มหาสมุทร เป็นผืนน้ำทะเลขนาดใหญ่เชื่อต่อกัน และครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 3 ใน 4 ของพื้นผิวโลก (71%) มหาสมุทรเรียงตามลำดับขนาดจามากไปน้อยได้แก่ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และมหาสมุทรอาร์กติก คำว่า Sea หรือทะเล หากเจาะจงการพูดแล้วหมายถึงแห่งน้ำเค็ม(ส่วนหนึ่งของมหาสมุทร) ส่วนที่มีพื้นที่ติดพื้นดิน นักสมุทรศาสตร์ กล่าววา่มหาสมุทรในโลกเพิ่งได้มีการสำรวจได้เพียง 5% ปริมาตรสุทธิมีประมาณ 1.35 พันล้านลูกบาศก์
กิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ยที่ 3,700 เมตร เนื่องจากมหาสมุทรเป็นส่วนประกอบหลักของอุทกภาคของลก มหาสมุทรจึงเป็นสิ่งสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เป็นส่วนหนึ่งในวัฏจักรคาร์บอน และมีอิทธิพลต่อภูมิอากาศและลมฟ้าอากาศ มหาสมุทรเป็นที่อยู่อาศยของสิ่งมีชีวิตกว่า 230,000 สปีชีส์ แม้ว่ามหาสมุทรในส่วนที่ลึกๆ ส่วนมากยังคงไม่ถูกสำรวจ และเชื่อกันว่ามีสิ่งมีชีวิตใต้นำมากกว่ 2 ล้านชนิดอยู่ในนั้ จุดกำเนิดของมหาสมุทรนั้นยังไม่มีคำตอบ แต่มีความคิดว่ามันเกิดขึ้นในบรมยุคเฮเดียน และอาจจะเป็ฯแรงกระตุ้นให้เกิดกระบวนการกำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต (th.wikipedia.org/../มหาสมุทร)
มหาสมุทรอินเดีย เป็นผืนน้ำที่มีขนาดกว้างใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโชก กินพื้นที่ประมาณ 20% ของพื้นน้ำในโลกทางเหนือติดกับตอนใต้ของทวีปเอเชีย(อนุทวีปอินเดีย) ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรอาหรับและแอฟริกา ทางตะวันออกติดกับจังหวัดระนอง จังหวัดพังงา และจังหวัดภูเก็ตของประเทศไทย
ทะเลอันดามัน คาบสมุทรมลายู หมู่เกาะซุนดา หมู่เกาสิมิลัน ประเทศออสเตรเลียและอ่าวพังงาทางใต้ติดกับมหาสมุทรใต้ แยกจากมหาสมุทรแอตแลนติก ที่บริเวณตอนใต้ของทวีปแอฟริกาบนเส้นเมริเดียน 20องศาตะวันออก และแยกจากมหาสมุทรแปซิฟิกที่เส้นเมริเดียนที่ 147 องศาตะวันออก ตอนเหนือสุดขงอมหาสมุทรอินเดียอยู่ในอ่าวเปอร์เซีย ที่บริเวณละติจูด 30 องศาเหนือ มหาสมุทรมีความกว้างมากที่สุดอยุ่ระหว่างจุดใต้สุดของแอฟริการและออสเตรเลีย ด้วยระยะทางเกือบ 10,000 กิโลเมตร มีพื้นที่ 73,556,000 ตารางกิโลเมตร (รวมทะเลแดงและอ่าวเปอร์เซีย)ทั้งหมากสมุทรมีปริมาตรประมาณ 292,131,000 ลูกบาศก์กิโลเมตร ริมขอบของมหาสมุทรมีเกาะขนาดเล็จำนวนมาก ประเทศที่เป็นเกาะในมหาสมุทรอินเดียได้แก่ มาดัสการ์ ซึ่งเป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ของโลก รวมท้ง คอโมรอส เซเชลส์ มัลดีฟส์ ประเทศมอริเชียส และศรีลังกา กั้นเขตแตนด้วยประเทศอินโดนีเซีย และจังหวัดเกาะในมหาสมุทรอินเดีย คือ จังหวัดภูเก็ตของประเทศไทย มหาสมุทรอินเดียมีความสำคัญในฐานะเส้นทางผ่านระว่งเอเชียและแอฟริกา ในอดีตจึงมีข้อพิพาทบ่อยครั้ง แต่เนื่องจากมหาสมุทรมีขนาดใหญ่ ไม่มีประเทศใดที่สามารถครอบครองได้จนกระทั่งต้นทศวรรษ 1800 เมื่อสหราชอาณาจักรเข้าควบคุมพื้นที่ส่วนใหญ่ที่อยู่รอบๆ (www.th.wikipedia.org/../มหาสมุทรอินเดีย)
คลื่นสึนามิ แปลเป็นไทยว่า คลื่นท่าเรือ หรือคลื่นชายฝั่ง เป็นกลุ่มคลื่นน้ำที่เกิดขึ้นจากการย้ายของปริมาตรน้ำก้อนใหญ่ แผ่นดินไหว การปะทะของภูเขาไฟและการะเบิดใต้น้ำอื่น (รวมทั้งการจุดระเบิดวัตถุระเบิดนิวเคลียร์ใต้น้ำ) ดินถล่ม ธารน้ำแข็งไถล อุกาาบาตตกและการรบกวนอื่นๆ คลื่นสึนามิไม่
เหมือนกับคลื่นทะเลตามปกติ เพราะมีความยาวเคลื่อนยาวกว่ามาก แทนที่จะเป็นคลื่นหัวแตก ตามปกติ คลื่นสึนามิเร่ิมแรกอาจดูเหมือนกับว่ากคลื่นน้ำเพิ่มระดับสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และด้วยเหตุนี้ คื่นสึนามิจึงมักเรียกว่าเป็นคลื่นยักษ์ โดยทั่วไป คลื่นสึนามิประกอบด้วยกลุ่มคลื่นซึ่งมีคาบเป็นนาทีหรืออาจมากถึงชั่วโมง มากันเรียกว่าเป็น "คลื่นขบวน"ความสุงของคลื่นหลายสิบเมตรนั้นอาจเกิดขึ้นได้จาเหตุการณ์ขนาดใหญ่ แม้ผลกระทบของคลื่นสึนามินั้นจะจำกัดอยู่แค่พื้นที่ชายฝั่ง แต่อำนาจทำลายล้างของมันสมารถทมีได้ใหญ่หลวงและสามารถมีผลกระทบต่อทั้งแองมหาสมุทร คลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 เป็นหนึ่งในภัยธรรมชาติครั้งที่มีผุ้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตรื์มนุษยชติ โดยมีผู้เสียชีวิตกว่า 230,000 คน ใน14 ประเทศที่ติดกับมหาสมุทรอินเดีย (th.wikipedia.org/../คลื่นสึนามิ)
26 ธันวาคม 2547 เช้าวันใหม่หลังคือแห่งการเฉลิมฉลองคริสต์มาสอย่างสนุกสนาน และเต็มไปด้วยรอยยิ้ม ถูกแทนที่ด้วยรอยน้ำตาและใจแห่งความสูญเสียครั้งใหญ่ จากมฤตยูใต้น้ำที่ไม่มีใครคาดคิด สถานีวิทยะกรจายเสียงบีบีซี ของอังกฤษ โทรทัศน์แลดสื่อทุกประเภทได้แจ้งข่าวการเดิดแผ่นดินไหว 9.0 ริกเตอร์ มีศูนย์กลางอยู่ในมหาสมุทรอินเดีย บริเวณเกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย เมื่อเวลา 07.58 น. (ตามเวลาในประเทศไทย) อิทธิพลจากแรงของแผ่นดินไหว ทำให้เกิดคลื่อนยักษ์สึนามิแผ่กระจายออกไปยังชายฝั่งมหาสมุทรอินเดีย นับแต่ศรีลังกา อินเดีย บังคลาเทศ พม่า ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซย และหมู่เกาะน้อยใหญ่ในมหาสมุทรอินเดีย เช่น มัลดีฟส์ หมู่เกาะอันดามัน และนิโคบาร์ เป็นต้น และเป็นแผ่นดินไหวที่รุนแรงมากที่สุดเป็นอันดับ 4 ของโลกนับแต่ปี ค.ศ. 1900 เป็นต้นมา
แผ่นดินไหวมีศูนย์กลางอยู่ที่ละติจูด 3.316 องศาเหนือ และลองจิจูด 95.854 องศาตะวันออก ห่างจากปลายด้านเหนือของบริเวณเกาะสุมาตราไปทางทิศตะวันตกประมาณ 25 กิโลเมตร ประเมินกันว่าพลังงานของคลื่นเปรียบได้มากกว่า 5 ล้านตันของระเบิดทีเอ็นที (ซึ่งมากกว่าแรงระเบิดปรมาณู 2 ลูกรวมกันในสงครามโลกครั้งที่ 2) แรงคลื่นแผ่ออกไปเป็นวงรี ไกลกว่า 1,200 กม. ออกไปทั่วมหาสมุทรอินเดียด้วยความเร็วประมาณ ุ600-700กม./ชม. และความยาวคลื่นประมาณ 100 กม.
ซึ่งในขณะที่เคลื่อนกลางทะเลลึก คลื่นมีความสูงประมาณ 0.50 เมตรเท่าน้น แต่เมื่องเข้าใกล้ชายฝั่ง คลื่นจะก่อตัวสูงขึ้นจนมีขนาดสูงถึง 15-35 เมตร เข้าถล่มชายฝั่งอย่างรุนแรง โดยใช้เวลาเดินทางประมาณ 2 ชั่วโมงถึงชายฝั่งศรีลังกา อินเดีย บังคลาเทศ พม่าและไทย สิ่งที่น่าสนใจคือ ไม่มีหน่วยงานใดที่เตือนภัยล่วงหน้าได้เลย เนื่องจากไม่มีการติดตั้งเครื่องเตือนภัยที่สมบูรณ์เเบบ
แผนดินไหวครั้งนี้เกิดจากการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกอินเดียเพลท India Plate ซึ่งอยู่ใต้มหาสมุทรอินเดียเข้าไปข้างใต้แผ่นเปลื่อกโลกเบอร์มิสเพลท Burmese plate บริเวณสุมตรา เกิดรอยแยกยาวประมาณ 960 กม. ออกไปบนพื้นมหาสมุทรทำให้น้ำทะเลหลายล้านตันทะลักเข้าแทนที่ตามรอบแยกนี้ทันใดนั้น น้ำที่เข้าไปแทนที่ตามรอยแยกก็ถูกดันขึ้นสู่ผิวมหาสมุทรอย่างรวดเร็วและกระจายออกไปโดยรอบในรูปของลูกคลื่นถาโถมท่วมเข้ามาในแผนดินไกลกว่า 300 เมตรก่อนจะเปลี่ยนเป็นกระแสน้ำที่ไหลคือนกลับทะเลอย่างรวดเร็ซและรุนแรงพอๆ กันกับสันามิที่ขึ้นฝั่ง กวาดชีวิตผู้คนและทรัพย์สินลงทะเลอย่างรวดเร็วชั่วพริบตาและเป็นสาเหตุที่น้ำทะเลริมฝั่งลดลงผิดปกติอ ซึ่งทำให้ผู้คนที่อยู่บริเวณชายฝั่ยทะเลตื่นตาตื่นใจ จนเรียกผุ้คนบริเวณริมชายฝั่งออกมาดูกัน เพราะอยู่ๆ น้ำทะเลก็ลดลงอย่างผิดปกติ ทันใดนั้นเอง น้ำที่ลดลงก็วิ่งกลับขึ้นมาพร้อมกับคลื่นลูกยักษ์และพลังงานทำลายมหาศาล กวาดชีวิตผู้คน บ้านเรือน และสิ่งต่างๆ บริเวณนั้นลงไปอย่างรวดเร็ว สึนามิคร่าชีวิตผู้คนในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปเกินกว่า 2 แสนคน
สำหรับประเทศไทย สึนามิสร้างความเสียหายมหาศาลแก่ 6 จึงหวัดภาคใต้ของไทย อันได้แก่ พังงา กระบี่ ภูเก็ต ตรัง สตูล และระนอง ทำให้มีผุ้เสียชีวิตราว 5,000 คน สูญหายกว่า 3,000 คน ทรัพย์สินเสียหายไม่น้อยกว่า 60,000 ล้านบาทและความเสียหายทางด้านการทองเทียว การลงทุน การฟื้นฟูสภาพธรรมชาติ ตลอดจนอสังหาริมทรัพย์ต่างๆ ซึ่งไม่ต่ำกว่า 300,000 ล้านบาท
สึนามิจบลงพร้อมกับทิ้งร่องรอยความบอบช้ำที่ยากแก่การฟื้นฟูไว้ ทั้งปัญหาด้านทรัพยากร เช่นแหล่งที่ทำมาหากินของประชาชนริมฝั่งทะเล เเหล่งทีอยู่อาศัยและอาหารของสัตว์น้ำ พืชพันธุ์ธรรมชาติที่ถูกทพลาย การยุบและทรุดตัวของแผ่นดินในพื้นที่ดังกล่าว และสิ่งที่ดุจะเป็นปัญหาที่สุดคือ น้ำทะเลรุกล้ำเข้าไปในพื้นที่การดำรงชีวิตของมนุษย์ ทำให้เกิดปัญหาดินเค็มและการขาดแคลนน้ำจือ ทำให้เกิดการขาดแคลนอาหาร ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่มนุษย์ต้องใช้เพื่อการอยู่รอด(web.greenworld.or.th/.., "อาเซียนสึนามิ" มฤตยูจากท้องทะเล", ถิรนันท์ เลิสวิจิตรจรัส, 16 พฤศจิกายน 2552)
วันพฤหัสบดีที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
วันพุธที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
Republik Indonesia II (Vereenigde Oostindische Compagnie)
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย หรืออินโดนีเซีย มีระบบการเมืองการปกครองแบบสาธารณรัฐแบบประชาธิปไตย มีประธานนาธิบดีเป็นประมุขของรัฐและหัวหน้าบริหาร ระบบเศรษฐกิจ และทรัพยากรที่สำคัญในอดีตเศรษฐกิจของอินโดนีเซียพึ่งพาการส่งออกน้ำมันและก๊าซธรรมเป็นหลัก แต่หลังเกิดิกฤตการณ์น้ำมันในตลาดโลกอินโดนีเซียจึคงหันมาพัฒนาอุตสาหกรรมอื่นๆ ได้แก่ การกลั่นน้ำมัน การต่อเรือ ปรพกอบรถยนต์ และการผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ อินโดนีเซียมีความสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ ป่าไม่และแร่ธาตุต่างๆ เช่น น้ำก๊าซ ธรรมชาติ ถ่านหิน ดีบุกแฃละเหล็ก รวมทั้งมีภูมิประทเศที่เอื้อต่การทำประมงจับสัตว์น้ำและทำเกษตรกรรม โดยปลูกพืชแบบขั้นันได สกุลเงิน คือ รูเปียห์ ตัวย่อ IRD อัตราแลกเปลี่ยนโดยประมาณ 300 รูเปียห์ ต่อ 1 บาท ประชากร ประมาณ 251.5 ล้านคน ( พ.ศ.2557) ส่วนใหญ่เป็ฯชาวชวา ภาษาประจำชาติ ภาษราชการคือ ภาษาอินโดนีเซีย
บริษัทอินเดียตะวันออกของฮอลันดา V.O.C. ดำเนินกิจการในรูปแบบกิจการรัฐวิสาหกิจ ตั้งสถานีการค้าที่บันทัม เนื่องจากนโยบายของผุ้ปกครองบันทัมยินดีต้อนรับพ่อค้าต่างชาติพ่อค้าคนแรกของดัช คือ สรคเวน แวนเดอร์ ฮาเกน ได้ทำสัญญาผูกขาดการค้ากานพลู ในนามของพ่อค้าสมาคมชาวดัช การค้าในแต่ละเมืองจะจัดส่งเรือออกไปอย่างเป็นอิสระ โดยผลกำไรและขาดทุนจะมาเฉลี่ยทั่วกัน ในที่สุด V.O.C. ก็เข้าควบคุมโรงเก็บสินค้าทั้งหมดที่ฮอลันดาตั้งขึ้นเชนที่เกาะเทอร์เนตในหมู่เกาะโมลุกะ บันดา บันทัมและกรีสิกริมฝั่งชวาเหนือ ปัตตานี ยะโฮร์ลบนเเหลมมาลายูและอาเจะห์ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของสุมาตรา
ดัชปกครองอินโดนีเซียแบ่งได้เป็น 2 ระยะ
- ระยะเศรษฐกิจ ระยะแรกเริ่ม ดัชสนใจเพียงแค่การค้าเพียงอย่างเดียว ไม่สนใจครอบครองดินแดน การผูกขากการค้าเครื่องเทศ ในปมู่เกาะเครื่องเทศ ผูกขาดการค้าข้าวในชวา และการผูกขาดการค้าอื่น ๆ ได้ผลเป็นอย่างดี ไม่มีความจำเป้ฯจะต้องครอบครองดินแดนแต่อย่างใด การใช้นโยบายผูกขาดทางการค้าไปพร้อมๆ กับ ขจัดอิทธิพลของชาติอื่นคือ โปรตุเกส อังกฤษ อาหรับ โดยเสนอผลประโยชน์ให้สุลต่านในการทำสัญฐญาผูกขาดเครื่องเทศ ให้เงินตอบแทนและขายอาวุธให้ขยายอำนาจทางการค้าไปยังดินแดนจ่างๆ โดยเฉพาะในหมู่เกาะเครื่องเทศ พร้อมๆ กับคุกคามโปรตุเกสให้ถอนกำลังทางการค้าในบริเวณภูมิภาคนี้ อีกทั้งปราบปรามอังกฤษให้แข่งขันทางการค้า
ใช้วิธีการปกครองแบบ Priangan System แบ่งดินแดนการปกคอรงออกเป็นเขตๆ แต่งตั้งหวหน้าชาวพื้นเมืองของแต่ละเขตเรียกว่า รีเจ้นท์ มีหน้าที่ควบคุม ดูแลชาวพื้นเมืองเพาะปลูก และส่งผลผิจให้กับ V.O.C. ในราคาที่บริษัทกำหนดไว้ รีเจนท์ จะไม่ได้รับเงินเดือน แต่จะได้รับสิทธิทางภาษีจากประชชนในเขตคการปกครองของตน ภายใต้เงื่อนไขของบริษัทว่าต้องจ่ายเงินเดือนให้ข้าราชการชาวพื้อนเมือง แต่การจัดการปกครองแบบนี้ทำให้ รีเจ้นท์ แต่ละคนมีอำนาจมาก มักทำอะไรตามอำเภอใจ ดำเนินกิจการต่างๆ เป็นอิสระ รีเจ้นท์ นับว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่ฮิลันดาเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับการเมืองภายใน และเริ่มใ้นโยบายควบคุมดินแดน
อย่างไรก็ตามในระยะเริ่มแรกนี้ การผูกขาดทางการค้าได้ผลดีเป็นอย่างยิ่ง ดัชทำการปกครองทางอ้อม ปล่อยให้ชาวพื้นเมืองปกครองตนเองของครอบครัวและหมู่บ้านที่เรียกว่า เดสา ตามกฎหมายและจารีตประเพณีพื้นเมือง อะดาท ดัชรักษาเพียงผลประโยชน์ทางการค้าเท่านั้น แตเนืองจากการที่ชาวพื้นเมืองลักลอบขายสินค้าให้กับโปรตุเกส อังกฤษ สเปนและอาหรับ เนือ่งจากชาติเหล่านี้ให้ระคาสูงกว่า รีเจ้นท์ แต่ละคนมีอำนาจมาก เกิดการทะเลาะขัแย้งกันเอง กดขีคนพื้นเมือง บริษัทจึงเข้าแทรกแซง และควบคุมการตรวจสอบ อีกทั้งปัญหาโจรสลัดปล้นเรือสินค้า ของ V.O.C.
การแทรกแซงทางการเมืองและการทำสงคราม เมื่อคนพื้นเมืองไม่ทำสัญญาทางการค้าก็จะใช้กำลังทางการทหารบีบบังคับและถ้าดินแดนใดที่เห็นว่ามีประโยชน์ทางการค้าแก่ฮิลันดา เกิดการแตกแยกภายใน ฮอลันดาจะเข้าแทรกแซงทันที
ปกครองระบบพาณิชย์นิยม บริษัทซื้อสินค้าโดยตรงกับคนพื้นเมืองโดยตรง จ่ายเงินให้กับผุ้ผลิต เนื่องจากบริษัทมีภาระทางการเงินมาก จึงมอบให้สุลต่านเป็นผู้ดูแล มีการนำระบบบังคับการเกษตรมาใช้สุลต่านผูกพันสัญญากับบริษัท ดัชปกครองชวาอย่างใกล้ชิด ในส่วนท้องถิ่นและเกาะรอบนอกผู้นำยังคงปกครองต่อไป ตราบเท่าที่การค้ายังคงดำเนินไปตามกฎของบริษัท แต่หากรัฐใดทำผิดกฎติดต่อค้าขายกับชาติอื่น ดังจะลงโทษทันที ดัชขยายการปกครองไปทั่วดินแนอินโดนีเซยและเก็บเกี่ยวพืชผลทางเกษตร การแสวงหาผลประโยชน์โดยปราศจากความเตราเมื่อดัชย้ายศูนย์กลางการปกครองและการค้าไปยู่ปัตาเวยแารปกครองเข้มงวดและรัดกุมมากขึ้น ทำให้ดัชได้เกาะชวาทั้งหมด และมีอิทธิพลทางการค้าและการเมืองเหนือหมู่เกาะเครื่องเทศ ยกเว้นเพียงมาคัสซาร์
การแข่งขันทางการค้าในยุโรป การขายการค้าเกินกำลัง กลยุทธ์ทางการค้า ประกอบกับปัญหาทุจริตในแวดวงราชการ เกิดการกบฏ และการเปลี่ยนแปลงในยุโป สงครามปฏิวัติอเมริกา และการปฏิวัติฝรั่งเศส ยุโรปหยุดชะงัก ในที่สุด บริษัท V.O.C ต้องล้มละลายลง รัฐบาลฮอลันดาต้งอเข้ามารับภาระในการชำระหนี้ ส่งข้าหลวงเข้ามาปกครองอาณานิคม ทำการปฏิรูปการปกครอง แต่เมืองสเกิดสงครามนโปเลียน ฮอลันดาตกอยู่ใข้อิทธิพลฝรั่งเศส อังกฤษเข้ามาดูแลชวา และหมู่เกาะเครื่องเทศชั่วคราว ภายใต้การปกครองของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ
เซอร์ โทมัส แสตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์ นายพลผุ้ว่าการชวาและเมืองขึ้นอื่นๆ ได้แนะนำวิธีการปกครองท้องถิ่นด้วยตนเอง การค้าทาสได้ถูกสั่งห้าม ระบบเช่าที่ดินถูกนำมาใช้แทรกองทหาร ยกเลิกการผูกขาการค้าและการบังคับการเพาะปลูก ฟื้นฟูอำนาจสุลต่าน แบ่งชวาออกเป็น 10 เชต มีผุ้ปกครองแต่ละเขตทำหน้าที่บริหารราชการ และทำหน้าที่ตุลาการเรียกเก็บภาษีให้รัฐบาล
ภายหลังสงครามนโปเลียนดัชกลับมาปกครองอินโดนีเซียอีกครั้ง ซึ่งสถานะทางกเารเงินยังทรุดหนัก การค้าในหมู่เกาะอินโดนีเซียไม่มั่นคง รัฐบาลฮิลันดาจึงเข้าปกครองชวา และหมู่เกาะเครื่องเทศอย่างใกล้ชิด และพยายามแทรกแซงการปกครองภายในทำให้อินโดนีเซีย ภายหลังสงครามโลกคร้งที่ 1 ต้องตกเป็นอาณานิคมของฮอลันดาอย่างสมบูรณ์
รัฐบาล ฮอลันดา ได้จัดตั้งคณะข้าหลวงเข้ามาปกครอง อินโดนีเซีย โดยประกาศใช้รัฐธรรมนูญปกครองอาณานิคมที่เรียกว่า รีเจอร์ริงซ์-รีเกิลเมนท์ รัฐบาลฮอลันดาได้ทดลองปกครองแบบเสรีนิยมที่แรฟเฟิลส์ได้วางเอาไว้ และมีนโยบายส่งเสริมสวัสดิการของชาวพื้นเมื่องให้ดีขึ้นเนื่องจากแรงกดดันของ พวกเสรีนิยมในยุโรป ดัชได้ปรับเปลี่ยนการปกครองเป็นแบบเสรีนิยม และระบบเศรษฐกิจวัฒนธรรม..การปกครองของดับสร้างปัญหาให้กับอินโดนีเซียเป็นอย่างมากโดยเฉพาะระบบบังคับการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ เกิดปัญหาการขาดแคลนข้าว เพราะที่ดินที่ควรจะนำมาปลูกข้าวเพื่อใบข้บริโภคกลับถูกนำไปปลูกพืชเศรษฐกิจ ผู้คนค้าขายไม่เป็น สภาพชีวิตของผุ้คนแย่ลง กลุ่มเสรีนิยมได้โจมตีระบบนี้อย่างหยัก เกิดขบวนการชาตินิยม เกิดการก่อกบฎของชาวพื้นเมืองไปทั่วภูมิภาค กระทั่งระบบนี้ถูยกเลิกเป็นกาถาวรwww.gotoknow.org/../อินโดนีเซีย : การปกครองของฮอลันดาในอินโดนีเซียในรูปแบบบริษัทอินเดียตะวันออกของฮอลันดา)
จากการที่ตกเป็นเมืองขึ้นของดัชกว่า 300 ปีจึงได้รับการถ่ายทอดความรุ้ความชำนาญ ตลอดจนศิลปะวัชาการแขนงต่างๆ ที่กลากหลายจากชาวดัตซ์ ซึ่งเป็นเจ้าอาณานิคมชั้นนำและมีความศิวิไลซ์ย่ิงในสมัยนัน โดยเฉพะาในกานการเมืองการปกครอง การวางรากฐานของระบบเศรษฐกิจ การค้า การเงิน การคลัง การศึกษา วิวัฒนาการของการเดินเรือสมัยใหม่ ตลอดจนสังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
แต่การเปลี่ยนผ่าน สู่ความเป็นประเทศเอกราชของอินโดนีเซียมิได้โรด้วยกลีบกุหลาบ แต่เต็มไปด้วยอุสรรคที่ยากลำบาก ถนนสู่ความเป็นประเทศอธิปไตย มีความขรุขะอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการต่อสู้กับชาวดัตซ์เืพ่อให้ได้มาซึ่งเอกราชบในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งเป็นกาต้องสู่ที่เสียเลือดเนื้อ กล่าวคือ ห้วงเวลาที่หลายประเทศในยุโรปกำลังเพลี่ยงพล้ำต่อกาองทัพนาซีของเยอรมัน ทำให้ดัตซ์และประเทศส่วนใหญ่ต้องหมกมุ่นกับการจักการปัญหาภายในของตน กอปรกับจัรวรรดิญี่ปุ่นกำลังเรืองอำนาจมีแสนยานุภาพ
ทางการทหารเพิ่มขึ้นอย่างไม่เคยมีมาก่อน และได้แผ่อำนาจอิทธิพลขับไล่ชาวดัตซ์เจ้าอาณานิยมเดิมออกไปจนในที่สุดญี่ปุ่นก็สามารถยึดครองอินโดนีเซียได้สำเร็จ แต่เมื่อสุดท้ายญี่ปุ่นต้องประกาศยอมแพ้สงครามเนื่องจากประเทศได้รับความเสียหายอย่างหนักจากการถูกทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ อินโดนีเซียโดยผู้นำการต่อสู้เพื่อเอกราชขณะนั้น คือ ซูการ์โน ฉวยโอกาสประกาศเอกราชในขณะที่ฝ่ายญี่ปุ่นเพลี่ยงพล้ำพ่ายแพ้สงคราม
ดัตซ์เจ้าอาณานิคมเดิมยายามอย่างมากในการกลับเข้ามาปกครองอินโดนีเซีย และได้ใช้นโยบายกวดล้างเพื่อกอบกู้อำนาจของตนตามหัวเมืองต่างๆ ทำให้เกิดการสู้รบระหว่างทหารชาวดัตซ์และกองทัพผุ้รักชาติอนิโดนีเซีย ส่งผลให้มีผุ้บาดเจ็บล้มตายเป็ฯจำนวนมาก กระทั่ง ค.ศ. 1945 สหรัฐอเมริกาได้ประกาศยุติการให้เงินสนับสนุแก่เนเธอร์แลนด์ภายใต้แนการณ์มาร์แชล และคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ได้กดดันและมีมติให้เนเธอร์แลนด์ถอนตัวออกจาอินโดนีเซียและแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติวิธี
ในที่สุด ดัตซ์ ต้องจำยอมต่อแรงกดดันนำไปสู่การถอนทหารออกจากอินโดนีเซีย ทำให้บทบาทแลอิทธิพลของตนต้องสิ้นสุดลงอย่างถาวร และอินโดนีเซียก็ได้ประกาศเอกราชอีกครั้ง เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 1950 นำไปสู่การได้มาซึ่งอิสรภาพที่แท้จริงของประเทศ ภายใต้การนำของปรธานาธิบดีซูการ์โน ประธานาธิบดีคนแรกของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย. (www.siamintejjigence .com/../ประวัติความเป็นมาและเส้นทางสู่มหาอำนาจของ "อินโดนีเซีย"ในASEAN ตอนที่ 1.)
บริษัทอินเดียตะวันออกของฮอลันดา V.O.C. ดำเนินกิจการในรูปแบบกิจการรัฐวิสาหกิจ ตั้งสถานีการค้าที่บันทัม เนื่องจากนโยบายของผุ้ปกครองบันทัมยินดีต้อนรับพ่อค้าต่างชาติพ่อค้าคนแรกของดัช คือ สรคเวน แวนเดอร์ ฮาเกน ได้ทำสัญญาผูกขาดการค้ากานพลู ในนามของพ่อค้าสมาคมชาวดัช การค้าในแต่ละเมืองจะจัดส่งเรือออกไปอย่างเป็นอิสระ โดยผลกำไรและขาดทุนจะมาเฉลี่ยทั่วกัน ในที่สุด V.O.C. ก็เข้าควบคุมโรงเก็บสินค้าทั้งหมดที่ฮอลันดาตั้งขึ้นเชนที่เกาะเทอร์เนตในหมู่เกาะโมลุกะ บันดา บันทัมและกรีสิกริมฝั่งชวาเหนือ ปัตตานี ยะโฮร์ลบนเเหลมมาลายูและอาเจะห์ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของสุมาตรา
ดัชปกครองอินโดนีเซียแบ่งได้เป็น 2 ระยะ
- ระยะเศรษฐกิจ ระยะแรกเริ่ม ดัชสนใจเพียงแค่การค้าเพียงอย่างเดียว ไม่สนใจครอบครองดินแดน การผูกขากการค้าเครื่องเทศ ในปมู่เกาะเครื่องเทศ ผูกขาดการค้าข้าวในชวา และการผูกขาดการค้าอื่น ๆ ได้ผลเป็นอย่างดี ไม่มีความจำเป้ฯจะต้องครอบครองดินแดนแต่อย่างใด การใช้นโยบายผูกขาดทางการค้าไปพร้อมๆ กับ ขจัดอิทธิพลของชาติอื่นคือ โปรตุเกส อังกฤษ อาหรับ โดยเสนอผลประโยชน์ให้สุลต่านในการทำสัญฐญาผูกขาดเครื่องเทศ ให้เงินตอบแทนและขายอาวุธให้ขยายอำนาจทางการค้าไปยังดินแดนจ่างๆ โดยเฉพาะในหมู่เกาะเครื่องเทศ พร้อมๆ กับคุกคามโปรตุเกสให้ถอนกำลังทางการค้าในบริเวณภูมิภาคนี้ อีกทั้งปราบปรามอังกฤษให้แข่งขันทางการค้า
ใช้วิธีการปกครองแบบ Priangan System แบ่งดินแดนการปกคอรงออกเป็นเขตๆ แต่งตั้งหวหน้าชาวพื้นเมืองของแต่ละเขตเรียกว่า รีเจ้นท์ มีหน้าที่ควบคุม ดูแลชาวพื้นเมืองเพาะปลูก และส่งผลผิจให้กับ V.O.C. ในราคาที่บริษัทกำหนดไว้ รีเจนท์ จะไม่ได้รับเงินเดือน แต่จะได้รับสิทธิทางภาษีจากประชชนในเขตคการปกครองของตน ภายใต้เงื่อนไขของบริษัทว่าต้องจ่ายเงินเดือนให้ข้าราชการชาวพื้อนเมือง แต่การจัดการปกครองแบบนี้ทำให้ รีเจ้นท์ แต่ละคนมีอำนาจมาก มักทำอะไรตามอำเภอใจ ดำเนินกิจการต่างๆ เป็นอิสระ รีเจ้นท์ นับว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่ฮิลันดาเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับการเมืองภายใน และเริ่มใ้นโยบายควบคุมดินแดน
อย่างไรก็ตามในระยะเริ่มแรกนี้ การผูกขาดทางการค้าได้ผลดีเป็นอย่างยิ่ง ดัชทำการปกครองทางอ้อม ปล่อยให้ชาวพื้นเมืองปกครองตนเองของครอบครัวและหมู่บ้านที่เรียกว่า เดสา ตามกฎหมายและจารีตประเพณีพื้นเมือง อะดาท ดัชรักษาเพียงผลประโยชน์ทางการค้าเท่านั้น แตเนืองจากการที่ชาวพื้นเมืองลักลอบขายสินค้าให้กับโปรตุเกส อังกฤษ สเปนและอาหรับ เนือ่งจากชาติเหล่านี้ให้ระคาสูงกว่า รีเจ้นท์ แต่ละคนมีอำนาจมาก เกิดการทะเลาะขัแย้งกันเอง กดขีคนพื้นเมือง บริษัทจึงเข้าแทรกแซง และควบคุมการตรวจสอบ อีกทั้งปัญหาโจรสลัดปล้นเรือสินค้า ของ V.O.C.
การแทรกแซงทางการเมืองและการทำสงคราม เมื่อคนพื้นเมืองไม่ทำสัญญาทางการค้าก็จะใช้กำลังทางการทหารบีบบังคับและถ้าดินแดนใดที่เห็นว่ามีประโยชน์ทางการค้าแก่ฮิลันดา เกิดการแตกแยกภายใน ฮอลันดาจะเข้าแทรกแซงทันที
ปกครองระบบพาณิชย์นิยม บริษัทซื้อสินค้าโดยตรงกับคนพื้นเมืองโดยตรง จ่ายเงินให้กับผุ้ผลิต เนื่องจากบริษัทมีภาระทางการเงินมาก จึงมอบให้สุลต่านเป็นผู้ดูแล มีการนำระบบบังคับการเกษตรมาใช้สุลต่านผูกพันสัญญากับบริษัท ดัชปกครองชวาอย่างใกล้ชิด ในส่วนท้องถิ่นและเกาะรอบนอกผู้นำยังคงปกครองต่อไป ตราบเท่าที่การค้ายังคงดำเนินไปตามกฎของบริษัท แต่หากรัฐใดทำผิดกฎติดต่อค้าขายกับชาติอื่น ดังจะลงโทษทันที ดัชขยายการปกครองไปทั่วดินแนอินโดนีเซยและเก็บเกี่ยวพืชผลทางเกษตร การแสวงหาผลประโยชน์โดยปราศจากความเตราเมื่อดัชย้ายศูนย์กลางการปกครองและการค้าไปยู่ปัตาเวยแารปกครองเข้มงวดและรัดกุมมากขึ้น ทำให้ดัชได้เกาะชวาทั้งหมด และมีอิทธิพลทางการค้าและการเมืองเหนือหมู่เกาะเครื่องเทศ ยกเว้นเพียงมาคัสซาร์
การแข่งขันทางการค้าในยุโรป การขายการค้าเกินกำลัง กลยุทธ์ทางการค้า ประกอบกับปัญหาทุจริตในแวดวงราชการ เกิดการกบฏ และการเปลี่ยนแปลงในยุโป สงครามปฏิวัติอเมริกา และการปฏิวัติฝรั่งเศส ยุโรปหยุดชะงัก ในที่สุด บริษัท V.O.C ต้องล้มละลายลง รัฐบาลฮอลันดาต้งอเข้ามารับภาระในการชำระหนี้ ส่งข้าหลวงเข้ามาปกครองอาณานิคม ทำการปฏิรูปการปกครอง แต่เมืองสเกิดสงครามนโปเลียน ฮอลันดาตกอยู่ใข้อิทธิพลฝรั่งเศส อังกฤษเข้ามาดูแลชวา และหมู่เกาะเครื่องเทศชั่วคราว ภายใต้การปกครองของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ
เซอร์ โทมัส แสตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์ นายพลผุ้ว่าการชวาและเมืองขึ้นอื่นๆ ได้แนะนำวิธีการปกครองท้องถิ่นด้วยตนเอง การค้าทาสได้ถูกสั่งห้าม ระบบเช่าที่ดินถูกนำมาใช้แทรกองทหาร ยกเลิกการผูกขาการค้าและการบังคับการเพาะปลูก ฟื้นฟูอำนาจสุลต่าน แบ่งชวาออกเป็น 10 เชต มีผุ้ปกครองแต่ละเขตทำหน้าที่บริหารราชการ และทำหน้าที่ตุลาการเรียกเก็บภาษีให้รัฐบาล
ภายหลังสงครามนโปเลียนดัชกลับมาปกครองอินโดนีเซียอีกครั้ง ซึ่งสถานะทางกเารเงินยังทรุดหนัก การค้าในหมู่เกาะอินโดนีเซียไม่มั่นคง รัฐบาลฮิลันดาจึงเข้าปกครองชวา และหมู่เกาะเครื่องเทศอย่างใกล้ชิด และพยายามแทรกแซงการปกครองภายในทำให้อินโดนีเซีย ภายหลังสงครามโลกคร้งที่ 1 ต้องตกเป็นอาณานิคมของฮอลันดาอย่างสมบูรณ์
รัฐบาล ฮอลันดา ได้จัดตั้งคณะข้าหลวงเข้ามาปกครอง อินโดนีเซีย โดยประกาศใช้รัฐธรรมนูญปกครองอาณานิคมที่เรียกว่า รีเจอร์ริงซ์-รีเกิลเมนท์ รัฐบาลฮอลันดาได้ทดลองปกครองแบบเสรีนิยมที่แรฟเฟิลส์ได้วางเอาไว้ และมีนโยบายส่งเสริมสวัสดิการของชาวพื้นเมื่องให้ดีขึ้นเนื่องจากแรงกดดันของ พวกเสรีนิยมในยุโรป ดัชได้ปรับเปลี่ยนการปกครองเป็นแบบเสรีนิยม และระบบเศรษฐกิจวัฒนธรรม..การปกครองของดับสร้างปัญหาให้กับอินโดนีเซียเป็นอย่างมากโดยเฉพาะระบบบังคับการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ เกิดปัญหาการขาดแคลนข้าว เพราะที่ดินที่ควรจะนำมาปลูกข้าวเพื่อใบข้บริโภคกลับถูกนำไปปลูกพืชเศรษฐกิจ ผู้คนค้าขายไม่เป็น สภาพชีวิตของผุ้คนแย่ลง กลุ่มเสรีนิยมได้โจมตีระบบนี้อย่างหยัก เกิดขบวนการชาตินิยม เกิดการก่อกบฎของชาวพื้นเมืองไปทั่วภูมิภาค กระทั่งระบบนี้ถูยกเลิกเป็นกาถาวรwww.gotoknow.org/../อินโดนีเซีย : การปกครองของฮอลันดาในอินโดนีเซียในรูปแบบบริษัทอินเดียตะวันออกของฮอลันดา)
จากการที่ตกเป็นเมืองขึ้นของดัชกว่า 300 ปีจึงได้รับการถ่ายทอดความรุ้ความชำนาญ ตลอดจนศิลปะวัชาการแขนงต่างๆ ที่กลากหลายจากชาวดัตซ์ ซึ่งเป็นเจ้าอาณานิคมชั้นนำและมีความศิวิไลซ์ย่ิงในสมัยนัน โดยเฉพะาในกานการเมืองการปกครอง การวางรากฐานของระบบเศรษฐกิจ การค้า การเงิน การคลัง การศึกษา วิวัฒนาการของการเดินเรือสมัยใหม่ ตลอดจนสังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
แต่การเปลี่ยนผ่าน สู่ความเป็นประเทศเอกราชของอินโดนีเซียมิได้โรด้วยกลีบกุหลาบ แต่เต็มไปด้วยอุสรรคที่ยากลำบาก ถนนสู่ความเป็นประเทศอธิปไตย มีความขรุขะอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการต่อสู้กับชาวดัตซ์เืพ่อให้ได้มาซึ่งเอกราชบในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งเป็นกาต้องสู่ที่เสียเลือดเนื้อ กล่าวคือ ห้วงเวลาที่หลายประเทศในยุโรปกำลังเพลี่ยงพล้ำต่อกาองทัพนาซีของเยอรมัน ทำให้ดัตซ์และประเทศส่วนใหญ่ต้องหมกมุ่นกับการจักการปัญหาภายในของตน กอปรกับจัรวรรดิญี่ปุ่นกำลังเรืองอำนาจมีแสนยานุภาพ
ทางการทหารเพิ่มขึ้นอย่างไม่เคยมีมาก่อน และได้แผ่อำนาจอิทธิพลขับไล่ชาวดัตซ์เจ้าอาณานิยมเดิมออกไปจนในที่สุดญี่ปุ่นก็สามารถยึดครองอินโดนีเซียได้สำเร็จ แต่เมื่อสุดท้ายญี่ปุ่นต้องประกาศยอมแพ้สงครามเนื่องจากประเทศได้รับความเสียหายอย่างหนักจากการถูกทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ อินโดนีเซียโดยผู้นำการต่อสู้เพื่อเอกราชขณะนั้น คือ ซูการ์โน ฉวยโอกาสประกาศเอกราชในขณะที่ฝ่ายญี่ปุ่นเพลี่ยงพล้ำพ่ายแพ้สงคราม
ดัตซ์เจ้าอาณานิคมเดิมยายามอย่างมากในการกลับเข้ามาปกครองอินโดนีเซีย และได้ใช้นโยบายกวดล้างเพื่อกอบกู้อำนาจของตนตามหัวเมืองต่างๆ ทำให้เกิดการสู้รบระหว่างทหารชาวดัตซ์และกองทัพผุ้รักชาติอนิโดนีเซีย ส่งผลให้มีผุ้บาดเจ็บล้มตายเป็ฯจำนวนมาก กระทั่ง ค.ศ. 1945 สหรัฐอเมริกาได้ประกาศยุติการให้เงินสนับสนุแก่เนเธอร์แลนด์ภายใต้แนการณ์มาร์แชล และคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ได้กดดันและมีมติให้เนเธอร์แลนด์ถอนตัวออกจาอินโดนีเซียและแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติวิธี
ในที่สุด ดัตซ์ ต้องจำยอมต่อแรงกดดันนำไปสู่การถอนทหารออกจากอินโดนีเซีย ทำให้บทบาทแลอิทธิพลของตนต้องสิ้นสุดลงอย่างถาวร และอินโดนีเซียก็ได้ประกาศเอกราชอีกครั้ง เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 1950 นำไปสู่การได้มาซึ่งอิสรภาพที่แท้จริงของประเทศ ภายใต้การนำของปรธานาธิบดีซูการ์โน ประธานาธิบดีคนแรกของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย. (www.siamintejjigence .com/../ประวัติความเป็นมาและเส้นทางสู่มหาอำนาจของ "อินโดนีเซีย"ในASEAN ตอนที่ 1.)
วันอังคารที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
Republik Indonesia I (The Kingdom)
อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะขนาดใหญ่ที่สุดในโลกมีพื้นที่รวมทั้งหมดประมาณ 1,826,440 ตารางกิโลเมตร มีกว่า 17,000 เกาะ พื้นที่กว่า 70% ไม่มีผู้คนอาศัย มีภูเขาสูงตามเทือกเขาที่มีความสูงมากอยู่ตามเกาะต่างๆ ตามบริเวณเขามักมีภูเขาไฟปละมีี่ราบรอบเทือกเขาที่มีความสูงมากอยู่ตามเกาะต่างๆ ตามบริเวณเขามักมีภูเขาไฟและมีที่ราบรอบเทือกเขา ชายเกาะมีความสูงใกล้เคียงกบระดับน้ำทะเล ทำให้มีทีราบบางแห่งเต็มไปด้วยหนองบึงใช้ประโยชน์ไม่ได้
ประเทศอินโดนีเซียมีหมู่เกาะหลัก 5 เกาะคือ อีเรียน, ชวา, กลิมันตัน, สุลาเวสีและสุมตราซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในบรระดาเกาะหลักทั้ง 5 เกาะ แต่ประมาณ 60% ของประชากรกว่า 200 ล้านคน อาศัยอยู่บนเกาะนี้และเป็นที่ตั้งกรุงจาการ์ตาซึ่งเป็นเมืองหลวง หมู่เกาะเหล่านี้อยู่ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างมหสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ชายฝั่งของประเทศอินโดนีเซียยาวประมาณ 2,600 กิโลเมตร และมีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์ตะวันออก
ความแตกต่างของกลุ่มชาติพันธุ์กว่า 300 กลุ่มชาติพันธ์ุและภาษาพื้นเมือง และสำเนียงท้องถิ่นที่แตกต่างกันถึง 742 ภาษา ชาวอินโดนีเซียส่วนมากสืบเชื้อสายมาจากชนเผ่านที่พูดตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ภาษาของแลุ่มชนดังกล่าวสามารถที่จะสืบค้นย้อนไปถึง ภาษาโปรโต-ออสโตรเนเซียน ผุ้ซึ่งอาศัยอยู่บนเกาะปาปัวภาคตะวันออก ของประเทศอินโดนีเซีย ชาวชวา คือ กลุ่มชนเผ่าที่มีจำนวนมากที่สุด ซึ่งมีอยู่ราว 42% ของจำนวนประชากร เป็นกลุ่มชนชั้นนำทางการเมือง และวัฒนธรรมนอกจากนี้ยังมีกลุ่มชนชาติหลักๆ ที่มีจำนวนพอไกับชาวชวา เช่น ชาวซุนดา ชาวมาเล และชาวมาดูราจิตสำนึกของความเป็นชาวอินโดนีเซย จะขนาดควบคู่ไปกับอัตลักษณ์ของท้องถิ่นตนเององย่างเหนียวแน่น ความตึงเครียดทางสังคม ศาสนา และเชื้อชาติ เป็นสิ่งที่เคยกระตุ้นให้เกิดความขัแย้งรุนแรง อันน่่าสะพรึงกลัวมาแล้ว ชาวอินโดนีเซียเชื้อสายจีน เป็นชนกลุ่มน้อยในประเทศ แต่ทรงอิทธิพลอย่างยิ่ง มีจำนวนราว 3-4% ของจำนวนประชากรอินโดนีเซีย
ในปี ค.ศ. 2010 ประเทศอินโดนีเซียมีผู้นับถือศาสนาดังนี้ อิสลาม 87.2% คริสต์ 9.9% ฮินดู 1.7% พุทธ 0.7% ขงจื้อและศาสนาอื่น 0.2% (th.wikipedia.org/../ประเทศอินโดนีเซีย)
อาณาจักรโบราณในหมู่เกาะอินโดนีเซีย ต้นคริสศตวรรษที่ 6 ในขณะที่อาณาจักรฟูนันกำลังเสื่อมลงรัฐต่างๆ ในหมู่เกาะอินโดนีเซยก็มีความเจริญขึ้นมาแทนที่ คือ อทณาจักรที่ยิ่งใหญ่ที่ควรจะกล่าวถึง คอื ศรีวิชัย สิงหัสสาหรี และมัชฌปาหิต ตามลำดับ ทั้ง 3 รัฐ มีอารยธรรมแบบฮินดู-ชวา และพุทธมหายาน
อาณาจักร ศรีวิชัย หรืออาณาจักรศรีโพธิ์ เกิดขึ้นโดยราชวงศ์ไศเลนทร์ ในช่วงที่อาณาจักรฟูนันล่มสลายเป็นอาณาจักรของชาติพันธ์ุมลายูโบราณ มีอาณาเขตครอบุลุมมลายู เกาะชวา เกาะสุมตรา ช่องแคบมะละกา ช่องแคบซุนดา และบริเวณภาคใต้ของประเทศไทยพื้นที่อาณาจักรแบ่งได้สามส่วน คือส่วนของชวาได้แยกตัวออกไปตั้งเป็นอาณาจักรมัชปาหหิต ตอ่มาเมื่ออาณาจักรศรีวิชัยอ่อนแอลง อาณาจักรมัชปาหิตได้ยกทัพเข้ามาตีศรีวิชัย ได้ดินแดนสุมาตราแลบางส่วนของคาบสมุทรมลายูไป และทำให้ศรีวิชัยล่มสลายไปในที่สุด ส่วนพื้นที่คาบสมุทรที่เหลือต่อมมาเชื่อพระวงศ์จากอาณาจักรเพชรบุรีได้เสด็จมาฟื้นฟูและตั้งเป็นอาณาจักรนครศรีธรรมราช
ศ.ยอร์ช เซเดส์ ระบุว่า ศรีวิชัยน่าจสถาปนาในช่วงเวลก่อนปี พ.ศ.1225 เล็กน้อย ขณะที่เสรนีย์อนุชิต ถาวรเศรษฐ เลขานุการคณะอนุกรรมการตรวจสอบหลักฐานอาณาจักรศรีโพธิ์ วุทฒิสภา ระบุว่า อาณาจักรศรีโพธิ์(ศีรวิชัย) สถาปรสขึ้นในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 1202 โดยใช้หลักการทางดาราศาสตร์ฟิสิกส์ ตรวจหาวันที่จากเหตุกาณ์ทางดาราศษสตร์ ที่อ้างอิงถึงในตำนานท้องถ่ินเกี่ยวกับการสถาปนาอาณจักรที่ว่า "หลังเสร็จสิ้นสงครามแย่งช้าง ต่อมาได้เกิดสริยคราสแหวนเพชร ขึ้นในท้องที่ดังกล่าว หลังจากนั้น 7 วัน มหาราชทั้งสอง ได้ทำพิธีบรมราชาภิเษกที่เขาสุวรรณบรรพต แล้วขึ้นครองราชสมบัติ สถาปนาอาณาจักรศรีโพธิ์" ส่วนที่ตั้งศูนย์กลางอาณาจัร มีการถกเถียงกันจนปัจจุบันก็ยังไม่ได้ข้อสรุป แต่มีสองแนวคิดที่เชื่อถือกันอยู่ คือ คู่เมือง ไชยา-สุราษฎร์ธานี และที่เมืองเปเล็มบังขสุมาตรา ทั้งหนี้เพราะมีหลักฐานจารึกชัดเจนว่า ปี พ.ศ. 1369 พรเจ้าศรีพลบุตร(ครองชวากลาง)พระนัดดาในพระเจ้าศรีสงครามธนัญชัย(ครองทั้งศรีวิชัยและชวากลาง)ยกทัพจากชวากลางมาตีศรีวิชัย จากพระใหญ่(พระนัดดาอีกสายของพระเจ้าศรีสงครามฯ ที่ครองศรีวิชัย)แล้วชิงได้ราชสมบัติไป แนวความคิดเรือ่งชวากลาง(สถานที่ประดิษฐานเจดีย์บุโรพุทโธ) เป็นศูนย์กลางจึงตกไป
มีการพบศิลาจารึกภาษามลายูโบราณเกี่ยวกับอาณาจักรศรีวิชัยนี้ ทั้งที่สุมาตรา และที่วัดเสนาเมืองจังหวัดนครศรีธรรมราชและพบศิลาจารึกภาษาสันสกฤตเมืองไชยา ระบุว่าศรีวิชัยเป็นเมืองท่าค้าพริก ดีปลีและพริกไทยเม็ด โดยมีต้นหมากและต้นมะพร้าวจำนวนมาก
หลวงจีนอี้จิง เคยยเดินทางจากเมืองกวางตุ้งประเทศจีน โดยเรือของพวกอาหรับ ผ่านฟูนันมาพักที่อาณาจักรศรีวิชัยในเดือน 11 พ.ศ. 1214 เป็นเวลา 2 เดือน ก่อนที่จะเดินทางต่อผ่านเมืองไทรบุรีผ่านหมู่เกาะคนเปลือยนิโคบร์ ถึงเมืองท่า
ตามพรลิงก์ที่อินเดีย เพื่อสอบทอดพระพุทธศาสนา พลวงจีนอี้จิงบันทุกไว้ว่า พุทธศาสรแบบมหายานเจริญรุ่งเรืองในอาณาจักรศรีวิชัย ประชาชนทางแหลมมลายูเดินส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาแต่ก็ได้ติดต่อกับพุ่อค้าอาหรับมุสลิม ที่เดินทางผ่านเพื่อไปยังประเทศจีนดังนั้นในเวลาต่อมาศาสนาอิสลามจึงได้เผยแพร่ไปยังมะละกา กลันตัน ตรังกานู ปาหงะและปัตตานี จนกลายเป้นรัฐอิสลามไป ต่อมาในพ.ศ. 1568 อาณาจักรศรีวิชัยได้ตกอยุ่ใต้อำนาจและกลายเป็ฯส่วนหนึ่งของอาณาจักมัชปาหิตของชวาในพ.ศ. 1940 แต่มีหลักฐานจากตำนานเมืองเพชรบุรีว่า อาณาจักรศรีวิชัยได้ล่มสลายไปก่อนหน้านี้แล้ว เพราะตำนานฯระบุว่า ก่อนพระพนมวังจะได้สถาปนาอาณาจักรนครศรีธรรมราชในปี พ.ศ.1830 นครศรีธรรมราช มีสภาพเป็นเมืองร้างมาก่อน (th.wikipedia.org/../อาณาจักรศรีวิชัย.)
อาณาจักรศรีวิชัย เป็นศูนย์กลางทางทะเลซึ่งเจิรญขึ้นมาแทนที่อาณาจักรฟูนัน (ทางบก) ดั้งอยู่ในหมู่เกาะและเข้าควบคุมช่องแคบมะละการและช่องแคบซุนดา ตั้งแต่คริสศตวรรษที่ 6 เป็นศุนย์กลางของเส้นทางการค้าระวห่งจีนและอินเดีย เมืองท่าสำคัญคือ ปาเล็มปังด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ดี ทำให้ศรีวิชัยมีอิทธิพลทางด้านการค้าและการเมืองเหนือดินแดคาบสมุทรมาลายู ฝั่งตะวันออก มีผุ้นำที่เข้มแข็งเป็นนักการทูตที่เฉลียวฉลาด การส่งทูตไปเจริญสัมพันธไมตรีกับจีนในคริตศตวรรษที่ 5-6 เพื่อให้จีนรับรองอำนาจได้สร้างเสถียรภาพทางการเมืองให้กับอาณาจักร ศาสนาพุทธได้เจิรญรุ่งเรืองเป็นอย่างมกในอาณาจักรนี้ ปรากฎหลักฐานในการสร้างเจดีย์บุโรพุทโธในภาคกลางของเกาะชวา อาณาจักรเริ่มเสื่อมลงในคริสศตวรรษที่ 11-13 เนื่องมาจากจีนเดิน
ทางออกมาค้าขายนอกประเทศบ่อยขึ้น จีนเปลี่ยนเมืองท่าในการค้าขายใหม่เช่น ในชวา สุมาตราและอ่าวไทยทำให้เศรษฐกิจของศรีวิชัยตกต่ำลง อีกทั้งยังประสบปัญหาถูกพวกโจละจากตอนใต้ของอินเดียรุกราน สาเหตุสำคัญที่สุดเกิดอาณาจักรใหม่ที่มีความเข้มแข็งทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจขึ้นมาแทนที่ คือ อาณาจักสิงหัสส่าหรี
อาณาจักรสิงหัสสาหรี เป็นอาณาจักรบนเกาะชวาตะวันตก สิงหะส่าหรีเคยยกทัพไปตีศรวิชัยในพุทธศตวรรษที่ 18 อาณาจักรสิงหะส่าหรีอยู่ได้ไม่นานก็ถูกเจ้าชายจายากัตวัง แห่งอาณาจักรเคดีริ โจมตีเมืองหลวงในขณะที่พรเจ้าเอรตานาการ(เกี่ยตินคร)กำลังบูชาพระศิวะ แต่เจ้าชายวิชัย ราชบุตรเขยได้กู้เมืองมาได้แล้วตั้งอาณาจักมัชปาหิต
ขณะที่อาณาจักรศรรีวิชัยเริ่มเสื่อมก็มีอาณาจักรหนึ่งเรืองอำนาจขึ้นมาในบริเวณภาคกลางของเกาะชวา คือ อาณาจัการสิงหัสสาหรี กษัตริย์องค์สำคัญคือ พระเจ้าเกียตินคร พระองค์ทรงได้ขยายอำนาจและอิทธิพลของอาณาจักรไปทั่วเกาะชวา ใช้อำนาจทางทหารและศาสนาจนสามารถควบคุมช่องแคบมะละกาและสามารถขึ้นมาเรืองอำนาจแทนอาณาจักรศรีวิชัยได้ แต่ก็ไม่เป็นผลสำเร็จมากนัก จากการไม่ส่งเครื่องราชบรรณาการไปจีนดังที่เคยกระทำในช่วงต้น ทำให้ในช่วงปลายพวกมองโกลรุกราน อีกทั้งยังเกิดกบฎในเมือง จึงเป็นสาเหตุหลังที่ทำให้อาณาจักรสิงหัสสาหรีต้องเสื่อมลง
อาณาจักรมัชฌปาหิต เป็นอาณาจักรในชวาตะวันออก มีอำนาจกว่า 200 ปี กษัตรย์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคือ ฮะยัม วูรุค ซึ่งเป็นยุคที่รุ่งเรืองที่สุดของอาณาจักแห่งนี้ โดยได้ขยายอำนาจไปทั่วแหลมมลายูตอนใต้บอร์เนียว สุมตรา บาหลีและฟิลิปปินส์ มัชปาหัต เป็นอาณาจักรฮินดูแห่งสุดท้ายในหมู่เกาะมาเลย์ ก่อนนี้มีอาณาจักรศรีวิชัย ซึ่งเชื่อว่ามีที่ตั้งอยู่ในปาเลมบัง บนเกาะสุมาตรา ผู้สถาปนาอาณาจักรมัชปาหิต ก็คือ การ์ตะราชะสา หรือ ระเด่นวิชัย ลูกเขยของกษัตริย์แห่งอาณาจักรสิงหะส่าหรี ซึ่งอยู่บนเกาะชวาเช่นกัน หลังจากสิงหสารีแผ่อำนาจกว้างไกลจนกลุ่มศีวิชัยต้องถอยออกไปจากเกาะชว่า อำนาจอันยิ่งใหญ่ของสิงหสารีก็เป็นที่สนใจแก่กุบไลข่านในจีน ซึ่งได้ส่งทูตมาของเครื่องราชบรรณาการ ในเวลานั้นการ์ตะนคร ผุ้ปกครองอาณาจักรสิหสารีทรงปฏิเสธ กุบไลข่านจึงส่งกองเรือถึง 1,000 ลำมาประชิดชายฝั่งชวาในปี
อาณาจักรมัชฌปาหิต อาณาจักรสุดท้ายในหมู่เกาะอินโดนีเซียถือว่าเป็นตัวแทนของอาฯาจักรสิงหัสส่าหรี ในการดำเนินนโยบาการแผ่ขยายอาณาเขตไปยังเกาะอื่นๆ ในหมู่เกาะอินโดนีเซียเข้าเป็นสมาพันธรัฐ ผุ้ที่มีส่วนสำคัญในการสร้างความเจริญรุ่งเรื่องในแก่อาณาจักหาใช้กษัตริย์ไม่ แต่เป็นเอกอัครมหาเสนาบดี คชา มาดา ผลงานสำคํญเช่นใช้กำลังทางทหารเป็นเครื่องมือในการก่อตั้งจักวรรดิ จัดระเบียบการปกครองภายในเป็นสัดส่วน เสริมความสามารถของหน่วยงานต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพ จัดให้พระบรมวงศานุวงศืทำงานในตำแหน่งต่าางๆ เป็นการลดอำนาจและตัอปัญหาการแย่งชิงอำนาจซึ่งกันแลกัน สำรวจสำมะโนประชากร เพื่อจัดให้เป็นชนชั้น สะดวกแก่การจัดสรรอาชีพ รวบรวมตัวบทกฎหมายโดยดัดแปลงกฎหมายชวาเดิม ผสมผสานกับคำภีร์ธรรมศาสตร์ของอินเดีย สร้างสัมพันธไมตรีทางการค้ากับอาณาจักรใกล้เคียงเช่น อยุธยา พม่า เขมร จามปา เวียดนาม จีน อินเดีย เปอร์เซียร์ ทำให้อาณาจักมัช
ฌปาหิตมีเสถียรภาพทางการเมืองส่งผลให้เศรษฐกิจของมัชฌปาหิต ดี เป็นศูนย์กลางทางการต้าระวห่างตะวันตกกับตะวันออกสินค้าสำคัญคือเครื่องเทศ ไม่หอม งาช้าง ดีบุกฯลฯ เมื่อ คชา มาดา ถึงแก่อนิจกรรม อาณาจักรมัชฌปาหิตก็เสื่องอำนาจลง สาเหตุสำคัญประการหนึ่งคอ การขยายตัวของอาณาจักรอิสลามเข้ามายังหมู่เกาะเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ รัฐเล็กๆ หันไปนับถือศาสนาอิสลามมากขึ้นเพื่อความสะดวกับการค้าขายกับชาติอาหรับและ ต่อต้านอาณาจักมัชฌปาหิต เมื่ออาณาจักมัชฌปาหิจเสือมอำนาจลง หมู่เกาะต่างๆ ก็ตั้งตัวเป็นอิสระ (www;gotoknow
ประเทศอินโดนีเซียมีหมู่เกาะหลัก 5 เกาะคือ อีเรียน, ชวา, กลิมันตัน, สุลาเวสีและสุมตราซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในบรระดาเกาะหลักทั้ง 5 เกาะ แต่ประมาณ 60% ของประชากรกว่า 200 ล้านคน อาศัยอยู่บนเกาะนี้และเป็นที่ตั้งกรุงจาการ์ตาซึ่งเป็นเมืองหลวง หมู่เกาะเหล่านี้อยู่ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างมหสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ชายฝั่งของประเทศอินโดนีเซียยาวประมาณ 2,600 กิโลเมตร และมีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์ตะวันออก
ความแตกต่างของกลุ่มชาติพันธุ์กว่า 300 กลุ่มชาติพันธ์ุและภาษาพื้นเมือง และสำเนียงท้องถิ่นที่แตกต่างกันถึง 742 ภาษา ชาวอินโดนีเซียส่วนมากสืบเชื้อสายมาจากชนเผ่านที่พูดตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ภาษาของแลุ่มชนดังกล่าวสามารถที่จะสืบค้นย้อนไปถึง ภาษาโปรโต-ออสโตรเนเซียน ผุ้ซึ่งอาศัยอยู่บนเกาะปาปัวภาคตะวันออก ของประเทศอินโดนีเซีย ชาวชวา คือ กลุ่มชนเผ่าที่มีจำนวนมากที่สุด ซึ่งมีอยู่ราว 42% ของจำนวนประชากร เป็นกลุ่มชนชั้นนำทางการเมือง และวัฒนธรรมนอกจากนี้ยังมีกลุ่มชนชาติหลักๆ ที่มีจำนวนพอไกับชาวชวา เช่น ชาวซุนดา ชาวมาเล และชาวมาดูราจิตสำนึกของความเป็นชาวอินโดนีเซย จะขนาดควบคู่ไปกับอัตลักษณ์ของท้องถิ่นตนเององย่างเหนียวแน่น ความตึงเครียดทางสังคม ศาสนา และเชื้อชาติ เป็นสิ่งที่เคยกระตุ้นให้เกิดความขัแย้งรุนแรง อันน่่าสะพรึงกลัวมาแล้ว ชาวอินโดนีเซียเชื้อสายจีน เป็นชนกลุ่มน้อยในประเทศ แต่ทรงอิทธิพลอย่างยิ่ง มีจำนวนราว 3-4% ของจำนวนประชากรอินโดนีเซีย
ในปี ค.ศ. 2010 ประเทศอินโดนีเซียมีผู้นับถือศาสนาดังนี้ อิสลาม 87.2% คริสต์ 9.9% ฮินดู 1.7% พุทธ 0.7% ขงจื้อและศาสนาอื่น 0.2% (th.wikipedia.org/../ประเทศอินโดนีเซีย)
อาณาจักรโบราณในหมู่เกาะอินโดนีเซีย ต้นคริสศตวรรษที่ 6 ในขณะที่อาณาจักรฟูนันกำลังเสื่อมลงรัฐต่างๆ ในหมู่เกาะอินโดนีเซยก็มีความเจริญขึ้นมาแทนที่ คือ อทณาจักรที่ยิ่งใหญ่ที่ควรจะกล่าวถึง คอื ศรีวิชัย สิงหัสสาหรี และมัชฌปาหิต ตามลำดับ ทั้ง 3 รัฐ มีอารยธรรมแบบฮินดู-ชวา และพุทธมหายาน
อาณาจักร ศรีวิชัย หรืออาณาจักรศรีโพธิ์ เกิดขึ้นโดยราชวงศ์ไศเลนทร์ ในช่วงที่อาณาจักรฟูนันล่มสลายเป็นอาณาจักรของชาติพันธ์ุมลายูโบราณ มีอาณาเขตครอบุลุมมลายู เกาะชวา เกาะสุมตรา ช่องแคบมะละกา ช่องแคบซุนดา และบริเวณภาคใต้ของประเทศไทยพื้นที่อาณาจักรแบ่งได้สามส่วน คือส่วนของชวาได้แยกตัวออกไปตั้งเป็นอาณาจักรมัชปาหหิต ตอ่มาเมื่ออาณาจักรศรีวิชัยอ่อนแอลง อาณาจักรมัชปาหิตได้ยกทัพเข้ามาตีศรีวิชัย ได้ดินแดนสุมาตราแลบางส่วนของคาบสมุทรมลายูไป และทำให้ศรีวิชัยล่มสลายไปในที่สุด ส่วนพื้นที่คาบสมุทรที่เหลือต่อมมาเชื่อพระวงศ์จากอาณาจักรเพชรบุรีได้เสด็จมาฟื้นฟูและตั้งเป็นอาณาจักรนครศรีธรรมราช
ศ.ยอร์ช เซเดส์ ระบุว่า ศรีวิชัยน่าจสถาปนาในช่วงเวลก่อนปี พ.ศ.1225 เล็กน้อย ขณะที่เสรนีย์อนุชิต ถาวรเศรษฐ เลขานุการคณะอนุกรรมการตรวจสอบหลักฐานอาณาจักรศรีโพธิ์ วุทฒิสภา ระบุว่า อาณาจักรศรีโพธิ์(ศีรวิชัย) สถาปรสขึ้นในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 1202 โดยใช้หลักการทางดาราศาสตร์ฟิสิกส์ ตรวจหาวันที่จากเหตุกาณ์ทางดาราศษสตร์ ที่อ้างอิงถึงในตำนานท้องถ่ินเกี่ยวกับการสถาปนาอาณจักรที่ว่า "หลังเสร็จสิ้นสงครามแย่งช้าง ต่อมาได้เกิดสริยคราสแหวนเพชร ขึ้นในท้องที่ดังกล่าว หลังจากนั้น 7 วัน มหาราชทั้งสอง ได้ทำพิธีบรมราชาภิเษกที่เขาสุวรรณบรรพต แล้วขึ้นครองราชสมบัติ สถาปนาอาณาจักรศรีโพธิ์" ส่วนที่ตั้งศูนย์กลางอาณาจัร มีการถกเถียงกันจนปัจจุบันก็ยังไม่ได้ข้อสรุป แต่มีสองแนวคิดที่เชื่อถือกันอยู่ คือ คู่เมือง ไชยา-สุราษฎร์ธานี และที่เมืองเปเล็มบังขสุมาตรา ทั้งหนี้เพราะมีหลักฐานจารึกชัดเจนว่า ปี พ.ศ. 1369 พรเจ้าศรีพลบุตร(ครองชวากลาง)พระนัดดาในพระเจ้าศรีสงครามธนัญชัย(ครองทั้งศรีวิชัยและชวากลาง)ยกทัพจากชวากลางมาตีศรีวิชัย จากพระใหญ่(พระนัดดาอีกสายของพระเจ้าศรีสงครามฯ ที่ครองศรีวิชัย)แล้วชิงได้ราชสมบัติไป แนวความคิดเรือ่งชวากลาง(สถานที่ประดิษฐานเจดีย์บุโรพุทโธ) เป็นศูนย์กลางจึงตกไป
มีการพบศิลาจารึกภาษามลายูโบราณเกี่ยวกับอาณาจักรศรีวิชัยนี้ ทั้งที่สุมาตรา และที่วัดเสนาเมืองจังหวัดนครศรีธรรมราชและพบศิลาจารึกภาษาสันสกฤตเมืองไชยา ระบุว่าศรีวิชัยเป็นเมืองท่าค้าพริก ดีปลีและพริกไทยเม็ด โดยมีต้นหมากและต้นมะพร้าวจำนวนมาก
หลวงจีนอี้จิง เคยยเดินทางจากเมืองกวางตุ้งประเทศจีน โดยเรือของพวกอาหรับ ผ่านฟูนันมาพักที่อาณาจักรศรีวิชัยในเดือน 11 พ.ศ. 1214 เป็นเวลา 2 เดือน ก่อนที่จะเดินทางต่อผ่านเมืองไทรบุรีผ่านหมู่เกาะคนเปลือยนิโคบร์ ถึงเมืองท่า
อาณาจักรศรีวิชัย เป็นศูนย์กลางทางทะเลซึ่งเจิรญขึ้นมาแทนที่อาณาจักรฟูนัน (ทางบก) ดั้งอยู่ในหมู่เกาะและเข้าควบคุมช่องแคบมะละการและช่องแคบซุนดา ตั้งแต่คริสศตวรรษที่ 6 เป็นศุนย์กลางของเส้นทางการค้าระวห่งจีนและอินเดีย เมืองท่าสำคัญคือ ปาเล็มปังด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ดี ทำให้ศรีวิชัยมีอิทธิพลทางด้านการค้าและการเมืองเหนือดินแดคาบสมุทรมาลายู ฝั่งตะวันออก มีผุ้นำที่เข้มแข็งเป็นนักการทูตที่เฉลียวฉลาด การส่งทูตไปเจริญสัมพันธไมตรีกับจีนในคริตศตวรรษที่ 5-6 เพื่อให้จีนรับรองอำนาจได้สร้างเสถียรภาพทางการเมืองให้กับอาณาจักร ศาสนาพุทธได้เจิรญรุ่งเรืองเป็นอย่างมกในอาณาจักรนี้ ปรากฎหลักฐานในการสร้างเจดีย์บุโรพุทโธในภาคกลางของเกาะชวา อาณาจักรเริ่มเสื่อมลงในคริสศตวรรษที่ 11-13 เนื่องมาจากจีนเดิน
ทางออกมาค้าขายนอกประเทศบ่อยขึ้น จีนเปลี่ยนเมืองท่าในการค้าขายใหม่เช่น ในชวา สุมาตราและอ่าวไทยทำให้เศรษฐกิจของศรีวิชัยตกต่ำลง อีกทั้งยังประสบปัญหาถูกพวกโจละจากตอนใต้ของอินเดียรุกราน สาเหตุสำคัญที่สุดเกิดอาณาจักรใหม่ที่มีความเข้มแข็งทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจขึ้นมาแทนที่ คือ อาณาจักสิงหัสส่าหรี
อาณาจักรสิงหัสสาหรี เป็นอาณาจักรบนเกาะชวาตะวันตก สิงหะส่าหรีเคยยกทัพไปตีศรวิชัยในพุทธศตวรรษที่ 18 อาณาจักรสิงหะส่าหรีอยู่ได้ไม่นานก็ถูกเจ้าชายจายากัตวัง แห่งอาณาจักรเคดีริ โจมตีเมืองหลวงในขณะที่พรเจ้าเอรตานาการ(เกี่ยตินคร)กำลังบูชาพระศิวะ แต่เจ้าชายวิชัย ราชบุตรเขยได้กู้เมืองมาได้แล้วตั้งอาณาจักมัชปาหิต
ขณะที่อาณาจักรศรรีวิชัยเริ่มเสื่อมก็มีอาณาจักรหนึ่งเรืองอำนาจขึ้นมาในบริเวณภาคกลางของเกาะชวา คือ อาณาจัการสิงหัสสาหรี กษัตริย์องค์สำคัญคือ พระเจ้าเกียตินคร พระองค์ทรงได้ขยายอำนาจและอิทธิพลของอาณาจักรไปทั่วเกาะชวา ใช้อำนาจทางทหารและศาสนาจนสามารถควบคุมช่องแคบมะละกาและสามารถขึ้นมาเรืองอำนาจแทนอาณาจักรศรีวิชัยได้ แต่ก็ไม่เป็นผลสำเร็จมากนัก จากการไม่ส่งเครื่องราชบรรณาการไปจีนดังที่เคยกระทำในช่วงต้น ทำให้ในช่วงปลายพวกมองโกลรุกราน อีกทั้งยังเกิดกบฎในเมือง จึงเป็นสาเหตุหลังที่ทำให้อาณาจักรสิงหัสสาหรีต้องเสื่อมลง
อาณาจักรมัชฌปาหิต เป็นอาณาจักรในชวาตะวันออก มีอำนาจกว่า 200 ปี กษัตรย์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคือ ฮะยัม วูรุค ซึ่งเป็นยุคที่รุ่งเรืองที่สุดของอาณาจักแห่งนี้ โดยได้ขยายอำนาจไปทั่วแหลมมลายูตอนใต้บอร์เนียว สุมตรา บาหลีและฟิลิปปินส์ มัชปาหัต เป็นอาณาจักรฮินดูแห่งสุดท้ายในหมู่เกาะมาเลย์ ก่อนนี้มีอาณาจักรศรีวิชัย ซึ่งเชื่อว่ามีที่ตั้งอยู่ในปาเลมบัง บนเกาะสุมาตรา ผู้สถาปนาอาณาจักรมัชปาหิต ก็คือ การ์ตะราชะสา หรือ ระเด่นวิชัย ลูกเขยของกษัตริย์แห่งอาณาจักรสิงหะส่าหรี ซึ่งอยู่บนเกาะชวาเช่นกัน หลังจากสิงหสารีแผ่อำนาจกว้างไกลจนกลุ่มศีวิชัยต้องถอยออกไปจากเกาะชว่า อำนาจอันยิ่งใหญ่ของสิงหสารีก็เป็นที่สนใจแก่กุบไลข่านในจีน ซึ่งได้ส่งทูตมาของเครื่องราชบรรณาการ ในเวลานั้นการ์ตะนคร ผุ้ปกครองอาณาจักรสิหสารีทรงปฏิเสธ กุบไลข่านจึงส่งกองเรือถึง 1,000 ลำมาประชิดชายฝั่งชวาในปี
อาณาจักรมัชฌปาหิต อาณาจักรสุดท้ายในหมู่เกาะอินโดนีเซียถือว่าเป็นตัวแทนของอาฯาจักรสิงหัสส่าหรี ในการดำเนินนโยบาการแผ่ขยายอาณาเขตไปยังเกาะอื่นๆ ในหมู่เกาะอินโดนีเซียเข้าเป็นสมาพันธรัฐ ผุ้ที่มีส่วนสำคัญในการสร้างความเจริญรุ่งเรื่องในแก่อาณาจักหาใช้กษัตริย์ไม่ แต่เป็นเอกอัครมหาเสนาบดี คชา มาดา ผลงานสำคํญเช่นใช้กำลังทางทหารเป็นเครื่องมือในการก่อตั้งจักวรรดิ จัดระเบียบการปกครองภายในเป็นสัดส่วน เสริมความสามารถของหน่วยงานต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพ จัดให้พระบรมวงศานุวงศืทำงานในตำแหน่งต่าางๆ เป็นการลดอำนาจและตัอปัญหาการแย่งชิงอำนาจซึ่งกันแลกัน สำรวจสำมะโนประชากร เพื่อจัดให้เป็นชนชั้น สะดวกแก่การจัดสรรอาชีพ รวบรวมตัวบทกฎหมายโดยดัดแปลงกฎหมายชวาเดิม ผสมผสานกับคำภีร์ธรรมศาสตร์ของอินเดีย สร้างสัมพันธไมตรีทางการค้ากับอาณาจักรใกล้เคียงเช่น อยุธยา พม่า เขมร จามปา เวียดนาม จีน อินเดีย เปอร์เซียร์ ทำให้อาณาจักมัช
ฌปาหิตมีเสถียรภาพทางการเมืองส่งผลให้เศรษฐกิจของมัชฌปาหิต ดี เป็นศูนย์กลางทางการต้าระวห่างตะวันตกกับตะวันออกสินค้าสำคัญคือเครื่องเทศ ไม่หอม งาช้าง ดีบุกฯลฯ เมื่อ คชา มาดา ถึงแก่อนิจกรรม อาณาจักรมัชฌปาหิตก็เสื่องอำนาจลง สาเหตุสำคัญประการหนึ่งคอ การขยายตัวของอาณาจักรอิสลามเข้ามายังหมู่เกาะเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ รัฐเล็กๆ หันไปนับถือศาสนาอิสลามมากขึ้นเพื่อความสะดวกับการค้าขายกับชาติอาหรับและ ต่อต้านอาณาจักมัชฌปาหิต เมื่ออาณาจักมัชฌปาหิจเสือมอำนาจลง หมู่เกาะต่างๆ ก็ตั้งตัวเป็นอิสระ (www;gotoknow
วันจันทร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
Sleeping giant of ASIA
อินโดนีเซีย หรือชือทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลกตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลียและระว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิกมีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมนตัน ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกีนีหรือดีเรียนและประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์
การขนส่งในอินโดนีเซียมีกระจายในเกาะว่า 1,000 แห่งของประเทศแต่เกาะที่มีปริมาษณการขน่งที่หนาแน่นที่สุดคือเกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย มีการขนส่งครบทุกรูปแบบโดยที่มีมากที่สุดคือ ถนน มีครอบคลุมทั้งทั้งประเทศกว่า 440,000กิโลเมตร ในปี ค.ศ. 2008 ส่วนการขน่งระบบรางมีเฉพาะในเกาะชวาและเกาะสุมาตรา การขนส่งทางทะเลเนืองจากเป็นประเทศหมู่เกาะจึงเป็นศูนย์การขนส่งทางทะเลที่สำคัญแห่งหนึ่งโดยในแต่ละเกาะจะมีเมืองท่าอย่างน้อย 1 แห่ง ส่วนการขนส่งทางแม่น้ำ พบได้ในสุมาตราตะวันออกและกาลีมันตัน และการขนส่งทางอากาศมีสายการบินให้บริการมากมาย และมีท่าอากาศยานครอบคลุมทั่วประเทศ
เนื่องจากประเทศอินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะขนาดใหญ่ จึงมีการขนส่งทางเรือในเกือบทุกส่วนของประเทศ ส่วนใหญ่มักจะเป็นเรือบรรจุกล่องสินค้ากับเรือขนส่งผู้โดยสาร เรือที่เป็นที่รู้จักกันมากที่สุด คือ เรือปีนีซีแบบดั้งเดิม ทำด้วยไม้มักใช้ในการขนส่งสินค้าระหว่างปมู่เกาะสำคัญต่างๆ มีท่าเรือที่สำคัญได้แก่ ท่าเรือซุนดาเกอลาปาในจากาตาร์และท่าเรือ ปาโอเตเรในมากัสซาร์
เรือข้ามฟากมีให้บริการตามเกาะหลักต่างๆ มักเดินเรือในระยะสั้งระหว่างเกาะสุมตรา เกาะชวา และเกาะบาหลี เรือข้ามฟากมีให้บริการตลอดวันนอกจากนั้มเรือข้ามฟากระหวา่งประเทศไปยังมาเลเซีย(ช่องแคบมะละกา)และสิงคโปร์อีกด้วย นอกจากนี้ยังมีเรือขนส่งผุ้โดยสารไปยังพื้นที่ห่างไกลโดยเฉพาะหมู่เกาะทางตะวันออกของประเทศ คือเรือเป็ลนีใช้เวลาในการเดินทางประมาณ 2-4 สัปดาห์ ในบางเกาะ ใช้แม่น้ำเป็นทางสัญจรหลัก เช่น ภูมิภาค กาลีมันตัน มีเรือยาวให้บริการตามแม่น้ำ เป็นต้น
การขนส่งทางน้ำ อินโดนีเซียมีทางน้ำที่ใช้สัญจรได้ถึง 21,579 กิโลเมตร(ข้ทมูลปี ค.ศ.2005 ซึ่งครึ่งหนึ่งอยู่ในภูมิภาคกาลีมันตัน และอีกครึ่งหนึ่งอยู่บนเกาะสุมตราและเกาปาปัว ทางน้ำเป็นทางสัญจรหลักของผุ้คนบนเกาะกาลีมันตันและเกาะปาปัวซึ่งมีระบบถนนที่ยังไม่ค่อยดีนัก ต่างจากเกาะชวาและเกาะสุมาตราซึ่งเป็นเกาะที่มีำารพัฒนาสูงประเทศอินโดนีเซียติดอันดับที่ 7 ในด้านประเทศที่มีทางน้ำยาวที่สุดในโลก เมืองท่าที่สำคัญได้แก่ เมืองจีลสัป,จีเรอบน, จาการ์ตา, กูปัง, ปาเล็มบัง, เซอมารัง, ซูราบายาและมากัสซาร์ ท่าเรือส่วนใหญ่ดำเนินงานโดยบริษัทการท่าเรืออินโดนีเซีย ซึ่งจะแบ่งการบริหารเป็น 4 ส่วนโดยเริ่มจากส่วนที่ 1 ทางภาคตะวันตกไปจนถึงส่วนที่ 4 ทางภาคตะวันออก
การขนส่งทางถนน การขนส่งทางบก มียานพาหนะที่หลากหลายมากมาย รถโดยสารประจำทางส่วนใหญ่มีให้บริการบนเกาะสุมาตรา เกาะชวา เกาะบาหลี บางสายให้บริการแบบรถด่วน ไม่หยุดรับ
ส่งผู้โดยสารจนกว่าจะถึงสถานีปลายทาง ส่วนรถมินิบัส มีให้บริการระว่างหมู่บ้านหรือเมืองเล็กๆ เท่านั้น ในเมืองใหญ่ๆ หลายแห่งมีรถแท็กซี่วิ่งให้บริการโดยเฉพาะในจาการ์ตาจะมีรถโดยสารประจำทางของโกปาจาและรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ ทรานส์จากการ์ตา ยานพาหนะอื่นๆ อาทิเช่น รถตุ๊กตุ๊ก(บาจัจ), รถสามล้อ(เบอจะก์) ถูกห้ามในพื้นที่ส่วนใหญ่ของจาการ์ตา
ประเทศอินโดนีเซีย เป้นหนึ่งในประเทศที่มีการจราจรติดขัดที่สุดในโลก โดยเฉพาะในจากการ์ตาซึ่งขึ้นชื่อเรือ่งการจราจรติดขัดที่สุด เนื่องจากมีปริมาณรถยนต์ท่ใช้งานมากกว่าปริมาถนนที่มีอยู่ ทางหลวงสายหลักของประเทศ ได้แก่ ทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงสายทรานส์ - สุมาตรา อินโดฯ มีถนนลาดยางสองแสนกว่ากิโลเมตร ส่วนที่เหลืออีกราวหนึ่งแสนห้าหมื่นกิโลเมตรไม่ได้ลาดยาง(สถิติปี ค.ศ. 2002)
อินโดนีเซียมีทางหลวงอยู่หลายสาย ส่วนใกญ่จะเป็ฯทางหลวงแผ่นดินซึ่งมีอยู่ทั่วไปบนเกาะชวา เกาะสุมาตรา และบางส่วนเป็นทางพิเศษซึ่งทางพิเศษที่มีกรเก็บค่าผ่านทางแพงที่สุด คือ ทางพิเศษจีปูลารัง ซึ่งเชื่อมระหว่าง จากการ์ตา-บันดุง ส่วนระบบขนส่งและจราจรอัจฉริยะ(ITS) ถูกนำมาใช้งานครั้งแรกปี 2012
การขนส่งทางราง โครงข่ายรถไฟส่วนใหญ่จะอยู่บนเกาะชวา โดยบนเกาะชวา จะมีทางรถไฟสายหลักอยู่ 2 สาย และสายย่อยอีกหลายสาย มีให้บริการทั้งรถไฟโดยสารและรถไๆฟสินค้านอกจากนี้ยังมีรถไฟชานเมืองวิ่งให้บริการในเขตกรุงจากการ์๖า เรียกว่า เคอาร์แอล จาโบตาเบะก์ และอีกเมืองคือซูราบายา ในปี ค.ศ. 2008 รัฐบาลมีโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าเชื่อมท่า
อากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตะ แต่ยังไม่มีความคืบหน้าของโครงการจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ เคยมีโครงการรถไฟฟ้ารางเดี่ยวในจากการ์ตา แต่ถูกำยกเลิกในปี ค.ศ. 2004 และได้รับการฟื้นฟูอีกครั้งใสเดือนตุลาคม พ.ศ. 2013 มีกำหนดเปิดให้บริการในช่วงปี ค.ศ. 2010-2017 ส่วนการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนจากการ์ตากำลังก่อสรน้างและจะเปิดให้บริการในปี ค.ศ.2018 ส่วนบนเกาะสุมาตราแบ่งโครงข่ายรถไฟเป็น 3 ส่วนได้แก่ สุมาตราเหนือ : รอบเมืองเมตัน สุมตราตะวันตก จากเมืองปาเรียมัน ไปยังปาดัง สุมตราและลัมปุง จากเมืองลูบุก์ลิงเกาไปยังบันดาร์ลัมปุง สายรถไฟล่าสุดของเกาะสุมาตรา คือ รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานนานาชาติกัวลานามู เขตเมืองเมดันเร่ิมให้บริการในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2013 ใช้เวลาในการเดินทาง 45 นาที ส่วนบนเกาะกาลีมันตัน มีทางรถไฟขชนถ่านหิน ระยะทาง 122 กิโลเมตร
การขนส่งทางอากาศ การขนส่งทางอกาศในอินโดนีเซยมีอยู่ค่อนข้างมาก เรพาะใช้เชื่อมต่อระหว่างเกาะต่างๆ พันเกาะของอินโดนีเซย ช่วงปี ค.ศ. 2009-2013 มีผุ้โดยสารใช้บริการขนส่งทางอากาศเพิ่มขึ้นร้อยละ 43 โดยเพิ่มจากห้าสิบเก้าล้านคนเป็นแปดสิบห้าล้านคน
ท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตาของจาการ์ตา เป็นสนามบินที่มีความสำคัญมากที่สุดในประเทศ แต่อย่างไรก็ตาม สนามบินส่วนใหญ่ของอินโดนีเซียบังอยู่ในสภาพที่ไม่ค่อยจะดีนัก ทำให้เป็นหนึ่งในประเทศที่มีความปลอดภัยด้านอากาศยานที่น้อยที่สุด อนึ่งประเทศอินโดนีเซียมีสนามบินทั้งหมด 676 แห่ง(ค.ศ.2012)...
(th.wikipedia.org/../การขนส่งในประเทศอินโดนีเซีย)
ประเทศอินโดนีเซียมีประชากร 250 ล้านคน มากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก รองจาก จีน อินเดียและสหรัฐอเมริกา แต่เศรษฐกิจของประเทศอินโดนีเซียมีขนาดใหย๋เป็นอันดับที่ 16 ของโลก จึงได้รับสมญานามว่า "ยักษ์หลับของเอเชีย" ด้วยที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ความเชื่อมโยงที่เข้มแข็.กับจีน และสถานะการประเทศผุ้ผลิตสินค้าอุปโภคบริโภค อินโดนีเซียถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มประเทศที่มีศักยภาพการพัฒนาใน 20 ปี ข้างหน้าที่เรียกว่า MINT ประกอบด้วยเม็กซิโก อินโดนิเซีย ไนจีเรีย และตุรกี ทั้งนี การไปสู่ศักยภาพดังกล่าว จำเป็นต้องพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานใหม่ๆ เป็นอันมาก
กรุงจาร์กาตาของประเทศอินโดนีเซียเป็นเมืองที่มีความแตกต่างหลากหลายโดยมีทั้งรีสอร์ทริมชายหาดอันหรูหราและย่านพักอาศัยที่ยากจนการเกินทางในจาการ์ตาเป็นเรื่องมี่ไม่สะดวกเนื่องจากปัญหาการจราจรติดขัดตลอดทั้งวันมลพิษทางอากาศและสภาพอากาศที่ร้อนตลอดจนอันตรายในการเดินข้ามถนนจาการ์ตามีประชกร 26 ล้านคน และมีการเติบโตขชองชนชัันกลางอย่างรวดเร็ว แต่ยังขาดระบบขนส่งมวลชนขนาดใกญ่แม้ว่ามีโครงข่ายรถไฟชานเมืองที่กว้างขวาง แต่การเชื่อมต่อระบบและการเข้าถึงยังขาดประสิทธิภาพ รถโดยสารประจำทางบางเส้นทางมีช่องทางพิเศษแต่ก็ยังได้รับผลกระทบจากปัญหาจราจร ประชาชนจำนวนมากจึงต้องเดินทางด้วยความยากลำบากหากไม่มีรถจักรยานยนต์และรถยนต์ส่วนบุคคล
สาถการณ์การขนส่งในกรุงจาการ์ตาได้ส่งผลกระทบต่อพื้นที่ที่เหลือของเกาะชวาซึ่งมีประชากรกว่า 135 ล้านคนและมีผลผลิตทางเศรษฐกิจคิดเป็นร้อยละ 60 ของประเทศแต่โครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งยังไม่เพียงพอกับความต้องการอย่างมาก เมืองใหญ่อื่นๆ ได้แก่ บันดุง เซมารัง และสุราบายา ล้วนประสบกับปัญหาการจราจรติดขัดในขณะที่โครงข่ารถไฟระหว่างเมืองยังมีข้อจำกัด โดยยังเป็นรถไฟทางเดี่ยว มีขบงวนรถและระบบอาณัติสัญญาณที่ล้าใาัย มีเพียงถนนหลัก 2 สายที่เป็นเส้นทางขนส่งสำคัญของเกาะชวา การขาดแคลนโครงสร้างพื้นฐานส่งผลให้ต้นทุนด้านโลจิสติกส์เพิ่มสูงเป็นร้อยละ17 และส่งผลต่อราคาสินค้าภายในประเทศเพิ่มสูงขึ้น ในขะที่ประเทศพัฒนาแล้วมีต้นทุนโลจิสติกส์เพียงร้อยละ 10 อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจในปัจจุบันของประเทศอินโดนีเซียอยู่ที่ร้อยละ 6-6.5 แต่นักเศรษฐศาสตร์คาดการณ์ว่าสาถมารถเติบโตได้ถึงร้อยละ 7-9 หากโครงสร้างพื้นฐานได้รับการพัฒนาให้ดีขึ้น ที่ผ่านมารัฐบาลได้ลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานประมาณร้อยละ 8 ของผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายในประเทศ แต่หลังจากสภาวะเศรษฐกิจถอถอยของเอเซียทำให้การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานลดลง โดยเหลือเพียงร้อยละ 2.1 ในปี 2011
ปีต่อมาการลงทุนได้เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 4 ของ GDP และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นจากการริเริ่มแผนพัฒนาประเทศระยะกลาว วงเงิน 150,000 ล้านเหรียญสหรัฐ ปัจจุบันอยู่ในระหว่างการพัฒนาตามแผนแม่บทการเร่งรัดและขยายการพัฒนาเศรษฐกิจของอินโดนีเซีย วงเงิน 468,000 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยมีเป้าหมายเพิ่ม GDP เป็น 4.5 ล้านล้านเหรียญสหรัฐภายในปี ค.ศ. 2025 และอินโดนีเซียจะต้องติดอันดับ 1 ใน 10 ประเทศชั้นนำทางเศรษฐกิจของโลก
ภายใต้แผนพัฒนาแม่บทดังกล่าวมีโครงการสำคัญ ได้แก่ โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมาขนส่งจำนวน 75,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือกว่า 2.32 ล้านล้านบาทไทย ซึ่งได้รวมโครงการพัฒนารถไฟในเกาะต่างๆ ภายในระยะเวลา 11 ปี รวม 49 โครงการ วงเงิน 47,200 ล้านเหรียญสหรัฐ(ประมาณ 1.46 ล้านล้านบาท)ไว้ด้วย
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของอินโดนีเซียกล่าวว่า ในปี 2557 งบประมาณสำหรับรถไฟจะมีจำนวนสูงที่สุดในกระทรวงคมนาคมเพื่อปรับเปลี่ยนรูปแบบการขนส่งจากทางถนนมาเป็นระบบราง ที่ผ่านมานโยบายการขนส่งมุ่งเน้นการพัฒนาทางถนนส่งผลให้ปัจจุบันต้องประสบปัญหาจราจรติดขัดบนทางหลวงสายหลักของอินโดนีเซียแนวทางนี้จะเป็นการแก้ปัญหาทั้งการเดินทางของผู้โดยสารและการขนส่งสินค้าวิสัยทัศน์ของอินโดนีเซียคือการมีโครงข่ายรถไฟเพื่อเป็นเส้นทางหลักสำหรับการขนส่งผุ้โดยสารและการขนส่งสินค้า
ขั้นตอนหลักในการบรรลุเป้าหมายดังกล่าวเริ่มต้นจากการเปิดให้บริการรถไฟรางคู่ช่วงกรุงจาการ์ตา-สุราบายาระยะทาง 727 กิโลเมตร (มีนาคม 2557 รวมทั้งก่อสร้างรถไฟรางคู่เส้นทางใหม่ ระยะทาง 465.5 กิโลเมตร ให้แล้วเสร็จ ซึ่งคาดการณ์ว่าจะเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งระหว่าง 2 เมืองที่ใหญ่ที่สุดของเกาะชวาได้มากกว่าร้อยละ 300 โดยปัจจุบันการขนส่งทางถนนระหว่างกรุงจากการ์ตากับสุราบายามีปริมาณ 2 ล้าน TEU ต่อปี อินโดนีเซยจึงต้องการปรับเปลี่ยนรูปแบบการขนส่งมาใช้ระบบราง โดยมีเป้าหมาย 1 ล้าน TEU ต่อปี ปัจจุบันรถไฟอินโดนีเซียมีประมาณการขนส่งสินค้าเพียง 200,000 TEU ต่อปี ในเดือน ธันว่าคม 2556 การรถไฟอินโดนีเซียได้ดำเนินการก่อสร้างรถไฟรางคู่ ช่วงเปกาลองกัน-เซมารับ และ้วเสร็จ และคาการณ์ว่าโครงการนี้จะช่วยเพิ่มสัดส่วนการขนส่งทางรถไฟจากร้อยละ เป็นร้อยละ 15 ของการขนส่งสินค้าทั้งหมดภายในปี 2573 การดึงดูดให้มีการขนส่งทางรถไฟเพิ่มขึ้นจะเกิดจากการ
เชื่อมต่อโครงข่ายเข้าท่าเรือในกรุงจากการ์ตา ซีเรบอน เซมารัง และสุราบายา โครงการรถไฟเป็นหนึ่งในโครงการสำคัญที่บรรจุในแผนแม่บทฯ การลงทุนดังกล่าวรัฐบาลอินโดนีเซียไม่ได้หวังผลตอบแทนทางการเงิน ในการลงทุนเกี่ยวกับรถไฟนอกจากทางรถไฟ จะมีการปรับปรุงให้เป็นระบบรถไฟฟ้าและปรับปรุงสถานี ทั้งนี้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของอินโดนีเซียระบุว่า ดครงการรถไฟมีความสำคัญในทุกพื้นที่แม้จะเป็นพื้นที่ที่มีประมาณจราจรไม่มากนัก เนื่องจากรัฐจำเป็นต้องเชื่อมโยงพื้นที่ดังกล่าวกับพื้นที่อื่นๆ ที่มีความเจริญมากกว่า การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานสำคัญในอินโดนีเซียจะดำเนินการโดยภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจแต่ก็มีการเปิดให้รัฐบาลท้องถิ่นร่วมลงทุนกับรัฐบาลกลางภาคเอกชนจะเข้ามารมีบทบาทในการดำเนินการหรือให้บริการจากโครงสร้างพื้นฐานที่รัฐพัฒนาขึ้นด้วยข้อจำกัดด้านวบประมาณในอดีตที่ผ่านมารัฐบาลอินโดนีเซียใช้ความระมัดระวังมากในการค้ำประกันเงินกู้สำหรับการดำเนินโครงการการที่ภาครัฐไม่พิจารณาบริหารความเสี่ยงเป็นรายโครงการและการไม่ให้ความคุ้มครองหรือให้การสนับสนุนในทำนองเดียวกันกับที่รัฐบาลประเทศอื่นทำให้นักลงทุนภาคเอกชนปฏิเสธหรือชะลอการลงทุนออกไปดังนั้นในการพัฒนาตามแผนแม่บทฯ
นอกจากการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานของภาครัฐ รัฐบาลอินโดนีเซียได้ริเริ่มการส่งเสริมเอกชนร่วมลงทุนในโครงการรถไฟ 3 วิธีการ ดังนี้
- การร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐกับเอกชนในรูปแบบสัมปทาน เป็นรูปแบบที่ภาครัฐจัดให้มีทางรถไฟและเปิดให้ภาคเอกชนเข้ามาให้บริการเดินรถ โดยมีการให้สัมปทานการให้บริการขนส่งมวลชนซึ่งมีเงื่อนไขในการแข่งขันว่าผู้เสนอราคาที่ขอรับการสนับสนุนจากภาครัฐน้อยที่สุดจะได้รับการคัดเลือกในรูปแบบนี้ภาครัฐจะให้สนับสนุนทางการเงิน 2 ประเภทคือ กระทรวงการคลังให้การสนับสนุนผ่านกองทุน โดยจะนำเงินในกองทุนมาชดเชยส่วนที่เอกขนต้องขาดทุนจากการควบคุมราคาค่าโดยสารทำให้การดำเนินการไม่คุ้มค่าในเชิงพาณิชย์และรัฐบาบค้ำประกันเงินกู้ผ่านกองทุนค้ำประกันโครงสร้างพื้นฐานของอินโดนีเซีย สำหรับโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากแหล่งเงินทุนภาคเอกชนภายในประเทศและต่างประเทศ
- การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ หรือเขตการต้าเสรี ซึ่งมีการจูงใจทางภาษีสำหรับการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานของภาคเอกชนใพื้นที่ที่กำหนด โดยมีการบังคับใช้มาตรการทางกฎหมายที่ผ่นปรนมากกว่าพื้นที่อื่นๆ และการให้ความสะดวกเป็นกรณีพิเศษในการออกใบอนุญาตต่างๆ ผ่านหน่วยงานบริหาร
- การออกใบอนุญาตสำหรับโครงการโครงสร้างพื้นฐานของภาคเอกชนที่มีวัตถุประสงค์พิเศษ บริษัทเอกชนจะได้รับอนุญาตให้พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานโดยใช้งบประมาณของตัวเองโดยต้องดำเนนินการตามาตรฐานด้านความปลอดภัยและด้านความมั่นคงที่รัฐกำหนดวิธีนี้จะดึงดูดบริษัทที่มีปริมาณการขนส่งสินค้าปริมาณมากระหว่างแหลงผลิตและแหล่งบริโภคเช่นในกิจการเหมืองแร่ การดำเนินงานตามแผนแม่บทฯ จะเน้นการลงทุนซึ่งจะส่งผลต่อภาคอุตสาหกรรมภายใประเทศ ตัวอย่างเช่น มีการระบุว่าร้อยละ 85 ของผลผลิตของโครงการก่อสร้างต้องใช้วัสดุภายในประเทศ หรือร้อยละ 90 ต้องจัดซื้อจัดจ้างจากบริษัทเอกชนภายในประเทศ อย่างไรก็ตาม ในบางโครงการก็ได้เปิดให้ใช้ความเชี่ยวชาญจากต่างประเทศด้วย (มติชนออนไลน์. "หัวร่อมิได้ ร่ำให้มิออก! ประเทศไทยคว่ำ 2ล้านล้าน อินโดฯเดินหน้า 14 ล้านล้าน.)
การขนส่งในอินโดนีเซียมีกระจายในเกาะว่า 1,000 แห่งของประเทศแต่เกาะที่มีปริมาษณการขน่งที่หนาแน่นที่สุดคือเกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย มีการขนส่งครบทุกรูปแบบโดยที่มีมากที่สุดคือ ถนน มีครอบคลุมทั้งทั้งประเทศกว่า 440,000กิโลเมตร ในปี ค.ศ. 2008 ส่วนการขน่งระบบรางมีเฉพาะในเกาะชวาและเกาะสุมาตรา การขนส่งทางทะเลเนืองจากเป็นประเทศหมู่เกาะจึงเป็นศูนย์การขนส่งทางทะเลที่สำคัญแห่งหนึ่งโดยในแต่ละเกาะจะมีเมืองท่าอย่างน้อย 1 แห่ง ส่วนการขนส่งทางแม่น้ำ พบได้ในสุมาตราตะวันออกและกาลีมันตัน และการขนส่งทางอากาศมีสายการบินให้บริการมากมาย และมีท่าอากาศยานครอบคลุมทั่วประเทศ
เนื่องจากประเทศอินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะขนาดใหญ่ จึงมีการขนส่งทางเรือในเกือบทุกส่วนของประเทศ ส่วนใหญ่มักจะเป็นเรือบรรจุกล่องสินค้ากับเรือขนส่งผู้โดยสาร เรือที่เป็นที่รู้จักกันมากที่สุด คือ เรือปีนีซีแบบดั้งเดิม ทำด้วยไม้มักใช้ในการขนส่งสินค้าระหว่างปมู่เกาะสำคัญต่างๆ มีท่าเรือที่สำคัญได้แก่ ท่าเรือซุนดาเกอลาปาในจากาตาร์และท่าเรือ ปาโอเตเรในมากัสซาร์
เรือข้ามฟากมีให้บริการตามเกาะหลักต่างๆ มักเดินเรือในระยะสั้งระหว่างเกาะสุมตรา เกาะชวา และเกาะบาหลี เรือข้ามฟากมีให้บริการตลอดวันนอกจากนั้มเรือข้ามฟากระหวา่งประเทศไปยังมาเลเซีย(ช่องแคบมะละกา)และสิงคโปร์อีกด้วย นอกจากนี้ยังมีเรือขนส่งผุ้โดยสารไปยังพื้นที่ห่างไกลโดยเฉพาะหมู่เกาะทางตะวันออกของประเทศ คือเรือเป็ลนีใช้เวลาในการเดินทางประมาณ 2-4 สัปดาห์ ในบางเกาะ ใช้แม่น้ำเป็นทางสัญจรหลัก เช่น ภูมิภาค กาลีมันตัน มีเรือยาวให้บริการตามแม่น้ำ เป็นต้น
การขนส่งทางน้ำ อินโดนีเซียมีทางน้ำที่ใช้สัญจรได้ถึง 21,579 กิโลเมตร(ข้ทมูลปี ค.ศ.2005 ซึ่งครึ่งหนึ่งอยู่ในภูมิภาคกาลีมันตัน และอีกครึ่งหนึ่งอยู่บนเกาะสุมตราและเกาปาปัว ทางน้ำเป็นทางสัญจรหลักของผุ้คนบนเกาะกาลีมันตันและเกาะปาปัวซึ่งมีระบบถนนที่ยังไม่ค่อยดีนัก ต่างจากเกาะชวาและเกาะสุมาตราซึ่งเป็นเกาะที่มีำารพัฒนาสูงประเทศอินโดนีเซียติดอันดับที่ 7 ในด้านประเทศที่มีทางน้ำยาวที่สุดในโลก เมืองท่าที่สำคัญได้แก่ เมืองจีลสัป,จีเรอบน, จาการ์ตา, กูปัง, ปาเล็มบัง, เซอมารัง, ซูราบายาและมากัสซาร์ ท่าเรือส่วนใหญ่ดำเนินงานโดยบริษัทการท่าเรืออินโดนีเซีย ซึ่งจะแบ่งการบริหารเป็น 4 ส่วนโดยเริ่มจากส่วนที่ 1 ทางภาคตะวันตกไปจนถึงส่วนที่ 4 ทางภาคตะวันออก
การขนส่งทางถนน การขนส่งทางบก มียานพาหนะที่หลากหลายมากมาย รถโดยสารประจำทางส่วนใหญ่มีให้บริการบนเกาะสุมาตรา เกาะชวา เกาะบาหลี บางสายให้บริการแบบรถด่วน ไม่หยุดรับ
ส่งผู้โดยสารจนกว่าจะถึงสถานีปลายทาง ส่วนรถมินิบัส มีให้บริการระว่างหมู่บ้านหรือเมืองเล็กๆ เท่านั้น ในเมืองใหญ่ๆ หลายแห่งมีรถแท็กซี่วิ่งให้บริการโดยเฉพาะในจาการ์ตาจะมีรถโดยสารประจำทางของโกปาจาและรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ ทรานส์จากการ์ตา ยานพาหนะอื่นๆ อาทิเช่น รถตุ๊กตุ๊ก(บาจัจ), รถสามล้อ(เบอจะก์) ถูกห้ามในพื้นที่ส่วนใหญ่ของจาการ์ตา
ประเทศอินโดนีเซีย เป้นหนึ่งในประเทศที่มีการจราจรติดขัดที่สุดในโลก โดยเฉพาะในจากการ์ตาซึ่งขึ้นชื่อเรือ่งการจราจรติดขัดที่สุด เนื่องจากมีปริมาณรถยนต์ท่ใช้งานมากกว่าปริมาถนนที่มีอยู่ ทางหลวงสายหลักของประเทศ ได้แก่ ทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงสายทรานส์ - สุมาตรา อินโดฯ มีถนนลาดยางสองแสนกว่ากิโลเมตร ส่วนที่เหลืออีกราวหนึ่งแสนห้าหมื่นกิโลเมตรไม่ได้ลาดยาง(สถิติปี ค.ศ. 2002)
อินโดนีเซียมีทางหลวงอยู่หลายสาย ส่วนใกญ่จะเป็ฯทางหลวงแผ่นดินซึ่งมีอยู่ทั่วไปบนเกาะชวา เกาะสุมาตรา และบางส่วนเป็นทางพิเศษซึ่งทางพิเศษที่มีกรเก็บค่าผ่านทางแพงที่สุด คือ ทางพิเศษจีปูลารัง ซึ่งเชื่อมระหว่าง จากการ์ตา-บันดุง ส่วนระบบขนส่งและจราจรอัจฉริยะ(ITS) ถูกนำมาใช้งานครั้งแรกปี 2012
การขนส่งทางราง โครงข่ายรถไฟส่วนใหญ่จะอยู่บนเกาะชวา โดยบนเกาะชวา จะมีทางรถไฟสายหลักอยู่ 2 สาย และสายย่อยอีกหลายสาย มีให้บริการทั้งรถไฟโดยสารและรถไๆฟสินค้านอกจากนี้ยังมีรถไฟชานเมืองวิ่งให้บริการในเขตกรุงจากการ์๖า เรียกว่า เคอาร์แอล จาโบตาเบะก์ และอีกเมืองคือซูราบายา ในปี ค.ศ. 2008 รัฐบาลมีโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าเชื่อมท่า
การขนส่งทางอากาศ การขนส่งทางอกาศในอินโดนีเซยมีอยู่ค่อนข้างมาก เรพาะใช้เชื่อมต่อระหว่างเกาะต่างๆ พันเกาะของอินโดนีเซย ช่วงปี ค.ศ. 2009-2013 มีผุ้โดยสารใช้บริการขนส่งทางอากาศเพิ่มขึ้นร้อยละ 43 โดยเพิ่มจากห้าสิบเก้าล้านคนเป็นแปดสิบห้าล้านคน
ท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตาของจาการ์ตา เป็นสนามบินที่มีความสำคัญมากที่สุดในประเทศ แต่อย่างไรก็ตาม สนามบินส่วนใหญ่ของอินโดนีเซียบังอยู่ในสภาพที่ไม่ค่อยจะดีนัก ทำให้เป็นหนึ่งในประเทศที่มีความปลอดภัยด้านอากาศยานที่น้อยที่สุด อนึ่งประเทศอินโดนีเซียมีสนามบินทั้งหมด 676 แห่ง(ค.ศ.2012)...
ประเทศอินโดนีเซียมีประชากร 250 ล้านคน มากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก รองจาก จีน อินเดียและสหรัฐอเมริกา แต่เศรษฐกิจของประเทศอินโดนีเซียมีขนาดใหย๋เป็นอันดับที่ 16 ของโลก จึงได้รับสมญานามว่า "ยักษ์หลับของเอเชีย" ด้วยที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ความเชื่อมโยงที่เข้มแข็.กับจีน และสถานะการประเทศผุ้ผลิตสินค้าอุปโภคบริโภค อินโดนีเซียถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มประเทศที่มีศักยภาพการพัฒนาใน 20 ปี ข้างหน้าที่เรียกว่า MINT ประกอบด้วยเม็กซิโก อินโดนิเซีย ไนจีเรีย และตุรกี ทั้งนี การไปสู่ศักยภาพดังกล่าว จำเป็นต้องพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานใหม่ๆ เป็นอันมาก
กรุงจาร์กาตาของประเทศอินโดนีเซียเป็นเมืองที่มีความแตกต่างหลากหลายโดยมีทั้งรีสอร์ทริมชายหาดอันหรูหราและย่านพักอาศัยที่ยากจนการเกินทางในจาการ์ตาเป็นเรื่องมี่ไม่สะดวกเนื่องจากปัญหาการจราจรติดขัดตลอดทั้งวันมลพิษทางอากาศและสภาพอากาศที่ร้อนตลอดจนอันตรายในการเดินข้ามถนนจาการ์ตามีประชกร 26 ล้านคน และมีการเติบโตขชองชนชัันกลางอย่างรวดเร็ว แต่ยังขาดระบบขนส่งมวลชนขนาดใกญ่แม้ว่ามีโครงข่ายรถไฟชานเมืองที่กว้างขวาง แต่การเชื่อมต่อระบบและการเข้าถึงยังขาดประสิทธิภาพ รถโดยสารประจำทางบางเส้นทางมีช่องทางพิเศษแต่ก็ยังได้รับผลกระทบจากปัญหาจราจร ประชาชนจำนวนมากจึงต้องเดินทางด้วยความยากลำบากหากไม่มีรถจักรยานยนต์และรถยนต์ส่วนบุคคล
สาถการณ์การขนส่งในกรุงจาการ์ตาได้ส่งผลกระทบต่อพื้นที่ที่เหลือของเกาะชวาซึ่งมีประชากรกว่า 135 ล้านคนและมีผลผลิตทางเศรษฐกิจคิดเป็นร้อยละ 60 ของประเทศแต่โครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งยังไม่เพียงพอกับความต้องการอย่างมาก เมืองใหญ่อื่นๆ ได้แก่ บันดุง เซมารัง และสุราบายา ล้วนประสบกับปัญหาการจราจรติดขัดในขณะที่โครงข่ารถไฟระหว่างเมืองยังมีข้อจำกัด โดยยังเป็นรถไฟทางเดี่ยว มีขบงวนรถและระบบอาณัติสัญญาณที่ล้าใาัย มีเพียงถนนหลัก 2 สายที่เป็นเส้นทางขนส่งสำคัญของเกาะชวา การขาดแคลนโครงสร้างพื้นฐานส่งผลให้ต้นทุนด้านโลจิสติกส์เพิ่มสูงเป็นร้อยละ17 และส่งผลต่อราคาสินค้าภายในประเทศเพิ่มสูงขึ้น ในขะที่ประเทศพัฒนาแล้วมีต้นทุนโลจิสติกส์เพียงร้อยละ 10 อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจในปัจจุบันของประเทศอินโดนีเซียอยู่ที่ร้อยละ 6-6.5 แต่นักเศรษฐศาสตร์คาดการณ์ว่าสาถมารถเติบโตได้ถึงร้อยละ 7-9 หากโครงสร้างพื้นฐานได้รับการพัฒนาให้ดีขึ้น ที่ผ่านมารัฐบาลได้ลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานประมาณร้อยละ 8 ของผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายในประเทศ แต่หลังจากสภาวะเศรษฐกิจถอถอยของเอเซียทำให้การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานลดลง โดยเหลือเพียงร้อยละ 2.1 ในปี 2011
ปีต่อมาการลงทุนได้เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 4 ของ GDP และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นจากการริเริ่มแผนพัฒนาประเทศระยะกลาว วงเงิน 150,000 ล้านเหรียญสหรัฐ ปัจจุบันอยู่ในระหว่างการพัฒนาตามแผนแม่บทการเร่งรัดและขยายการพัฒนาเศรษฐกิจของอินโดนีเซีย วงเงิน 468,000 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยมีเป้าหมายเพิ่ม GDP เป็น 4.5 ล้านล้านเหรียญสหรัฐภายในปี ค.ศ. 2025 และอินโดนีเซียจะต้องติดอันดับ 1 ใน 10 ประเทศชั้นนำทางเศรษฐกิจของโลก
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของอินโดนีเซียกล่าวว่า ในปี 2557 งบประมาณสำหรับรถไฟจะมีจำนวนสูงที่สุดในกระทรวงคมนาคมเพื่อปรับเปลี่ยนรูปแบบการขนส่งจากทางถนนมาเป็นระบบราง ที่ผ่านมานโยบายการขนส่งมุ่งเน้นการพัฒนาทางถนนส่งผลให้ปัจจุบันต้องประสบปัญหาจราจรติดขัดบนทางหลวงสายหลักของอินโดนีเซียแนวทางนี้จะเป็นการแก้ปัญหาทั้งการเดินทางของผู้โดยสารและการขนส่งสินค้าวิสัยทัศน์ของอินโดนีเซียคือการมีโครงข่ายรถไฟเพื่อเป็นเส้นทางหลักสำหรับการขนส่งผุ้โดยสารและการขนส่งสินค้า
ขั้นตอนหลักในการบรรลุเป้าหมายดังกล่าวเริ่มต้นจากการเปิดให้บริการรถไฟรางคู่ช่วงกรุงจาการ์ตา-สุราบายาระยะทาง 727 กิโลเมตร (มีนาคม 2557 รวมทั้งก่อสร้างรถไฟรางคู่เส้นทางใหม่ ระยะทาง 465.5 กิโลเมตร ให้แล้วเสร็จ ซึ่งคาดการณ์ว่าจะเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งระหว่าง 2 เมืองที่ใหญ่ที่สุดของเกาะชวาได้มากกว่าร้อยละ 300 โดยปัจจุบันการขนส่งทางถนนระหว่างกรุงจากการ์ตากับสุราบายามีปริมาณ 2 ล้าน TEU ต่อปี อินโดนีเซยจึงต้องการปรับเปลี่ยนรูปแบบการขนส่งมาใช้ระบบราง โดยมีเป้าหมาย 1 ล้าน TEU ต่อปี ปัจจุบันรถไฟอินโดนีเซียมีประมาณการขนส่งสินค้าเพียง 200,000 TEU ต่อปี ในเดือน ธันว่าคม 2556 การรถไฟอินโดนีเซียได้ดำเนินการก่อสร้างรถไฟรางคู่ ช่วงเปกาลองกัน-เซมารับ และ้วเสร็จ และคาการณ์ว่าโครงการนี้จะช่วยเพิ่มสัดส่วนการขนส่งทางรถไฟจากร้อยละ เป็นร้อยละ 15 ของการขนส่งสินค้าทั้งหมดภายในปี 2573 การดึงดูดให้มีการขนส่งทางรถไฟเพิ่มขึ้นจะเกิดจากการ
เชื่อมต่อโครงข่ายเข้าท่าเรือในกรุงจากการ์ตา ซีเรบอน เซมารัง และสุราบายา โครงการรถไฟเป็นหนึ่งในโครงการสำคัญที่บรรจุในแผนแม่บทฯ การลงทุนดังกล่าวรัฐบาลอินโดนีเซียไม่ได้หวังผลตอบแทนทางการเงิน ในการลงทุนเกี่ยวกับรถไฟนอกจากทางรถไฟ จะมีการปรับปรุงให้เป็นระบบรถไฟฟ้าและปรับปรุงสถานี ทั้งนี้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของอินโดนีเซียระบุว่า ดครงการรถไฟมีความสำคัญในทุกพื้นที่แม้จะเป็นพื้นที่ที่มีประมาณจราจรไม่มากนัก เนื่องจากรัฐจำเป็นต้องเชื่อมโยงพื้นที่ดังกล่าวกับพื้นที่อื่นๆ ที่มีความเจริญมากกว่า การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานสำคัญในอินโดนีเซียจะดำเนินการโดยภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจแต่ก็มีการเปิดให้รัฐบาลท้องถิ่นร่วมลงทุนกับรัฐบาลกลางภาคเอกชนจะเข้ามารมีบทบาทในการดำเนินการหรือให้บริการจากโครงสร้างพื้นฐานที่รัฐพัฒนาขึ้นด้วยข้อจำกัดด้านวบประมาณในอดีตที่ผ่านมารัฐบาลอินโดนีเซียใช้ความระมัดระวังมากในการค้ำประกันเงินกู้สำหรับการดำเนินโครงการการที่ภาครัฐไม่พิจารณาบริหารความเสี่ยงเป็นรายโครงการและการไม่ให้ความคุ้มครองหรือให้การสนับสนุนในทำนองเดียวกันกับที่รัฐบาลประเทศอื่นทำให้นักลงทุนภาคเอกชนปฏิเสธหรือชะลอการลงทุนออกไปดังนั้นในการพัฒนาตามแผนแม่บทฯ
นอกจากการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานของภาครัฐ รัฐบาลอินโดนีเซียได้ริเริ่มการส่งเสริมเอกชนร่วมลงทุนในโครงการรถไฟ 3 วิธีการ ดังนี้
- การร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐกับเอกชนในรูปแบบสัมปทาน เป็นรูปแบบที่ภาครัฐจัดให้มีทางรถไฟและเปิดให้ภาคเอกชนเข้ามาให้บริการเดินรถ โดยมีการให้สัมปทานการให้บริการขนส่งมวลชนซึ่งมีเงื่อนไขในการแข่งขันว่าผู้เสนอราคาที่ขอรับการสนับสนุนจากภาครัฐน้อยที่สุดจะได้รับการคัดเลือกในรูปแบบนี้ภาครัฐจะให้สนับสนุนทางการเงิน 2 ประเภทคือ กระทรวงการคลังให้การสนับสนุนผ่านกองทุน โดยจะนำเงินในกองทุนมาชดเชยส่วนที่เอกขนต้องขาดทุนจากการควบคุมราคาค่าโดยสารทำให้การดำเนินการไม่คุ้มค่าในเชิงพาณิชย์และรัฐบาบค้ำประกันเงินกู้ผ่านกองทุนค้ำประกันโครงสร้างพื้นฐานของอินโดนีเซีย สำหรับโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากแหล่งเงินทุนภาคเอกชนภายในประเทศและต่างประเทศ
- การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ หรือเขตการต้าเสรี ซึ่งมีการจูงใจทางภาษีสำหรับการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานของภาคเอกชนใพื้นที่ที่กำหนด โดยมีการบังคับใช้มาตรการทางกฎหมายที่ผ่นปรนมากกว่าพื้นที่อื่นๆ และการให้ความสะดวกเป็นกรณีพิเศษในการออกใบอนุญาตต่างๆ ผ่านหน่วยงานบริหาร
- การออกใบอนุญาตสำหรับโครงการโครงสร้างพื้นฐานของภาคเอกชนที่มีวัตถุประสงค์พิเศษ บริษัทเอกชนจะได้รับอนุญาตให้พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานโดยใช้งบประมาณของตัวเองโดยต้องดำเนนินการตามาตรฐานด้านความปลอดภัยและด้านความมั่นคงที่รัฐกำหนดวิธีนี้จะดึงดูดบริษัทที่มีปริมาณการขนส่งสินค้าปริมาณมากระหว่างแหลงผลิตและแหล่งบริโภคเช่นในกิจการเหมืองแร่ การดำเนินงานตามแผนแม่บทฯ จะเน้นการลงทุนซึ่งจะส่งผลต่อภาคอุตสาหกรรมภายใประเทศ ตัวอย่างเช่น มีการระบุว่าร้อยละ 85 ของผลผลิตของโครงการก่อสร้างต้องใช้วัสดุภายในประเทศ หรือร้อยละ 90 ต้องจัดซื้อจัดจ้างจากบริษัทเอกชนภายในประเทศ อย่างไรก็ตาม ในบางโครงการก็ได้เปิดให้ใช้ความเชี่ยวชาญจากต่างประเทศด้วย (มติชนออนไลน์. "หัวร่อมิได้ ร่ำให้มิออก! ประเทศไทยคว่ำ 2ล้านล้าน อินโดฯเดินหน้า 14 ล้านล้าน.)
วันอาทิตย์ที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
Negara Brunei Darussalam
สุลตาลแห่งบรูไนทรงสร้างจักรวรรดิบรูไนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ปกคอรงตั้งแต่ทางตอนเหนือของเกาะบอร์เนียวและทางตอนใต้ของฟิลิปินส์ ต่อมามีสงครามกับสเปนสั้นๆ ทำให้บรุไนเริ่มอ่อนกำลังลง จนบรูไนเสียดินแดนซาราวะก์ให้กับรายาผิวขาว(เป็นราชวงศ์ที่ก่อตั้งและปกครองราชอาณาจักรซาราวะก์บนเกาะบอร์เนียว เป็นราชอาณาจักรอิสระต่างหากจากรัฐสุลต่านบรูไนในฐานะ
รางวัลที่ช่วยปราบโจรสลดและระงับความวุ่นวาย เจมส์ บรูก ผู้ปกครองชาวอังกฤษคนแรกและปกครองต่อมาจนถึงรุ่นหลาน
ของหรูก ก่อนจะถูกรวมเข้าดับอาณานิคมของอังกฤษในพ.ศ. 2489) กระทั่ง ต้องยอมอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ จนบรุไนได้รับเอกราชในวันที่ 1 มกราคม 2527
ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ของบรูไนก่อนการมาถึงของเฟอร์ดินัน แมกเจลเลนนั้นอาศัยข้อมูลจากเอกสารจีนเป็นสำคัญ นักประวัติศาสตร์เชื่อวว่ามีรัฐในดินแดนนี้มาก่อนจักรวรรดิบรูไน รัฐที่เป็นไปได้ เช่น วิยปุรทางตะวนตกเฉียงเหนือของเบอร์เนียว และอาจเป็นรัฐหนึ่งขชองจักรวรรดิศรีวิชัย อีกรัฐหนึ่งที่เป็นไปได้คื อโปนี ในพุทธศตวรรษที่ 15 ไปนี้ได้ติดต่อกับจีนในสมัยราชวงศ์ซ้อง ต่อมา ในพุทธศตวรรษที่ 19 อโปนีตกต่ำลงและกลายเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิมัชปาหิตของชวา หนังสือนครา เกรตาการมาเขียนโดยปราปันจา เมื่อ พ.ศ.1908 ได้กล่าวว่าบรูไนเป็นรัฐบริวารของมัชปาหิต แต่ก็ไม่มหลักฐานมากไปหกว่าความสัมพันธ์เป็นเชิงลักษณะและบรรณาการรายปีซึ่งเป็นถั่วเขียวและปาล์ม ในสมัยราชวงศ์หมิงได้เรียกร้องบรรณาการจากอโปรีใน พ.ศ. 1913 ต่อมา ผู้ปกครองอโปนี มานาจิห์ เชียนา ได้เดินทางไปยังนานกิง เมืองหลวงของราชวงศ์หมิงในพ.ศ. 19ถๅ และเสียชีวิตที่นั่น
ใน พ.ศ. 1967 จักรพรรดิจีนยุติการเดินเรือของกองเรือมหาสมบัติทำให้ความสัมพันธ์กับโปนีสิ้นสุดลง หลักฐานในสมัยราชวงศ์ซ้องกล่าวว่าโปนีเป็นรัฐที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาฮฺนดูอย่างมาก ผ่านทางชวาและสุมตรา แต่ไม่ได้รับมาโดยตรงจากอินเดีย การเขียนใช้อักษรแบบฮินดู แต่ก็ได้รับอิทธิพลจากจีนเนื่องจากพบเหรียญของจีนอายุราวพุทธศตวรรษที่ 12 ตามชายฝั่งของบรูไน
การตั้งถิ่นฐานของคนจีนในบรูไน มีในสมัยจักรรพรรดิหงอู่โดยผู้แทนไปยังอินโดนีเซีย แล้วให้บรุไนจ่ายส่วยให้กับจีน 30 ปีต่อมาจีนได้ขยายอิทธิพลไปทางตะวันออกของบรูไนและได้สร้างหมู่บ้านของชาวจีนขึ้นในคริสตศตวรรษที่ 14 หลังกการสิ้นพระชนม์ของสุลต่านมูฮัมหมัด ซาห์ ลูกชายเขาได้เป็นผู้สำเร็จราชการหลังการสิ้นพระชนม์ของสุลต่านฮาซันจิตได้สิ้นพระชนม์จนเกิดการชิงราชบัลลังก์ของบรูไร องค์ซำปิงที่เป็นทูตจีนประจำบรูไนรวมอำนาจอีกครั้งรวมอำนาจอีกครั้ง ต่อมาเขาได้กลับไปจีนและ
กองทัพของเขา ก่อนเสียชีวิตที่นานกิง ภรรยาของเขาเสียชีวิตที่บรูไน ปัจจุบันนี้องค์ซำปิงยังเป็นบรรพบุรุษของชาวบรูไน และเป็นต้นกำเนิดของราชวงศ์บรุไน สุสานของเขาถูกคุ้มครองโดยรัฐบาลบรูไน บุคคลที่รู้เรื่องขององค์ซำปิงดีสุดคือ รายาแห่งซูลูเมื่อเขามาบรูไนเขารู้ว่าได้รับคำสั่งให้มาเก็บเพชรพลอยในรัฐซาบะฮ์ ตามบันทึกองค์ซำปิไม่ได้เป็นสุลต่านแต่ลูกสาวเขาได้แต่างงานกับสุลต่านและเขาเป็นสุลต่านพ่อตามกฎหมาย
การเข้ามาของศาสนาอิสลามและยุคทอง ช่วงพทุธศตวรรษที่ 20 อโปนีได้มีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับอาณาจักรของชาวมุสลิมคือมะละกาและน่าจะเป็นจุดเริ่มต้นของการปกครองในปัจจุบัน ในชะอีรอาวังเซอมวนกล่าวว่าสุลต่านบรูไนปัจจุบันเดิมเป็นเดวา เออมัส กายางัน ที่ลงมาในโลกรูปของไข่ เมื่อแตกออกได้กลายเป็นเด็กมากมาย และเด็กคนหนึ่งได้รับอิสลามทำให้ได้เป็นสุลต่านองค์แรก สุลต่านองค์ที่ 2 เป็นคนจีนหรือมีมเหสีเป็นคนจีน สุลต่านองค์ที่ 3 เป็นชาวอาหรับซึ่งในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ถือว่าเป็นเชื้อสายของนบีมูฮัมหมัด
สุลต่านบรูไนได้ขยายอำนาจออกไปกว้างขวาง ปัจจัยหนึ่งคือการที่มะละกาถูกโปรตุเกสยึดครองใน พ.ศ.2054 ทำให้บรูไนกลายเป็นเมืองท่าที่สำคัญของมุสลิม บรูไนปกครองด้วยระบบสุลต่านที่มีสุลต่านอยู่ในระดับบนสุดแต่มีอำนาจจำกัดโดยมีสภาของเจ้าชายควบคุม ในยุคของสุลต่านโบลเกียห์จัดว่าเป็นยุคทองของบรูไน โดยได้ขยายอำนาจครอบคลุมพื้นที่ชายฝั่งของซาราวะก์และซาบะฮ์ หมู่เกาะซูลูแลเกาะทางตะวันตกเฉียงเนหือของบอร์เนียว อิทธิพลของสุลต่านแผ่ไปถึงทางเหนือของฟิลิปปินส์โดยสร้างอาณานิคมในอ่าวมะนิลา ในพ.ศ. 2064 ปีสุดท้ายในสมัยสุลต่านโปบเหียห์ เฟอร์ดินาน แมกเจลเลน นักเดินทางชาวยุโรปคนแรกได้เดินทางมาถึงบรูไนและได้ชื่นชมความงามของเมืองไว้มากมาย ในสมัยนั้นมี 25,000 ครอบครัวอาศัยอยู่ในบ้านไม้ที่สร้างบนเสาเหนือน้ำปัจจุบันชื่อกัปปงเอเยอร์ พระราชวังถูกล้อมด้วยกำแพงอิฐป้องกันด้วยทองเหลืองและปืนใหญ่เป็นจำนวนมาก
ความสัมพันธ์ระหว่างบรูไนกับมหาอำนาจยุโรปมีความแตกต่างกันไป ประเทศแรกในยุโรปที่ให้ความสำคัญกับบรูไนคือโปรตุเกสซึ่งเคยเข้ามามีอิทธิพลทางการค้า แต่มีความเกี่ยวข้องกันน้อยมาก โปรตุเกสยังสังเกตว่าสุลต่านมีส่วนร่วมต่อเศรษฐกิจและลิกอร์(นครศรีธรรมราช)ในปัจจุบันและสยาม ด้านความสัมพันธ์กับสเปนขึ้น ไม่ค่อยเป็นมิตร บรูไนและสเปนมีการกระทบกระทั่งกันทางเรือตั้งแต่ พ.ศ. 2108 และในพ.ศ. 2114 สเปนประสบความสำเร็จในการยึดมะนิลาไปจากบรูไน บรูไนพยายามเข้ายึดดินแดนคืนแต่ล้มเหลว ต่อมาในพ.ศ. 2121 สเปนยึดครองหมู่เกาะซูลูและข้าโจมตีบรูไนเพื่อให้สุลต่านสละอไนาจในฟิลิปินส์ และยอมให้มีิชชันนารีเข้ามาเผยแผ่ศาสนาในบรูไๆน การสู้รบเริ่มขึ้นเมื่อ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2121 เป็นเวลา 72 วันผลปรากฎว่าซูลูได้เป็นเอกราช ส่วนบรูไนเสียเกาะลูซอนในฟิลิปปินส์ไป
หลังจากสุลต่านฮัสซันสิ้นพระชนม์ อำนาจของบรูไนตกต่ำลง มีการสู้รบกันเองภายในและการเข้ามาล่าอาณานิคมของตะวันตก ต่อมา ใน พ.ศ. 1382 เจมส์ บรูกนักเดินทางชาวอังกฤษเดินทางมาถึงบอร์เนียวและได้สนับสนะนกลุ่มที่กบฎต่อสุลต่าน บรูไนได้แพ้เจมส์ บรูก จนกระทั่งต้องยอมรับสิทธิปกครองตนเองของซาราวะก์ โดยบรูกได้เป็นรายาผิวขาวในซาราวะก์ และได้พยายามขยายอำนาจเข้า
มายึดครองดินแดนของบรูไน ต่อมาในพ.ศ. 2386 เกิดความขัดแย้งโดยเปิดเผยระหว่างบรูกส์กับสุลต่าน ซึ่งบยรูกส์เป็นฝ่ายชนะสุลต่านยอมรับเอกราชของซาราวะก์ ต่อมาในพ.ศ. 2389 อังกฤษได้ยกทัพมาโจมตีบรูไนสุลต่านซาลาฟุดดินที่ 2 ยอมลงนามสนธิสัญญาสันติภาพเพื่อสงบศึกกับอังกฤษ แต่ต้องยกลาบวนให้กับอังกฤษในปีเดียวกัน ตอนแรกนั้นอังกฤษเช่าซาราวะก์ ต่อมาในพ.ศ. 2389 อังกฤษได้ยกทัพมาโจมตีบรูไนสุลต่านซาลฟุคดินที 2 ยอมลงนามสนธิสัญญาสันติภาพเพื่อสงบศึกกับอังกฤษ แต่ต้องยอลาบฝนให้กับอังกฤษในปีเดียวกันตอนแรกนั้นอังกฤษเข่าซาราวะก์แต่ต่อมาบรูไนกลับเสียซาราวะก์ให้ต่อมาบรูไนยอมเป็นรัฐในอารักขาของอังกฤษ ก่อนได้รับเอกราชในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2527 (th.wikipedia.org/../ประวัติศาสตร์บรูไน.)
บรูไน เป็นประเทศที่ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ชายฝั่งทางด้านเหนือจรดทะเลจีนใต้ พรมแดนทางบกที่เหลือจากน้้นถูกล้อมรอบด้วยรัฐซาราวะก์ มาเลเซียตะวันออก บูรไนเป็นประเทศผู้ส่งออกน้ำมันเป็นสิน้าหลัก(ปริมาณการผลิตน้ำมันประมาณ 180,000 บาเรล/วัน)
รัฐธรรมนูญปัจจุบันกำหนดให้สุลต่านทางเป็นอธิปัตย์ คือเป้นทั้งประมุข นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงหลาโหม(สมบูรณาญาสิทธิราช)นายกรัฐมนตรีจะต้องเป็ฯชาวบรูไนเชื้อสายมาเลย์โดยกำเนิด และจะต้องเป็นมุสลิมนิกายซุนนี่ย์ นอกจานี้ บรูไนไม่มีสภาที่ได้รับเลือกจากประชาชน นโยบายหลักของบรุไน ได้แก่การสร้างความเปปึกแผ่นภายในชาติ และดำรงความเป็นอิสระของประเทศ ทั้งนี้ บรูไนมีี่ตั้งที่ถูกโอบล้อมโดยมาเลเซีย และมีอินโดนีเซียซึ่งเป็นประเทศมุสลิมขนาดใหญ่อยุ่ทางใต้ บรูไนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสิงคโปร์ เนื่องจากมีเงื่อนไขคล้ายคลึงกันหลายประการ อาทิ เป็นประเทศเล็กและมีอาณาเขตติดกับประเทศมุสลิมขนาดใหญ่อยู่ทางใต้ บูไนมีความสัมพันะธ์ใกล้ชิดกัยสิงคโปร์ เนื่องจากมีเงื่อนไขคล้ายคลึงกันหลายประการ อาทิ เป็นประเทศเล็ก และมีอาณาเขตติดกับประทเศมุสลิมขนาดใหญ่
จากการพยายามยึดอำนาจเมือ่ปี พ.ศ. 2505 รัฐบาลได้ประกาศกฎอัยการศึกส่งผลให้ไม่มีการเลือกตั้ง รวมทั้งบทบาทพรรคการเมืองได้ถูกจำกัดอย่างมาก จนปัจจุบันพรรคกาเมืองไม่มีบทบาทมากนัก เนื่อจากรัฐบาลควบคุมด้วยมาตรการต่างๆ อาทิ กฎหมายความมั่นคงภายในประเทศ ห้ามการชุมนุมทางการเมือง และสามารถถอดถอนการจดทะเบียบเป็นพรรคการเมืองได้ ตลอดจนห้ามข้าราชการ(ซ฿่งมีเป็นจำนวนกว่าครึ่งของประชกรบรูไนทั้งหมด) เป็นสมาชิกพรรคการเมือง นอกจากนี้ รัฐบาลเห็นว่าพรรคการเมืองไม่มีความจำเป็นเนื่องจากประชาชนสมารถแสดงความคิดเห็นหรือของความช่วยเลหือจากข้าราชการของสุลต่านได้อยู่แล้ว เมื่อ กันยายน พ.ศ. 2547 ได้จัดการประชุมของสภาเป็นครั้งแรก ตั้งแต่บรูไนประกาศเอกราช(th.wikipedia.org/..ประเทศบรูไน.)
เมื่อพิจารณาในด้านผลประโยชน์ทีอาเซียนจะได้รับจากบรูไน จะพบว่าอาเซียนได้ผลประโยชน์จากความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจที่ได้จากทรัพยากรน้ำมันของบรูไนตามสมควร โดยในช่วงวิกฤตการณ์ทางเศรษบกิจในเอเชีย บรูไนได้เข้ามาช่วยเหลอประเทศต่างๆ ในอาเซียน โดยได้ให้ความช่วยเหลือการแทรกแซงตลาดการเงินภายในภูมิภาคด้วยการระดมทุนจากภายนอกประเทศ ในกาซื้อเงินสกุลริงกิตมาเลเซียและเหรียฐสิงคโปร์ เพื่อรักษาเสถียรภาพทางกาเรงินของภูมิภาครวมถึงได้แสดงเจตจำนงที่จะมุ่งเน้นนโยบายการลงทุนสูงปะเทศในกลุ่มอาเซียนมากขึ้น และยังได้ให้การช่วยเหลือประเทศอินโดนีเซีย และไทยในลักษณะการให้กู้ยืมเงินเพื่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ ความพยายามในการช่วยเลหือประเทศในกลุ่มอาเซียนดังกล่าว ได้เพิ่มบทบาทของบรุไนในอาเซียนมากขึ้น และเป็นการร้างหลักประกันความมั่นคงห้กับบรูไนอีกทาง
เนื่องจากบรูไนเป็นประเทศเล็ก ศักยภาพทางการเมืองและอำนาจต่อรองทางการเมืองไม่สูง ดังนั้นบรูไนจึงมีความพยายามในการเสริมสร้างผลประโยชน์ทางการเมือง เศรษฐกิจและความมั่งคังระหว่างประเทศและมุ่งเน้นความเป็นภฦูมิภาคนิยมมากขึ้น จากเดิมที่มักให้ความสำคัญกับชาติตะวันตกอย่างอังกฤษเจ้าอาณานิคม สำหรับด้านการเมือง การที่อาเซียนมีจำนวนสมาชิกเพิ่มขึ้นเท่ากับเพิ่มน้ำเสียงของอาเซียนในเวทีการเมืองระหว่างประเทศห้หนักแน่นขึ้นยิ่งกว่านั้น นอกจากบรูไนจะเป็นสมาชิกองค์การระหว่างประเทศที่สำคัญอื่นๆ อาทิกลุ่มประเทศเครือจักภพและองค์การที่ประชุมอิสลาม เป็นต้น จึงมีช่องทางที่จะโน้มน้าวให้ประเทศสมาชิกองค์การต่างๆ เหล่านี้คล้อยตามอาเซียได้ไม่ยากนัก ดังนั้น การสมัครเข้าเป็นสมาชิกเอเซียนของบรูไนจึงเอื้อประโยชน์ให้แก่ทั้งบรูไนและอาเซียน
ในด้านบทบาทการเป็นประธานอาเซียนประเทศบรูไนได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน ครั้งที่ 7เมื่อวันที่ 5-6 พฤศจิกายน 2544 ที่เมืองยันดาร์ เสรี เบกาวัน โดยผู้นำบรูไนประนาฒการ
ก่อวินาศกรรมในสหรัฐฯ หร้อมได้ร่วมลงนาในปฏิญญาการประชุมสุดยอมผุ้นำอาเซียว่าด้วยการป้องกันการก่อการร้ายร่วมกัน โดยเป็นความร่วมมือทั้งในกรอบทวิภาค ภูมิภาคและระหว่างประเทศ เพื่อต่อต้านการก่อการร้ายอย่างรอบด้าน และเพื่อที่จะทำให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็ฯภูมิภาคที่ปลอดจากภัยคุกคาม ความร่วมมือนี้ได้จะนำมาซึ่งสันติภาพ เสถียรภาพและความมั่นคง ถือเป็ฯปัจจัยต่อการพัฒนาและความมั่งคั่งยิ่งขึ้นในอาเซียน(www.gotoknow.org/..,บทบาทของประเทศบรุไนกับอาเซียน)
ระเบบเศรษบกิจของบรูไนค่อนข้างมีเสถียรภาพและมีการพัฒนาอย่างค่อยเป็นค่อยไป เน้นพึ่งพาการส่งออกน้ำมันเป็นหลัก แต่ในช่วง 1-2 ปีที่ฟ่านมา ได้ปรับนโยบายเน้นสร้างความหลากหลาย โดยเฉพาะทางเกษตรกรรม ไม่เน้นการส่งออกสินค้าสำเร็จรูปไม่มีตลาดหลักทรัพย์ฯ เงินลงทุนจากต่างผระเทศมีปริมาณไม่มานัก บรูไนจะกำหนดมาตรการทางการเงินการคลังที่ค่อนข้างเข้มงวด เน้นระบบเศรษฐกิจที่ปลอดภัยและมั่นคงเป็นปึกแผ่น แต่ก็พร้อมปรับตัวให้สอดคล้องกับสถานกาณณ์ ทั้งนี้บรูไนยืนยันพันธกรณีที่จะต้องปฎิบัติตามข้อมติต่างๆ ของอาเซียนทั้งการพัฒนาตลาดเงินทุนและระบบการเงินให้ได้มาตรฐาน เพื่อรองรบการเป็นประชาคมอาเซียนด้านเศรษฐกิจ
Brunei Currency and Monetary Board BCMB หน่วยงานหลักภายใต้กระทรวงการคลังของบรุไน ก่อตั้งขึ้นในปี 2510 ซึ่งเป็นช่วงที่บรูไนยังมีสถานะอยู่ภายใต้การคุ้มครองของประเทศอังกฤษและในปีดังกล่าวรัฐบาลบรูไน สิงคโปร์ และมาเลเซีย ได้ลงนามร่วมกันในข้อตกลงแลกเปลี่ยนอัตราค่าเงิน ต่อมาในปี 2514 มาเลเซียได้ถอนตัวออกจากข้อตกลงดังกล่าว จึงเหลือเพียงสิงคโปร์และบรูไน โดยทั้งสองประเทศได้กำหนดให้อัตราค่าเงินเหหรียญบรูไนและเหรียญสิงคโปร์ มีค่าเท่ากันที่ 1/1 ซึ่งเป็นไปในแนวทางที่คล้ายคลึงกบการกำหนดค่าเงินเหรียญฮ่องกง กับเหรียญสหรัญ ไว้ที่ประมาณ 1.7-1.8ต่อ 1 ในปัจจุบันระบบเศรษฐกิจของบรูไนจึงผูกอยู่กับเศรษฐกิจของสิงคโปร์อย่างแนบแน่น ตราบใดที่เศรษฐกิจของสิงคโปร์ยังมั่นคง บรูไนก็สามารถดำรงอยู่ได้อย่างราบรื่น
BCMB มีหน้าที่หลักคือการรักษาเสถียรภาพค่าเงินเหนียญบรุไน โดยกำหนดว่าหากมีการผลิตเงิน 1 เหรียญบรูไนเพื่อหมุนเวียในตลาด บรูไนจะต้องนำเงินไปลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์ในต่างประเทศในมูลค่าที่เท่ากัน เพื่อเป็นการค้ำประกัน ที่ผ่านมาบรูไนสามาถรักษาอัตราเงินเฟ้อในประเทศให้อยู่ในช่วง 1-1.5% ได้โดยตลอด นอกจากนี้ BCMB มีมาตรการที่เข้มแขช็งในการดูแลสถาบันการเงินการธนาคารในบรูไน ซึ่งประกอบด้วยธนาคารท้องถิ่น 2 แห่ง และต่างชาติ 6 แก่ง ในด้านการลงทุน โดยมีบทบาทเสริมการทำงานของ บรูไน ไฟแนนซ์ เซ็นเตอร์ ซึ่งเป็นหน่วยงานดูแลด้านการลงทุนหลัก โดยจะช่วยพิจารณาการลงทุนที่สำคัญๆ รวมทั้งการนำเข้าสินค้า ซึ่งส่วนใกญ่จะเป็ฯสินค้าที่จำเป็นในด้านการดำรงชีพ..(โพสต์ทูเดย์,"บรุไนหนึ่งในอาเซียน ผู้ส่งออกน้ำมัน" กลุ่มงานยุทธศาสตร์ภูมิภาคอาเซียกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ,6 กันยายน 2599.)
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...