้เพื่อยับยั้งการบุกของฝ่ายสัมพันธมิตร แต่ถูกขับไล่ล่าถอยโดยกองเรือที่ 3 และกองเรือที่ 7 ของกองทัพเรือสหรัฐ กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นประสบความล้มเหลวและสูญเสียอย่งใหญ่หลวงจนไม่สามารถฟื้นตัวได้อีกในภายหลัง เรือรบขนาดใหญ่ที่เลือรอดก็ปราศจากน้ำมันเชื้อเพลิงต้องจอดทิ้งอยู่ในฐานทัพจนสงครามมหาสมุทรแปซิฟิกสงบลง
การรบที่อ่าวเลย์เต ในเดือนตุลาคม พลเอก ดักลาส แมคอาเธอร์ข้นบกที่อ่าวเลย์เต พร้อมกับกล่าวว่า “ผมกลับมาแล้ว” ญี่ปุ่นต้องการยึดคืนจึงได้นำแผน โช-1 มาใช้ เป็นแผนที่ต้องการล่อกองเรือสหรัฐอเมริกามาทำลาย โดยใช้กำลัง 3 กองเรือ
กองกำลังทางทะเลของญี่ปุ่น
- กองเรือภาคเหนือ อยู่ในการบังคับบัญชาของนายพลเรือ โอซาวา ใช้เป็นกองเรือล่อ ให้กองเรือบรรทุกเครื่องยบินของสหรัฐอเมริกาออกห่างจาก อ่าวเลย์เตประกองด้วยเรือบรรทุก เครื่องซุยกักุ เรือบรรทุกเครื่องบินเบา ซุยโฮ ชิโตเซ และซิโตยา กับเรือประจัญบานดัดแปลง เป็นเรือบรรทุกเครื่องบิน ไฮยูการ และอเซ
- กองเรือภาคกลาง อยู่ในการบังคับบัญชาของนายพลเรือ คูริตะ จะแล่นผ่านช่องแคบซาน เบอร์ดิโนถึงอ่าวเลย์เตเข้าโจมตีกองเรือสหรัฐอเมริกา ที่ป้องกันอ่าวเลย์เตประกอบด้วยเรือประจัญบานเก่า 3 ลำ เรือลาดตระเวนหนัก 10 ลำ เรือลาดตระเวนเบา 2 ลำ เรือพิฆาต 15 ลำ
- กองเรือภาคใต้ ประกอบด้วย กองเรือของนายพลเรือ ชิมา และกองเรือของนายพลเรือ นิชิมูรา แล่นฝ่านช่องซูบิกาเข้าโจมตีกองเรือสหรัฐอเมริกาที่อ่าวเลย์เต พร้อมกับนายพลเรือ คูริตะ กองเรือ นายเรือ ชิมา มีเรือลาดตระเวนหนัก 2 ลำ เรือลาดตระเวนเบา 1 ลำ เรือพิฆาต 4 ลำ กองเรือของนายพลเรือ นิชิมูรา มีเรือประจัญบานเก่า 2 ลำ เรือลาดตระเวนหนักโมกามิ และเรือพิฆาต 4 ลำ
- ในอ่าวเลย์เต กำลังส่วนใหญ่เป็นกองทัพเรือที่ 7 มีเรือบรรทุกกำลังยกพลขึ้นบก 2 ลำ เรือสินค้าหลายลำ เรือยกพลขึ้นบกกำลังระดมยิงฝั่งและยิงสนับสนุนประกอบด้วยเรือประจัญบาน เก่า 6 ลำ เรือลาดตระเวนและเรือพิฆาตหลายลำอยู่ยใต้การบังคับบัฐชาของพลเรือตรี เจสเซ บี โอล เดนดอร์ฟ
- ด้านนอกทางตะวันออกอ่างเลย์เตเป็นหน่วยเรือบรรทุกเครื่องบินเฉาะกิจของกองทัพรเอที่ 7 มีเรือบรรทุกเครื่องบินคุ้มกัน 18 ลำ มีเรือพิฆาตและเรือพิฆาตคุ้มกันจำนวนมากทำหน้าที่เรือฉาก
- ด้านตะวันออกเกาะลูซอน เป็นกองเรือเฉพาะกิจที่ 38 ของพลเรือเอก ฮาลเซย์ประกอบด้วยหมู่เรือเฉพาะกิจ 4 หน่วย แต่ละหน่วยมีเรือประมาณ 23 ลำ เรือบรรทุกเครื่องบินเบา 2 ลำ เรือประจัญบานใหม่ 3 ลำ เรือลาดตระเวน 2 ลำ เรือพิฆาต 14 ลำ กองเรือของนายพลเรือโอชาวา ทำงานสำเร็จภารกิจ คือ สามารถล่อกองเรือบรรทุกเครื่องยินของฮาลเซย์ขึ้นไปทางเหนือจนไกลจากอ่าวเลย์เต เมื่อมีเหตุการณ์ฉุกเฉิน จึงไม่สามารถจะมาช่วยกองเรือของตนที่อ่าวเลย์เต เพมื่อมีเหตุการณ์ฉุกเฉิน จึงไม่สามารถจะมาช่วยกองเรือของ
การยกพลขึ้นบก อย่งเป็นทางการเริ่มในวันที่ 17 ตุลา พร้อมกับหน่วยทำลายกับระเบิดหน่วยที่ 6บริเวณระหว่างเกาะ 3 เกาะ คือ Suluan Dinagat และเกาะ Homonhon บริเวณปากอ่าวเลย์เต หน่วยเรนเจอร์(หน่วยทหารเคลื่อที่เร็ว)
กองกำลังที่ 6 ต่อสู้อย่างเต็มกำลั
กองกำลังสหรัฐ ต่อสู้กับทหารญี่ปุ่นบนเกาะแบบข้ามวันข้ามคืนและสามารถยึดครองเนื่อที่ของเกาะเหนือ 7 วันหลังจากยกพลขึ้นบก กองทหารม้าบุกเข้าไปในหุบเขา และสร้างความเสียหายให้กับอู่ต่อเรือ Carigara
สนามบินญี่ปุ่นถูกบุกโจมตีถึง 4 แห่งแบบฉับพลัน ความยากลำบากเนื่องทัพอากาศญี่ปุ่นไม่สามารถลงจอดได้ เป็นเหตุให้กองกำลังทางอากาศญี่ปุ่น กว่า 200 ลำ บุกโจมตีกองเรืออเมริกาบริเวณชายหาด เครื่องบินกามิกาเซ่ ถือกำเนิดในยุทธการเลย์เต
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น