องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ เป็นทบวงการชำรัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่องวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488 และต่อมาเหลังสังครามโลกครั้งท่ 2 ประเทศสมาชิกก่อตั้ง 20 ประเทศได้ร่วมมือกันให้สัตยาบันธรรมนุญองค์การ ซึ่งเร่ิมด้วยข้อความที่ว่า
" สงครามเร่ิมต้นที่จิตใจของมนุษย์ฉันใด ความ
หวงแหนสันติภาพก็ต้องสร้างขึ้นใจจิตใจของ
มนุษย์ด้วยฉัีนนั้น:since wars began in the
minds of men,it is in the minds of men that
the defences of peace must constructed"
นอกจากนี้ ธรรมนูญยูเนสโก ยังบงชี้ไว้ด้วยว่า สันติภาพทีเกิดจากการตกลงทางการเมือง ทางเรษฐกิจระหว่างรัฐบาลเพียงอย่างเดียว ย่อมไม่ได้รับการสนับสนุนอย่างเต็มที่แท้จริงและยืนาน จากประเทศชาติต่างๆ ในโลกสันตุภาพจะต้องวางรากฐาอยงุ่บนความร่วมมือทางุมิปัญญา และจิตสำนึกของมนุษยชาติ ดังนั้นองค์การยูเนสโกจึงมุ่งเน้นการส่งเสริมสันตุภาพ ด้วยการส่งเสริมความร่วมมือของนานาชาติ ด้านการศกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมเพื่อให้ทั่วโลกเคารพในความยุติธรรม กฎหมาย สิทธิและเสรีภาพ ที่มนุษย์พึงมี โดยไม่ถือเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา ตามกฎบัตรสหประชาชาต์ ยูเนสโกมีสำนักงานใหญ่อยู่ี่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
กลไกการทำงานของยูเนสโก
การประชุมสมัยสามัญ การประชุมสมัญสามัญเป็นองค์กรบริหารสูงสุดของยูเนสโก แประกอบด้วยผุ้แทนจากรัฐสมาชิกของยูเนสโก มีประชุมทุก 2 ปี เพื่อเลือกตั้งคณะกรรมการบริหารแต่งตั้งผุ้อำนวยการใหญ่ กำหนดมติเรื่องแผนงานและงบประมาณต่างๆ ตลอดจนพิจารณารับประเทศสมาชิก โดยปกติหัวหน้าคณะผุ้แทนที่เข้าร่วมการประชุมจะเป็นระดับรัฐมนตรีหรือเทียบเท่า
คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยผุ้ทรงคุณุฒิและมีชื่อเสียงทางด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม จำนวน 58 คน เลือกจากผู้แทนของประเทศสมาชิกจากภูมิภาคต่างๆ กรรมการบริหารจะอยู่ในวาระคราวละ 4 ปี คือ จะต้องปฏิบัติงานตั้งแต่การประชุมสมัยสามัญที่ตนได้รับเลือกสิ้นสุดลง จนถึงการประชุม สมัยสามัญอีก 2 ครั้งต่อไปสิ้นสุดลง คณะกรรมการบริหารของยูเนสโกมีหน้าที่พิจารณาและติดตามการดำเนินงานของสำนักเลขาธิการยูเนสโกให้สอดคล้องกับมติการประชุมสมัยสามัญ พิจารณาเสนอระเบียบวาระการประชุมทสมัยสามัญ ดครงการกิจกรรมและการปฏิวัติงานขององค์การยูเนสโก รวมทั้งงบประมาณขององค์การตามที่ผุ้อำนวยการใหญ่เสอ พิจารณารายงานกิจกรรมต่างๆ ขององค์การ เพื่อติดตามและประเมินผล
สำนักเลขาธิการ ยูเนสโก เป็นฝ่ายบริหารที่รับผิดชอบงานประจำและกิจกรรมที่เป็นงานระหว่างชาติ ทำงานภายใต้ผุ้อำนวยการใหญ่ดำเนินการ ติดตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารและที่ประชุมสมัยสามัญ มีผุ้อำนวยการใหญ่เป็นผุ้บริหารสูงสุด อยุ่ในวาระ 6 ปี
กลไกระดับชาติของประเทศสมาชิก
1 คณะผู้แทนถาวะ บางประเทศจะอต่างตั้งเอกอัครราชทูตเป็นผุ้แทนถาวรประจำยูเนสโก สำหรับประเทศไทยมีสำนักงานตั้งอยุ่
2 คณะกรรมการแห่งชาติ ตั้งอยู่ ณ เพื่อประสานงานของรัฐสมาชิกแต่ละรัฐกับองค์การเพื่อเป็นตัวแทนรัฐบาลและหน่วยงานสำคัญ ๆ ทังนี้เป็นไปตามธรรมนูญของยูเนสโกได้กำหนดให้มีหน่วยงานประสานงานหรือคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ เพื่อประสานงานของรัฐสมาชิกแต่ละรัฐกับองค์การเพื่อเป็ฯตัวแทนรัฐบาลและ หน่วยงานสำคัญๆ ของประเทศ ซึ่งดำเนินการทางด้าน การศึกษา วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม สังคมศาสตร์ และสื่อสารมวลชน ตลอดจนเผยแพร่ข่าวสารสำนักงานเลขาธิการของคณะกรรมการแห่งชาติดังกล่าว มักจะตั้งอยุ่ที่กระทรวงการต่างประเทศหรือกระทรวงศึกษาธิการตามแกต่ประเทศ สมาชิกจะกำหหนดดครงสร้งของตน โดยจะเรียกว่า สำนักเลขาธิการคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
สำหรับสำนักงานยูเนสโก กรุงเทพฯ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2504 ต่อมาปี พ.ศ. 2544 ได้เปเลี่ยนชื่อเป้ฯ สำนักงานเพื่อการศึกษาในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ปัจจุบันสำนักงานยูเนสโกกรุงเทพฯ เป้นสำนักงานของโครงการระดับภูมิภาคด้านการศึกษา วัฒนธรรม สังคมศาสตร์ สื่อสารมวลชน และสารสนเทศ ใถนถูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก นอกจานี้ยังทำหน้าที่เป็นสำนักงานผุ้แทนโดยตรงของประเทศไทย พท่า ลาว ปละสิงคโปร์ และประสานงานกับยูเนสในประเทศเวียดนาม และเขมร เกี่ยวกับกิจกรรมและดครงการของประเทศเหล่านี้ ผุ้อำนวยการสำนักงานยูเนสโก กรุงเพทฯ คนปัจจุบันคือ นายกวาง โจ คิม
ภารกิจหลักของสำนักงานยูเนสโก กรุงเทพฯ มุ่งเน้นด้านการศึกษา โดยมีโครงกรภายใต้การดำเนินงานอยู่ 3 โครงการหลักคือ โครงการการศึกษาเพื่อปวงชนแห่งภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก, โครงการนวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อการพัฒนาแห่งภูมิภาคเอเงียและแปซิฟิก และฝ่ายนโยบายและแผนงานด้านการศึกษา นอกจากนี้ยูเนสโก กรุงเทพฯยังทำหน้าที่ประสานงาน และส่งเสริม โครงการ และกิจกรรมในภูมิภาคเอเซีย และแปซิคฟิคในสาขาต่างคือ
- ส่งเสริมการสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรมและการอนุรักษณ์มรดกโลก
- การพัฒนาและดำเนินกรแปนงานวิจัย การเฝ้าสังเกตการณ์มหาสมุทรและการบริการในพื้นที่นั้นๆ
- ด้านการศึกษเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
- ส่งเสริมการเรียนรู้มาตรฐานและความร่วมมือทาง ปัญญา เพื่อเอื้อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ที่ตระหนักถึงคุณค่าของความยุติธรรม อิสรภาพ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
- ด้านการสื่อสารและสารสนเทศ ด้านเอชไอวี อนามัยเจริญพันธุ์ในเยาวชน และสุขศึกษาในโรงเรียน
- ด้านการสื่อสาร และสรสนเทศ
- th.wikipedia.org/องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
- www.unescobkk.org /เกี่ยวกับยูเนสโก
- ยูเนสโก (UNESCO) ชื่อไกลแต่เป็นเรื่องใกล้ตัว, วันเพ็ญ อัพดัน ผุ้เชี่ยวชาญด้านต่างประเทศ.
วันเสาร์ที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2560
วันศุกร์ที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2560
World Heritage Site : Indonesia
อินโดนีเซีย องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศอินโดนีเซียทั้งสิ้น 8 แหล่ง
กลุ่มวัดบรมพุทโธ Borobudur Temple Compounds. ตามประวัติสันิษฐานว่าบุโรพุทโธน่าจะสร้างขึ้นระหว่าง ค.ศ. 778 ถึง ค.ศ.850 โดยกษัตริย์ราชวงศ์ไศเลนทร์
" Borobudur" มาจาการปสมกันระหว่าง Boroและ Budur คำว่า Boro หมายถึงวัดหรือศาลเจ้า ที่มาจากคำว่า Byara ในภาษรสันสกฤต ส่วน Budur มาจากคำว่า Beduhur ในภาษาบาหลี ที่หมายถึงภูเขา "บโรพุทโธ" จึงมีความหมายโดยรวมว่า วัดที่สร้างบนภูเขาภาษาสันสกฤต ส่วน "Budur" มาจากคำว่า Beduhur ในภาษาบาหลี ที่หมายถึงภูเขา "บุโรพุทโธ" จึงหมายโดยรวมว่า วัดทีสร้างบนภูเขา
บุโรพุทโธ เป็นพุทธสถานแบบฮินดูชวา ผสมผสานกับศิลปะแบบอินเดียและอิโดนีเซียเข้าด้วยกัน โยสร้างจากหินภูเขาไฟ เป็นรูปทรงขั้นบันไดแบบพีระมิดบนฐานสี่เหลี่ยม องค์เจดีย์มีลักษณะเป็นรูปทรงดอกบัง ซึ่งสื่อถึงสัญลัษณ์ของพระพุทธศาสนา ตามหลักฐานในประวัติศาสตร์สถานที่แห่งนี้แะบริเวณโดยรอบเป็นที่ลุ่มและถูกล้อมรอบลด้วยยน้ำทีท่วมมาจากแม่้ำโปรโก ทำให้บุโรพุทโธเปรีบบเสมือนดอกบับลอยอยู่ในน้ำ
รอบวิหารบุโรพุทโธเต็มไปด้วยหินสลักนูนต่ำ ซ้อนกันเป็นชั้นๆ ลดหลั่นกันไป แต่ละชั้นแสดงคติธรรมทางพุทธศาสนา ขึ้นแรก เป็นชั้นที่มีความหมายถึงการที่มนุษย์ยังเาะเกี่ยวอยู่กับการเวียว่ายตายเกิด และวนเวียนอยุ่กับกิเลส ตํณกา กามราคะ ที่เรียกว่าชั้น "กามธาตุ" ชั้นนี้มีภาพสลักที่น่าสนใจอยุ่ถึง 160 ภาพ เป็ฯการเล่าเรื่องราวตาม "คัมภีร์ธรรมวิวังค์" ว่าด้วยเรื่อง "กฎแห่งกรรม" ซึ่งก็คือเรื่องของบาป บุญ คุณ โทษนั่นเอง
ชั้นที่สอง คือ "รูปธาตุ" มัลักษณะเป็นขั้นบันไดรูปกลม ฐาน 6 ชั้น สูงกว่าชั้นกามธตุเล็กน้อย แสดงถึงการที่มนุษย์หลุดพ้นจากิเลส ทาโลกได้บ้างแต่ก็ยังมีส่วนที่ยึดติดกับทางโลกอยู่ และชั้นสุดท้าย คือ "อรูปธาตุ" เป็นชั้นของการปฏิบัติขั้นสูงหลุดพ้นจากิเลสตัณหา ทั้งภวตัณหาและวิภวตัฯหา ชั้นอรูปธาตุนี้มีรูปสลักนูนต่ำที่แสดงถึงพุทธประวัติถึงเกือบ 1,400 ภาพ
ในบางตำราตีความว่าแผนผังของบุโรพุทโธน่าจะหมายถึง "จักรวาล" และอำนาจของ "พระอาทิพุทธเจ้า" ซึ่งเป็นพระพุทธเจ้าผุ้ทรงสร้างโลกในพุทธศาสนาลัทธิมหายาน ซึ่งในส่วนของพระเจดีย์องค์ใหญ่ที่อยุ่บนยอดสูงสุดของ "บุโรพุทธโธ" นั้น กล่าวกันว่า เป็นสัญลักษณ์แทนองค์ "พระอาทิพุทธเจ้า" ที่ในคติดความเช่อพระพุทธศาสนานิการมหายามเชื่อว่าพระองค์คือผุ้สร้างสรรพสิ่งนั่นเอง
ในชั้นบนสุดของบุโรพุทโธ ที่ถือว่าเป็นสวยยอดสุดของวิหาร มีลักษระเป็นฐานวงกลมใหญ่ของเจดีย์องค์ประธาน เวลาที่มองมาจากที่ไกล จะเห็นเป็นเหมือนดอกบับขนาดใหญ่ ตั้งตระหง่านอยู่กลางหุบเขา มีผุ้อุปมาภาพที่ปรากฎนี้ว่าเป็นดั่งสรวงสวรรค์ ที่แสดงถึงการหลุดนจาทุกสรรพสิ่งในโลก หรือม่เรียอกว่านิพพาน อันเป็นจุดหมายสุงสนุดของศาสนาพุทธ
อีกสิ่งหนึ่งที่เปรียบเสมือนสัญลักษณ์ของ บุโรพุทโธ ก็คือ เจดีย์ทรงระฆังโปร่ง ฉลุเป้นช่องสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด เรียงรายอยุ่โดยรอบ ในเจดีย์จะมีองค์พระพุทธรูปอยู่ข้างใน ซึ่งเชื่อกันว่า ถ้าใครสามารถยื่นมือไปสัมผัสองค์พระพุทธรูปในนันได้จะสมหวังและโชคดี..
อุทยานแห่งชาติโกโมโด Komodo Nation Park โกโมโด ข้อมูลทางิทยาศาสตร์เกี่ยวกับ
มังกรโกโมโดเป็นที่รู้จักน้อยมาก เนื่องจากที่อยู่บนเกาะห่างไกลและภาวะจากสงครามดลกครั้งที่ 1 จึงได้มีการศึกษรมักรโกโมโดอย่างจริงจังโดยคณะนักวิทยาศาสรตา์และนักศร้างภาพยนตร์ชาวอเมริกัน โดยได้มีภาพยนตร์เกี่ยวกับวิถีชีวิตของมังกรโกโมโดในธรรมชาติ ภาพยนตร์ชุดนี้ได้สร้างความฮือฮาเป็นอย่างยิ่ง และในปีถัด มักรโกโมโดที่มีชีวิต 2 ตัว ก็ถูกส่งไปทวีปยุโรป
มังกรโกโมโดเป็นสัตว์ทีพบได้เฉพาะบนเกาะโกโมโดและหมู่เกาะใกล้เคียงเท่านั้น ไม่พบในที่อื่นใดของโลกอีก มีอุปนิสัยดุร้าย ชอบอยู่เป็นผูง มังกรโคโมโดเป็นสัตว์กินเนื้อเป็นอาหาร จะวิ่งล่าเหยื่อด้วยการซุ่มจู่โจมกัดเหยื่อด้วยฟันที่คม และจะวิ่งไล่ได้เพียงครั้งเดี่ยวถ้าหากมันจับเหยื่อไม่ได้ มันจะต้องอยุดน่ิงเพื่อชาร์จพลังสำหรับการวิ่งครั้งใหม่ มังกรโคโมโดเป็นสัตว์ไม่มีพิษแต่ก็เสมอืนว่ามีพิษ เนื่องจาใน้ำลายมีเชื่อแบคที่เรียอยู่มากว่า 50 ชนิด เหยื่อทีถูกกัดจะเกิดอาการโลหิตเป็นพิษ และจะถึงแก่ความตายในเวลาไม่เกิน 3 วัน ปัจจุบันมังกรโกโมโดเป้นสัตว์ที่มีสถานะเสียงต่อการสูญพันู์ โดยมีปริมาณเหลืออยู่ราว 4,000 ตัว
มังกรโกโมโดเป็น"เหี้ย"พันธุ์ใหญ่ที่สุดของโลก โตเต็มี่เมือ่มีอายุได้สิบห้าปี และมีอายุยืนกว่าห้าสิบปีในป่าธรรมชาติ ชาวพื้นเมืองบนเกาะโกโมโดเรียกว่า โอรา ora เหรือจระเข้บก ส่วนบนเกาะฟลอเรสเรียกว่า เบียวะก์ระก์ซาซา biawak raksasa หมายถึง เหี้ยหรือตะกวดยักษ์ มักรโกโมโดเป้นสัตว์ผุ้ล่า เดิมเหยื่อของมันคือช้างแคระแต่ปัจจุบันสูญพันธุ์ไปแล้ว แต่มันสามารถล้มความ กว่าง แพะ หรือแม้กระทั่งลูกของมังกรโกโมโดด้วยกันด้วยเหตุที่ลูกของมังกรโกโมโดจึงใช้เวลาช่วงแรกๆ ของชีวิตอยู่บนยอด
ของต้นไม้เพื่อไม่ให้ถูกกิน และจะป้องกันตัวด้วยการกลิ้งไปมาในมุลหรือปัสสาวะของเหยื่อ เพื่อไม่ให้ตัวที่ใหญ่กว่ากิน มังกรโกโมโดกินอาหารเดือนละครั้ง และสามารถกินได้มากถึง 3 ใน 4 ของน้ำหนักตัว
อุทยานแห่งชาติโกโมโด ชื่อเกาะทีตั้งขึ้นจาก มังกรโกโมโด หมู่เกาะซุนดาน้อย และเกาะโกโมโดตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันอออกของเกาะชวา หาดทรายสีชมพูเหนื้อละเอียด 1 ใน 7 แห่งของโลก กำเนิดจากการระเบิดของภูเขาไฟ จนเกลายเป็นเกาะขนาด 75 ตารางไมล์ ที่อุดมด้วยระบบนิเวศน์อันหลากหลาย น้ำทะเลสีฟ้าใสที่เต็มไปด้วยแนวปะการังและผูงปลาหลากสี ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 3 เกาะ คือ เกาะริงกา เกาะปาดาร์ และเกาโกโมโด และเกาะเล็กเกาะใหญ่ อีกประมาณ 26 เกาะ ซึ่งเกาะหล่านี้ต้งอยุ่ใกล้หมู่เกาะซุนดาน้อย มีพื้นที่รวมทั้งหมด 1,817 ตารางกิโลเมตร มีประชากรอาศัยอยู่ราวสีพันคน เป็นอทุยานที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อนุรักษ์สัตว์ทะเล
กลุ่มวัดปรัมบานัน Prambanan Temple Compounds ปรัมบานัน ตั้งอยู่ที่อมู่บ้านปรัมบานัน เป็นเทวสถานในเสษสนฮินดุ ลัทธิไศวนิกาย สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยชวาภาคกลางราว ค.ศ. ที่ 10 โดยพระเจ้าบาลีตุง แต่จากหนังสือประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียวงใต้ของ อี จี ฮอลล์ กล่าวว่า ผุ้สร้างปรัมบานันน่าจะเป็นพระเจ้าทักษากษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งสมัยชวาภาคกลาว ส่วนเหตุที่สร้างนั้นสันนิษฐานว่า สิ่งก่อสร้างทั้งหมด ในเทวาลัยแห่งนี้น่าจะสร้างขึ้นเพื่อเป็นสุสานบรรจุพระศพของกษัตรยิ์และสมาชิกในพระราชวงศ์
ทว่าหลังจากอีกไม่นานปรัมบานันก็ถูกละทิ้งและเสื่อลงในเวลาต่อมา จนมาในยุคปัจจุบันปรัมบานันได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในปี 1991
ปรัมบานันมีชื่อเรียกขาน อีกอย่างว่า "โลโรจงกรัง" มีที่มาากตำนานพื้นบ้าน ที่ว่ากันว่าโลโรจงกรังเป็นเจ้าหญิงแสนงาม จึงมียักษ์มาขอแต่งงาน เจ้าหญิงไม่กล้าปฏิเส แต่ทรงขอให้ยักษ์สร้างจันทิให้ได้ 1 พันหลังถึงจะแต่งงานด้วย ยักษ์จึงใช้เวทย์มนต์สร้างจันทิจนเกือบจะเสร็จสิ้น ส่วนเจ้าหญิงก็ใช้เวทมนต์ทำลายจันทิเหล่านั้นเพราะไม่ต้องการแต่างงานด้วย ทำให้ยักษ์โกรธจัดจึงสาปเจ้าหญิงให้กลายเป็นหินแล้วนำรูปมาทำประติมากรรมประดิษฐานอยู่ในปนัมบานันแห่งนี้ ซึ่งชาวบ้านเรียกขานกันว่า "รูปโลโรจกรัง"
อุทยานแห่งชาติอูจุงกูลน Ujung Kulon Nation Park ตั้งอยู่ทางปลายด้านตะวันตกเฉียงใต้
ของเกาะชวา ในจังหวัดบันเตน ประเทศอินโดนีเซย พื้นที่ของอทูยาอยุ่บนคาบสมุทรทอดยาวไปในมหาสมุทรอินเดีย โดยนอกจากพื้นที่บนเกาะชวาแล้วอทุยานยังครอคุลมส่วนหมู่เกาะนอกชายฝั่งรวมทั้งเขตอนุรักษ์ธรรมชาติเกาะการากาตังซึ่งเป็นที่ตั้งของภูเขาไฟกรากาตั้วที่เคยมีการระเบิดใหญ่ในปี 1883 อทุยานแห่งนี้มีเนื้อที่รวม 1,261 ตารางกิโลเมตร โดยแยกเป็นส่วยผืนน้ำ 443 ตารางกิโลเมตรน ฌเยแยกเป็นส่วนผืนน้ำ 443 ตารางกิโลเมตร แต่เดิมพื้นที่ของคาบสมุทรอูจุง กูลอนมีประชากรแาศัยอยุ่ค่อยข้างหนาแน่น ทว่าในปี 1883 เมื่อภูเขาไฟกรากาตั้งเกิดการระเบิดอย่างรุนแรงส่งผลให้เกิดคลื่นยักษ์กวาดล้างหมุ่บ้าน
ตามชายฝั่งและเกะดดยรอลล ทำใหมีผุ้เสียชชีวิตมากกว่า 36,000 คน แลกเกิดเถ้าถ่านปกคลุมพื้นที่ดดยรอบหนากว่าหนึ่งฟุต ความรุนแรงของะเหจุการ์ที่เกิดขึ้นทำให้ประชาชนที่เหลือรอด อพยพ อออกไปเป็นอนมากทิ้งให้พื้นที่ดังกล่าวกลายเป็นเขตรกร้างที่ซึ่งต่อมาในปี 1980 พื้นที่ดังกลาวและป่าใกล้เคียงก็ถูกประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ ๓ิมิประเทศผืนป่าของอูจง กุลอน ประกอบด้วยป่าดิบที่ลุ่มต่ำ ทุ่งหย็า ป่าชายเลน ชายหาดและทะเล ซึ่งเป็นที่อยุชองสัตว์ป่าหลายชนิด เช่น วัแดงชวา ชะนีขนเหงิน ค่างชวา เสือดาว นกยู่ นกเงือก กว่างรูซ่า หมาในนอกจากนี ที่นี่ยังเป้ฯที่มั่นสุดท้ายของสัตว์ป่าที่หายากที่สุดชนิดหนึ่งของโลก นั่นคื แรดชวา แรดชวามชื่อเป็นทางการคื อแรดซันไดกัส มนมีลักษระคล้ายแรดอินเดีย ทว่ามีขนาดเล็กว่าและผิวหนังเป็นรอบตารางผิดกับแรดอินเดียที่เป็นปุ่มปมรวมทั้งลักษณะรอยพับของหนังที่หลังคอก็มีความแตกต่างกันโดยของแรดชวาจะมีแผ่นหนังลักษระคล้ายอานม้าอยู่ด้านหลังคอ แรดตัวผุ้มีนอเดียว ขณะที่แรดตัวเมียโดยทั่วไป ไม่มีนอหรือถ้ามี ก็เล็กมากพวกแรดเป็นสัตว์สันโดษ มักอยุ่ตามลำพัง หรืออยู่เป็นคู่เท่านั้น
ในอดีต แรดชวา เคยอาศัยอยุ่ทั่วไปในกาะชวา จนถึงแหลมมลายู เรื่อยขึ้นไปถึงพม่า ไทย ลาว กัมพุชาและเวียดนาม จนถึงจีนตอนใต้ ทว่าการบล่าเพื่อมุ่งหวังนอและอวัยวะอื่นๆ ที่มีราคาแพง เหนื่องจากมีความเชื่อว่า เป็น่วประกอบของยาแผนโบราณที่สำคัญและมีคุณสมบัติทั้งในการบำรุงสมรรถภาพทาเพศไปจนถึงรักษาโรคร้ายได้สารพัด ส่งผลให้ประชกรแรดถูกล่าจนลดจำนวนลงและสูญพันธุ์ไปจากหลายพื้นที่ กระทั่งเมื่อสิ้นศตวรรษที่ 20 ก็เหลือแรดชาอยุ่ในสองพื้นที่คือ ป่าสงนคาเกตียน ของเวีตนามและอทุยานแห่งชาติ อูจุงกูลอน ของอินโดนีเซีย ทว่าการลักลอบล่าของพรานเถื่อนยังคงล้างผลาญประชากรแรดอย่างต่อเนื่อง
และในปี ค.ศ. 2010 แรดในเวียตนามตัวสุดท้ายก็ถูกพรานสังหารทำให้แรดชวาสูญพันธุ์ไปจากแผ่นดินใหญ่โดยสิ้นเชิง โดยเหลือเพียงประกรกลุ่มสุดทายในอุทยานแห่งชาติ อูจุง กูลอนเท่านั้น ซึ่งจากการสำรวจพบว่า ปัจจุบันมีประชารแรดชวาอยู่ที่นี่ราวห้าสิบตัวโดยถือว่าสถานการณ์ของพวกมันนับว่าเหข้าขั้นวิกฤตเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์เป็นอย่างยิ่งทำให้ต้องมีการจัดเจ้าหน้าที่คอยเผ้าระวงอย่างเข้มวงดเพื่อป้องกนการลักลอบล่าสัตว์หายากชนิดนี้
นอกจากแรดชวาแล้ว ที่นี่ยังเป็นแหล่งอาศัยสำคัญของวัวแดง ซึ่งเป็นสัตว์ป่าหายากอีกชนิดหนึ่ง ดดยปัจจุบันมีวัวแดงอาศัยอยู่ในป่าธรรมชาิดไม่เกิน 8,000 ตัว ซึ่งที่อทุยานอูจุง กูลอน ถือเป็นแหล่งที่มประชกรวัวแดงอยู่มากที่สุด โดยวัวแดงที่นี้เป็นวัวแดงพันธ์ุชวา ซึ่งมีลักษณะเด่นคือวัวตัวผุ้เมื่อโตเต็มวัยจะมีขนสีน้ำตาลเข้มอมดำขณะที่ตัวเมียจะมีสีน้ำตาลแดง ศัตรูตามธรรมชาติของวัวแดงที่นี้ ได้แก่ เสื่อดาวและหมาในขณะที่เสือโคร่งซึ่งเคยมีอยุ่บนเกาะชวาได้สูญพันู์ไปหมดตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 20 แล้ว
แหล่งมนุษย์ยุคเริ่มแรกซางีรัน Sangiran Early Man Site แหล่งโบราณคดีชุดค้นพบตั้งแต่ปี ค.ศ. 1936-1941 พบฟอสซิลมนุษย์ และต่อมาก็พบฟอสซิล 50 ซาก โดยครึ่งหนึ่งเป็นฟอสซิลมนุษย์ เป็ฯที่อยุ่อาศัยในอดีตรวว 1 ล้านปีครึ่ง หรือที่รู้จักกันว่า "มนุษย์ชวา" เป็นชื่อตั้งตามฟอสซิลที่ขุดพบในปี 1891 โดยศัลยแพทย์ชาวดัตช์ที่ชื่อ เออแฌน ดูว์บับ เมื่อปี 1891 ที่ตำบลตรีนิล บรเิวณลุ่มแม่น้ำโซโล ในเกาะชวาภาคกลาง นักมานุษยวิทยาได้จัดมนุษย์ชวาเที่พบนี้ว่าเป็นมนุษย์วานร ซึ่งจัดเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ มีชีวิตอยู่ในยุคน้ำแข็งตอนต้น โดยขยายตัวจากชวาเข้าสู่อินโดจีนไปจนถึงภาคเหนือของประเทศจีน โดยในจีนพบวิวัฒนาการที่ดีกว่าที่ชวาเล็กอน้อย เรียกว่ามนุษย์ปักกิ่ง แต่อย่างไรก็ตามมนุษย์ชวายังไม่ถือว่าเป็นมนุษย์อย่างแท้จริง ถึงแม้ว่าจะสามารถทรงตัวอยุ่บนขาทั้งสองข้างและมีลักษระลำตัวตรงแล้วแต่ไม่สามารถตั้งตรงได้ที่เดียว และขนาดของสมองยังเล็กว่าของสมองลิงขนาดใหญ่เล็กน้อย มีส่วนสุงประมาณ 5 ฟุต 7 นิ้ว มีน้ำหนักตัวประมาณ 150 ปอนด์
อุทยานแห่งชาติโลเรินตส์ Lorentz National Park อุทยานแห่งชาติลอเรนซื มีพื้นที่ 2.5 ล้าน
เฮคเตอร์ เป็ฯเขตอนุรักษ์ที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นพื้นที่เพียงแห่งเดี่ยวในโลก ที่เชื่อมพื้นที่ยอดเขามีกิมะหกคลุมกับสิ่งแวดล้อม ทางทะเลเขตต้อนรวมถึงพื้นที่ชุมน้ำ โดยที่บริเวณนี้ตั้งอยุ่บนจุดบรรจบของสองแผ่นทวีปที่เลื่อนเข้าหากัน พื้นที่จึงมีความซับซือ้ทางธราณีวิทยามี การก่อตัวของภูเขาและธารน้ำแข็ง บริเวณนี้บังมีแหล่งฟอสซิลซึ่งเป็นหลักฐานของวิวัฒนาการของชีวิตบน เกาะนิวกีนี และมีความหลากหลายทางชีวภาพสูงสุดในภูมิภาค
อุทยานแห่งชาติดลเรนซ์ คือพื้นที่อนุรักษ์ที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และยังเป็นพ้นที่อนุรักษ์ที่มีาภาพแวดล้อมหลากหลายมากที่สุดในโลก ตั้งแตแหล่งชุ่มน้ำริมทะเล ป่าฝนเขตร้อนจนถึงภูเขาหิมะ นอกจากนั้นยังได้ขุดพบฟอสซิลของสิงมีชีวิตต่างๆ ซึ่งเป็นหลักฐานอย่างดีเยี่ยมที่แสดงถึงความหลากหลายทางชีวภาพตึ้งแต่ยุคบรรพกาล
คือชื่อแหล่งมรดกโลกของประเทศอินโดนีเซียที่ตั้งอยู่บนเกาะสุมาตรา ประกอบด้วยเขตอุทยานแห่งชาติ 3 แห่งได้แก่ อุทยานแห่งชาติกุนุงลูเซอร์, อุทยานแห่งชาติเครินซีเซบลัตและอทุยานแห่งชาติบูกิตบาริซานเซลาตัน
มรดกผ่าฝนเขตร้อนของเกาะสุมาตรา Tropical Rainforest Heritage of Sumatra
อุทยานแห่งชาติทั้ง 3 แห่งได้ร่วมกันขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกภายใต้ชื่อ "มรดกของป่าฝนเขตร้อนบนเกาะสุมาตรา" ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก ด้วยข้อกำหนดดังนี้
- เป็นตัวอย่างมี่เด่นชัดของการเป็นตัวแทนในวิวัฒนาการสำคัญต่างๆ ในอดีตของโลก เช่น ยุคสัตว์เลื้อยคลาน ยุคน้ำแข็ง ซึ่งสะท้อนให้เก็นถึงการพัฒนาความหลากหลายทางธรรมชาติบนพื้นโลก
- เป็นแหล่งที่เกิดจาปรากฎการณ์ทางธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์หายากหรือสวยงามมเป็ฯพิเศษ เช่น แม่น้ำ น้ำตก ภูเขา
- เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของชนิดสัตว์และพันธุ์พืชที่หายากหรือที่ตกอยู่ในสภาวะ อันตราย แต่ยังคงสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ ซึ่งรวมถึงระบบนิเวศอันเป็นแหล่งตวมความอุดมสมบูรณ์ของพืชและสัตว์ที่ทั่ว โลกให้ความสนใจด้วย
ภูมิทัศน์วัฒนธรรมของจังหวัดบาหลี : ระบบซูบะก์ หลักการตามปรัชญาไตรหิตครณะ
ภุมิวัฒนธรรมเขตบาหีนี้แดงให้เก็นถึงหลักการถ้อยที่ถ้อยอาศัยอันสร้างคึามสมดุลและความกลมกลืนระหว่างมนุษย์ ศาสนาและธรรมชาติจนก่อให้เกิดรูปแบบกสิกรรมขั้นบันไดอันยั่งยืนและรังสรรค์ภูมิประเทศอันโดดเด่น
ระบบซูบะก์เป็ฯวิธีชลประทานแบบดั้งเดิมบนเกาะบาหลีที่เกิดขึ้นในรววคริสต์ศตวรรษที่ 10 มีลักษระเป็นสถาบันทางสังคมและศษสนาเปรีบเที่ยบ เที่ยบได้กับ "สหกร์ชาวบ้าน" ที่ผนวกศาสนา ความเชื่อเทคโนโลยีการเกษตร วัฒนธรรมและการเมืองท้องถิ่นไว้ด้วยกัน โดยกำหนดให้มีพื้นที่ซึ่งมีขอบเขตคล้ายหมู่บ้าน ปกครองโดยคนในพื้นที่มี "อุทกอาราม" หรือ วัดน้ำ เป็นสูนย์กลางในการบริหารจัดการน้ำ ส่วนประกอบที่สำคัญ คือ เครือข่ายทางขนส่งน้ำที่ซับซ้อนและอุโมงค์ที่สร้างโดยกาเจาะหินและต่อไม่ไผ่เพื่อส่งน้ำซึ่งบางสายยาวกว่ากิโลเมตร ต้องสร้างและดูแลโดยช่างผีมือโดยเฉพาะในการนำน้ำเข้าไปสู่นาขึ้นบันไดชั้นบนสุดของเนินเขาก่อนปล่อยให้ไหลลงสู่นาข้าวเบื้องล่าง
หลักที่สำคัญของระบบซุบะก์คือ ปรัชญาไตรหิตครณะ หรือหลักความสมดุลกลมกลืน 3 ประการ อันเป็ฯหลักการสร้างความสงบสุขแก่ชีวิตที่รมาจากศษสนาฮินดูในอินเดียยประกอบด้วย ความสมดุลและความกลมกลืนระหว่างมนุษย์กับเทพเจ้า มนุษย์กับมนุษย์ และมนุษย์กับธรรมชาติ
ระบบซุบะก์ มีการคิดค้นเป็นเวลานานกว่า พันปี สำหรับชาวบาหลีระบบชลประทานบนเกาะนั้นไม่ง่ายที่จะจัดหาน้ำสำหรับพืชพรรณต่างๆ แต่น้ำถูกใช้ในการสร้างระบบนิเวศเที่ยม นาข้าวในบาหลีถูกสร้างรอบๆ วัด และการจัดสรรน้ำถูกสร้างโดยนักบวช ซูบะก์คือระบบชลประทานที่ยั่งยืนตามธรรมชาติซึ่งผูกสังคมเกษตรกรรมบาหลีเข้าด้วยกันภายในศูนย์ชุมชนของหมู่บ้านและวัดบาหลี ครอบคลุม 19,500 เฮกตาร์ การจัดการน้ำอยู่ภายใต้อำนาจหน้าที่ของนักบวชในวัดต่างๆ ซึ่งมีการฝึกฝนปรัชญาไตรหิตครณะ หรือความสัมพันธ์ของอินแดนระหว่างวิญญาณโลกมนุษย์ และพระเจ้า ไตรหิตรครณะเกี่ยวข้องกับวิธีการโบราณตามอย่างในอินเดียโดยฤาษีในศาสนาฮินดู
- อุทกอารามหลวงปุระ ตามัน อายุน เป็นวัดที่ีมีขนาดใหญ่ที่สุดและมีสถาปัตยกรรมที่โดเด่นต่างจากวัดน้ำแห่งอื่น สร้างขึ้นในคริสต์วรรษที่ 17 เพื่อใช้ประกอบพิธีกรรมของกษัตริย์เม็งวีในอดีต กำแพงประตูวัดก่อด้วยหินสูง มีประตูเล็กหลายบานที่สลักเสลางดงาม หลังคาปูด้วยหญ้าอลัง อลัง มีคูน้ำล้อมรอบวัดราวสรวงสวรรค์ กลางกระแสธารา
- ภูมิทัศน์ซูบะก์แห่งลุ่มน้ำปาเกอรีซัน ประกอบไปด้วยซูบะก์หลายแห่ง เช่น ซูบะก์แห่งหมู่ย้านกูลูบ ซูบะก์แห่งหมู่บ้านตัมปะซีรังและแหล่งกุนุง กาวีเป็นบริเวณที่มีการค้นพบเครื่องมือเครื่องใช้โบราณ ทั้งยังปรากฎวัดและศาสนาสถานเรียงรายตามขอบผาริมฝั่งแม่น้ำอันแสดงชีวิตของชาวบาหลีรที่ยึดถือตามหลักไตรหิตครณะ
- ภูมิทัศน์ ประกอบด้วยกลุ่มซูบะก์ ราว 15 แห่ง ระบบซูบะก์ที่มีความโดดเด่นในภูมิทัศน์แห่งนี้ได้แก่ ซูบะก์แห่งปมู่บ้านจาตีลูวีห์ ซึ่งมีขนาดใหญ๋ที่สุดและสวยที่สุดในบาหลี และยังเป็นหมุ่บ้านเดี่ยวที่ปลูก ปาดีบาหลีหรือข้าวพันธุ์ท้องถ่ินที่มีลำต้นสวยสง่าแก่งปมู่บ้านจาตีลูวีห์
- www.manager.co.th/มหัสจรรย์ "บุโรพุทโธ" พุทธสถานในแดนอิเหนา, สวัสดีอินโด(จบ) : "ปรัมมานัน" มหัศจรรย์วิหารฮินดู
- www.th.wikipedia.org/ มังกรโกโมโด, มรดกป่าฝนเขตร้อนบนเกาะสุมาตรา
- komkid.com อุจุง กูลอน ที่มั่นสุดท้ายของแรดชวา
- www.wikiwand.com มนุษย์ชวา
- www.uasean.com อุทยานแห่งชาติโลเรนซ์
- http//nuchalertchic.wordpress.com/ภูมิวัฒนธรรมเขตบาหลี
กลุ่มวัดบรมพุทโธ Borobudur Temple Compounds. ตามประวัติสันิษฐานว่าบุโรพุทโธน่าจะสร้างขึ้นระหว่าง ค.ศ. 778 ถึง ค.ศ.850 โดยกษัตริย์ราชวงศ์ไศเลนทร์
" Borobudur" มาจาการปสมกันระหว่าง Boroและ Budur คำว่า Boro หมายถึงวัดหรือศาลเจ้า ที่มาจากคำว่า Byara ในภาษรสันสกฤต ส่วน Budur มาจากคำว่า Beduhur ในภาษาบาหลี ที่หมายถึงภูเขา "บโรพุทโธ" จึงมีความหมายโดยรวมว่า วัดที่สร้างบนภูเขาภาษาสันสกฤต ส่วน "Budur" มาจากคำว่า Beduhur ในภาษาบาหลี ที่หมายถึงภูเขา "บุโรพุทโธ" จึงหมายโดยรวมว่า วัดทีสร้างบนภูเขา
บุโรพุทโธ เป็นพุทธสถานแบบฮินดูชวา ผสมผสานกับศิลปะแบบอินเดียและอิโดนีเซียเข้าด้วยกัน โยสร้างจากหินภูเขาไฟ เป็นรูปทรงขั้นบันไดแบบพีระมิดบนฐานสี่เหลี่ยม องค์เจดีย์มีลักษณะเป็นรูปทรงดอกบัง ซึ่งสื่อถึงสัญลัษณ์ของพระพุทธศาสนา ตามหลักฐานในประวัติศาสตร์สถานที่แห่งนี้แะบริเวณโดยรอบเป็นที่ลุ่มและถูกล้อมรอบลด้วยยน้ำทีท่วมมาจากแม่้ำโปรโก ทำให้บุโรพุทโธเปรีบบเสมือนดอกบับลอยอยู่ในน้ำ
รอบวิหารบุโรพุทโธเต็มไปด้วยหินสลักนูนต่ำ ซ้อนกันเป็นชั้นๆ ลดหลั่นกันไป แต่ละชั้นแสดงคติธรรมทางพุทธศาสนา ขึ้นแรก เป็นชั้นที่มีความหมายถึงการที่มนุษย์ยังเาะเกี่ยวอยู่กับการเวียว่ายตายเกิด และวนเวียนอยุ่กับกิเลส ตํณกา กามราคะ ที่เรียกว่าชั้น "กามธาตุ" ชั้นนี้มีภาพสลักที่น่าสนใจอยุ่ถึง 160 ภาพ เป็ฯการเล่าเรื่องราวตาม "คัมภีร์ธรรมวิวังค์" ว่าด้วยเรื่อง "กฎแห่งกรรม" ซึ่งก็คือเรื่องของบาป บุญ คุณ โทษนั่นเอง
ชั้นที่สอง คือ "รูปธาตุ" มัลักษณะเป็นขั้นบันไดรูปกลม ฐาน 6 ชั้น สูงกว่าชั้นกามธตุเล็กน้อย แสดงถึงการที่มนุษย์หลุดพ้นจากิเลส ทาโลกได้บ้างแต่ก็ยังมีส่วนที่ยึดติดกับทางโลกอยู่ และชั้นสุดท้าย คือ "อรูปธาตุ" เป็นชั้นของการปฏิบัติขั้นสูงหลุดพ้นจากิเลสตัณหา ทั้งภวตัณหาและวิภวตัฯหา ชั้นอรูปธาตุนี้มีรูปสลักนูนต่ำที่แสดงถึงพุทธประวัติถึงเกือบ 1,400 ภาพ
ในบางตำราตีความว่าแผนผังของบุโรพุทโธน่าจะหมายถึง "จักรวาล" และอำนาจของ "พระอาทิพุทธเจ้า" ซึ่งเป็นพระพุทธเจ้าผุ้ทรงสร้างโลกในพุทธศาสนาลัทธิมหายาน ซึ่งในส่วนของพระเจดีย์องค์ใหญ่ที่อยุ่บนยอดสูงสุดของ "บุโรพุทธโธ" นั้น กล่าวกันว่า เป็นสัญลักษณ์แทนองค์ "พระอาทิพุทธเจ้า" ที่ในคติดความเช่อพระพุทธศาสนานิการมหายามเชื่อว่าพระองค์คือผุ้สร้างสรรพสิ่งนั่นเอง
ในชั้นบนสุดของบุโรพุทโธ ที่ถือว่าเป็นสวยยอดสุดของวิหาร มีลักษระเป็นฐานวงกลมใหญ่ของเจดีย์องค์ประธาน เวลาที่มองมาจากที่ไกล จะเห็นเป็นเหมือนดอกบับขนาดใหญ่ ตั้งตระหง่านอยู่กลางหุบเขา มีผุ้อุปมาภาพที่ปรากฎนี้ว่าเป็นดั่งสรวงสวรรค์ ที่แสดงถึงการหลุดนจาทุกสรรพสิ่งในโลก หรือม่เรียอกว่านิพพาน อันเป็นจุดหมายสุงสนุดของศาสนาพุทธ
อีกสิ่งหนึ่งที่เปรียบเสมือนสัญลักษณ์ของ บุโรพุทโธ ก็คือ เจดีย์ทรงระฆังโปร่ง ฉลุเป้นช่องสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด เรียงรายอยุ่โดยรอบ ในเจดีย์จะมีองค์พระพุทธรูปอยู่ข้างใน ซึ่งเชื่อกันว่า ถ้าใครสามารถยื่นมือไปสัมผัสองค์พระพุทธรูปในนันได้จะสมหวังและโชคดี..
อุทยานแห่งชาติโกโมโด Komodo Nation Park โกโมโด ข้อมูลทางิทยาศาสตร์เกี่ยวกับ
มังกรโกโมโดเป็นที่รู้จักน้อยมาก เนื่องจากที่อยู่บนเกาะห่างไกลและภาวะจากสงครามดลกครั้งที่ 1 จึงได้มีการศึกษรมักรโกโมโดอย่างจริงจังโดยคณะนักวิทยาศาสรตา์และนักศร้างภาพยนตร์ชาวอเมริกัน โดยได้มีภาพยนตร์เกี่ยวกับวิถีชีวิตของมังกรโกโมโดในธรรมชาติ ภาพยนตร์ชุดนี้ได้สร้างความฮือฮาเป็นอย่างยิ่ง และในปีถัด มักรโกโมโดที่มีชีวิต 2 ตัว ก็ถูกส่งไปทวีปยุโรป
มังกรโกโมโดเป็นสัตว์ทีพบได้เฉพาะบนเกาะโกโมโดและหมู่เกาะใกล้เคียงเท่านั้น ไม่พบในที่อื่นใดของโลกอีก มีอุปนิสัยดุร้าย ชอบอยู่เป็นผูง มังกรโคโมโดเป็นสัตว์กินเนื้อเป็นอาหาร จะวิ่งล่าเหยื่อด้วยการซุ่มจู่โจมกัดเหยื่อด้วยฟันที่คม และจะวิ่งไล่ได้เพียงครั้งเดี่ยวถ้าหากมันจับเหยื่อไม่ได้ มันจะต้องอยุดน่ิงเพื่อชาร์จพลังสำหรับการวิ่งครั้งใหม่ มังกรโคโมโดเป็นสัตว์ไม่มีพิษแต่ก็เสมอืนว่ามีพิษ เนื่องจาใน้ำลายมีเชื่อแบคที่เรียอยู่มากว่า 50 ชนิด เหยื่อทีถูกกัดจะเกิดอาการโลหิตเป็นพิษ และจะถึงแก่ความตายในเวลาไม่เกิน 3 วัน ปัจจุบันมังกรโกโมโดเป้นสัตว์ที่มีสถานะเสียงต่อการสูญพันู์ โดยมีปริมาณเหลืออยู่ราว 4,000 ตัว
มังกรโกโมโดเป็น"เหี้ย"พันธุ์ใหญ่ที่สุดของโลก โตเต็มี่เมือ่มีอายุได้สิบห้าปี และมีอายุยืนกว่าห้าสิบปีในป่าธรรมชาติ ชาวพื้นเมืองบนเกาะโกโมโดเรียกว่า โอรา ora เหรือจระเข้บก ส่วนบนเกาะฟลอเรสเรียกว่า เบียวะก์ระก์ซาซา biawak raksasa หมายถึง เหี้ยหรือตะกวดยักษ์ มักรโกโมโดเป้นสัตว์ผุ้ล่า เดิมเหยื่อของมันคือช้างแคระแต่ปัจจุบันสูญพันธุ์ไปแล้ว แต่มันสามารถล้มความ กว่าง แพะ หรือแม้กระทั่งลูกของมังกรโกโมโดด้วยกันด้วยเหตุที่ลูกของมังกรโกโมโดจึงใช้เวลาช่วงแรกๆ ของชีวิตอยู่บนยอด
ของต้นไม้เพื่อไม่ให้ถูกกิน และจะป้องกันตัวด้วยการกลิ้งไปมาในมุลหรือปัสสาวะของเหยื่อ เพื่อไม่ให้ตัวที่ใหญ่กว่ากิน มังกรโกโมโดกินอาหารเดือนละครั้ง และสามารถกินได้มากถึง 3 ใน 4 ของน้ำหนักตัว
อุทยานแห่งชาติโกโมโด ชื่อเกาะทีตั้งขึ้นจาก มังกรโกโมโด หมู่เกาะซุนดาน้อย และเกาะโกโมโดตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันอออกของเกาะชวา หาดทรายสีชมพูเหนื้อละเอียด 1 ใน 7 แห่งของโลก กำเนิดจากการระเบิดของภูเขาไฟ จนเกลายเป็นเกาะขนาด 75 ตารางไมล์ ที่อุดมด้วยระบบนิเวศน์อันหลากหลาย น้ำทะเลสีฟ้าใสที่เต็มไปด้วยแนวปะการังและผูงปลาหลากสี ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 3 เกาะ คือ เกาะริงกา เกาะปาดาร์ และเกาโกโมโด และเกาะเล็กเกาะใหญ่ อีกประมาณ 26 เกาะ ซึ่งเกาะหล่านี้ต้งอยุ่ใกล้หมู่เกาะซุนดาน้อย มีพื้นที่รวมทั้งหมด 1,817 ตารางกิโลเมตร มีประชากรอาศัยอยู่ราวสีพันคน เป็นอทุยานที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อนุรักษ์สัตว์ทะเล
กลุ่มวัดปรัมบานัน Prambanan Temple Compounds ปรัมบานัน ตั้งอยู่ที่อมู่บ้านปรัมบานัน เป็นเทวสถานในเสษสนฮินดุ ลัทธิไศวนิกาย สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยชวาภาคกลางราว ค.ศ. ที่ 10 โดยพระเจ้าบาลีตุง แต่จากหนังสือประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียวงใต้ของ อี จี ฮอลล์ กล่าวว่า ผุ้สร้างปรัมบานันน่าจะเป็นพระเจ้าทักษากษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งสมัยชวาภาคกลาว ส่วนเหตุที่สร้างนั้นสันนิษฐานว่า สิ่งก่อสร้างทั้งหมด ในเทวาลัยแห่งนี้น่าจะสร้างขึ้นเพื่อเป็นสุสานบรรจุพระศพของกษัตรยิ์และสมาชิกในพระราชวงศ์
ทว่าหลังจากอีกไม่นานปรัมบานันก็ถูกละทิ้งและเสื่อลงในเวลาต่อมา จนมาในยุคปัจจุบันปรัมบานันได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในปี 1991
ปรัมบานันมีชื่อเรียกขาน อีกอย่างว่า "โลโรจงกรัง" มีที่มาากตำนานพื้นบ้าน ที่ว่ากันว่าโลโรจงกรังเป็นเจ้าหญิงแสนงาม จึงมียักษ์มาขอแต่งงาน เจ้าหญิงไม่กล้าปฏิเส แต่ทรงขอให้ยักษ์สร้างจันทิให้ได้ 1 พันหลังถึงจะแต่งงานด้วย ยักษ์จึงใช้เวทย์มนต์สร้างจันทิจนเกือบจะเสร็จสิ้น ส่วนเจ้าหญิงก็ใช้เวทมนต์ทำลายจันทิเหล่านั้นเพราะไม่ต้องการแต่างงานด้วย ทำให้ยักษ์โกรธจัดจึงสาปเจ้าหญิงให้กลายเป็นหินแล้วนำรูปมาทำประติมากรรมประดิษฐานอยู่ในปนัมบานันแห่งนี้ ซึ่งชาวบ้านเรียกขานกันว่า "รูปโลโรจกรัง"
อุทยานแห่งชาติอูจุงกูลน Ujung Kulon Nation Park ตั้งอยู่ทางปลายด้านตะวันตกเฉียงใต้
ของเกาะชวา ในจังหวัดบันเตน ประเทศอินโดนีเซย พื้นที่ของอทูยาอยุ่บนคาบสมุทรทอดยาวไปในมหาสมุทรอินเดีย โดยนอกจากพื้นที่บนเกาะชวาแล้วอทุยานยังครอคุลมส่วนหมู่เกาะนอกชายฝั่งรวมทั้งเขตอนุรักษ์ธรรมชาติเกาะการากาตังซึ่งเป็นที่ตั้งของภูเขาไฟกรากาตั้วที่เคยมีการระเบิดใหญ่ในปี 1883 อทุยานแห่งนี้มีเนื้อที่รวม 1,261 ตารางกิโลเมตร โดยแยกเป็นส่วยผืนน้ำ 443 ตารางกิโลเมตรน ฌเยแยกเป็นส่วนผืนน้ำ 443 ตารางกิโลเมตร แต่เดิมพื้นที่ของคาบสมุทรอูจุง กูลอนมีประชากรแาศัยอยุ่ค่อยข้างหนาแน่น ทว่าในปี 1883 เมื่อภูเขาไฟกรากาตั้งเกิดการระเบิดอย่างรุนแรงส่งผลให้เกิดคลื่นยักษ์กวาดล้างหมุ่บ้าน
ตามชายฝั่งและเกะดดยรอลล ทำใหมีผุ้เสียชชีวิตมากกว่า 36,000 คน แลกเกิดเถ้าถ่านปกคลุมพื้นที่ดดยรอบหนากว่าหนึ่งฟุต ความรุนแรงของะเหจุการ์ที่เกิดขึ้นทำให้ประชาชนที่เหลือรอด อพยพ อออกไปเป็นอนมากทิ้งให้พื้นที่ดังกล่าวกลายเป็นเขตรกร้างที่ซึ่งต่อมาในปี 1980 พื้นที่ดังกลาวและป่าใกล้เคียงก็ถูกประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ ๓ิมิประเทศผืนป่าของอูจง กุลอน ประกอบด้วยป่าดิบที่ลุ่มต่ำ ทุ่งหย็า ป่าชายเลน ชายหาดและทะเล ซึ่งเป็นที่อยุชองสัตว์ป่าหลายชนิด เช่น วัแดงชวา ชะนีขนเหงิน ค่างชวา เสือดาว นกยู่ นกเงือก กว่างรูซ่า หมาในนอกจากนี ที่นี่ยังเป้ฯที่มั่นสุดท้ายของสัตว์ป่าที่หายากที่สุดชนิดหนึ่งของโลก นั่นคื แรดชวา แรดชวามชื่อเป็นทางการคื อแรดซันไดกัส มนมีลักษระคล้ายแรดอินเดีย ทว่ามีขนาดเล็กว่าและผิวหนังเป็นรอบตารางผิดกับแรดอินเดียที่เป็นปุ่มปมรวมทั้งลักษณะรอยพับของหนังที่หลังคอก็มีความแตกต่างกันโดยของแรดชวาจะมีแผ่นหนังลักษระคล้ายอานม้าอยู่ด้านหลังคอ แรดตัวผุ้มีนอเดียว ขณะที่แรดตัวเมียโดยทั่วไป ไม่มีนอหรือถ้ามี ก็เล็กมากพวกแรดเป็นสัตว์สันโดษ มักอยุ่ตามลำพัง หรืออยู่เป็นคู่เท่านั้น
ในอดีต แรดชวา เคยอาศัยอยุ่ทั่วไปในกาะชวา จนถึงแหลมมลายู เรื่อยขึ้นไปถึงพม่า ไทย ลาว กัมพุชาและเวียดนาม จนถึงจีนตอนใต้ ทว่าการบล่าเพื่อมุ่งหวังนอและอวัยวะอื่นๆ ที่มีราคาแพง เหนื่องจากมีความเชื่อว่า เป็น่วประกอบของยาแผนโบราณที่สำคัญและมีคุณสมบัติทั้งในการบำรุงสมรรถภาพทาเพศไปจนถึงรักษาโรคร้ายได้สารพัด ส่งผลให้ประชกรแรดถูกล่าจนลดจำนวนลงและสูญพันธุ์ไปจากหลายพื้นที่ กระทั่งเมื่อสิ้นศตวรรษที่ 20 ก็เหลือแรดชาอยุ่ในสองพื้นที่คือ ป่าสงนคาเกตียน ของเวีตนามและอทุยานแห่งชาติ อูจุงกูลอน ของอินโดนีเซีย ทว่าการลักลอบล่าของพรานเถื่อนยังคงล้างผลาญประชากรแรดอย่างต่อเนื่อง
และในปี ค.ศ. 2010 แรดในเวียตนามตัวสุดท้ายก็ถูกพรานสังหารทำให้แรดชวาสูญพันธุ์ไปจากแผ่นดินใหญ่โดยสิ้นเชิง โดยเหลือเพียงประกรกลุ่มสุดทายในอุทยานแห่งชาติ อูจุง กูลอนเท่านั้น ซึ่งจากการสำรวจพบว่า ปัจจุบันมีประชารแรดชวาอยู่ที่นี่ราวห้าสิบตัวโดยถือว่าสถานการณ์ของพวกมันนับว่าเหข้าขั้นวิกฤตเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์เป็นอย่างยิ่งทำให้ต้องมีการจัดเจ้าหน้าที่คอยเผ้าระวงอย่างเข้มวงดเพื่อป้องกนการลักลอบล่าสัตว์หายากชนิดนี้
นอกจากแรดชวาแล้ว ที่นี่ยังเป็นแหล่งอาศัยสำคัญของวัวแดง ซึ่งเป็นสัตว์ป่าหายากอีกชนิดหนึ่ง ดดยปัจจุบันมีวัวแดงอาศัยอยู่ในป่าธรรมชาิดไม่เกิน 8,000 ตัว ซึ่งที่อทุยานอูจุง กูลอน ถือเป็นแหล่งที่มประชกรวัวแดงอยู่มากที่สุด โดยวัวแดงที่นี้เป็นวัวแดงพันธ์ุชวา ซึ่งมีลักษณะเด่นคือวัวตัวผุ้เมื่อโตเต็มวัยจะมีขนสีน้ำตาลเข้มอมดำขณะที่ตัวเมียจะมีสีน้ำตาลแดง ศัตรูตามธรรมชาติของวัวแดงที่นี้ ได้แก่ เสื่อดาวและหมาในขณะที่เสือโคร่งซึ่งเคยมีอยุ่บนเกาะชวาได้สูญพันู์ไปหมดตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 20 แล้ว
แหล่งมนุษย์ยุคเริ่มแรกซางีรัน Sangiran Early Man Site แหล่งโบราณคดีชุดค้นพบตั้งแต่ปี ค.ศ. 1936-1941 พบฟอสซิลมนุษย์ และต่อมาก็พบฟอสซิล 50 ซาก โดยครึ่งหนึ่งเป็นฟอสซิลมนุษย์ เป็ฯที่อยุ่อาศัยในอดีตรวว 1 ล้านปีครึ่ง หรือที่รู้จักกันว่า "มนุษย์ชวา" เป็นชื่อตั้งตามฟอสซิลที่ขุดพบในปี 1891 โดยศัลยแพทย์ชาวดัตช์ที่ชื่อ เออแฌน ดูว์บับ เมื่อปี 1891 ที่ตำบลตรีนิล บรเิวณลุ่มแม่น้ำโซโล ในเกาะชวาภาคกลาง นักมานุษยวิทยาได้จัดมนุษย์ชวาเที่พบนี้ว่าเป็นมนุษย์วานร ซึ่งจัดเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ มีชีวิตอยู่ในยุคน้ำแข็งตอนต้น โดยขยายตัวจากชวาเข้าสู่อินโดจีนไปจนถึงภาคเหนือของประเทศจีน โดยในจีนพบวิวัฒนาการที่ดีกว่าที่ชวาเล็กอน้อย เรียกว่ามนุษย์ปักกิ่ง แต่อย่างไรก็ตามมนุษย์ชวายังไม่ถือว่าเป็นมนุษย์อย่างแท้จริง ถึงแม้ว่าจะสามารถทรงตัวอยุ่บนขาทั้งสองข้างและมีลักษระลำตัวตรงแล้วแต่ไม่สามารถตั้งตรงได้ที่เดียว และขนาดของสมองยังเล็กว่าของสมองลิงขนาดใหญ่เล็กน้อย มีส่วนสุงประมาณ 5 ฟุต 7 นิ้ว มีน้ำหนักตัวประมาณ 150 ปอนด์
อุทยานแห่งชาติโลเรินตส์ Lorentz National Park อุทยานแห่งชาติลอเรนซื มีพื้นที่ 2.5 ล้าน
เฮคเตอร์ เป็ฯเขตอนุรักษ์ที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นพื้นที่เพียงแห่งเดี่ยวในโลก ที่เชื่อมพื้นที่ยอดเขามีกิมะหกคลุมกับสิ่งแวดล้อม ทางทะเลเขตต้อนรวมถึงพื้นที่ชุมน้ำ โดยที่บริเวณนี้ตั้งอยุ่บนจุดบรรจบของสองแผ่นทวีปที่เลื่อนเข้าหากัน พื้นที่จึงมีความซับซือ้ทางธราณีวิทยามี การก่อตัวของภูเขาและธารน้ำแข็ง บริเวณนี้บังมีแหล่งฟอสซิลซึ่งเป็นหลักฐานของวิวัฒนาการของชีวิตบน เกาะนิวกีนี และมีความหลากหลายทางชีวภาพสูงสุดในภูมิภาค
อุทยานแห่งชาติดลเรนซ์ คือพื้นที่อนุรักษ์ที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และยังเป็นพ้นที่อนุรักษ์ที่มีาภาพแวดล้อมหลากหลายมากที่สุดในโลก ตั้งแตแหล่งชุ่มน้ำริมทะเล ป่าฝนเขตร้อนจนถึงภูเขาหิมะ นอกจากนั้นยังได้ขุดพบฟอสซิลของสิงมีชีวิตต่างๆ ซึ่งเป็นหลักฐานอย่างดีเยี่ยมที่แสดงถึงความหลากหลายทางชีวภาพตึ้งแต่ยุคบรรพกาล
คือชื่อแหล่งมรดกโลกของประเทศอินโดนีเซียที่ตั้งอยู่บนเกาะสุมาตรา ประกอบด้วยเขตอุทยานแห่งชาติ 3 แห่งได้แก่ อุทยานแห่งชาติกุนุงลูเซอร์, อุทยานแห่งชาติเครินซีเซบลัตและอทุยานแห่งชาติบูกิตบาริซานเซลาตัน
มรดกผ่าฝนเขตร้อนของเกาะสุมาตรา Tropical Rainforest Heritage of Sumatra
อุทยานแห่งชาติทั้ง 3 แห่งได้ร่วมกันขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกภายใต้ชื่อ "มรดกของป่าฝนเขตร้อนบนเกาะสุมาตรา" ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก ด้วยข้อกำหนดดังนี้
- เป็นตัวอย่างมี่เด่นชัดของการเป็นตัวแทนในวิวัฒนาการสำคัญต่างๆ ในอดีตของโลก เช่น ยุคสัตว์เลื้อยคลาน ยุคน้ำแข็ง ซึ่งสะท้อนให้เก็นถึงการพัฒนาความหลากหลายทางธรรมชาติบนพื้นโลก
- เป็นแหล่งที่เกิดจาปรากฎการณ์ทางธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์หายากหรือสวยงามมเป็ฯพิเศษ เช่น แม่น้ำ น้ำตก ภูเขา
- เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของชนิดสัตว์และพันธุ์พืชที่หายากหรือที่ตกอยู่ในสภาวะ อันตราย แต่ยังคงสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ ซึ่งรวมถึงระบบนิเวศอันเป็นแหล่งตวมความอุดมสมบูรณ์ของพืชและสัตว์ที่ทั่ว โลกให้ความสนใจด้วย
ภูมิทัศน์วัฒนธรรมของจังหวัดบาหลี : ระบบซูบะก์ หลักการตามปรัชญาไตรหิตครณะ
ภุมิวัฒนธรรมเขตบาหีนี้แดงให้เก็นถึงหลักการถ้อยที่ถ้อยอาศัยอันสร้างคึามสมดุลและความกลมกลืนระหว่างมนุษย์ ศาสนาและธรรมชาติจนก่อให้เกิดรูปแบบกสิกรรมขั้นบันไดอันยั่งยืนและรังสรรค์ภูมิประเทศอันโดดเด่น
ระบบซูบะก์เป็ฯวิธีชลประทานแบบดั้งเดิมบนเกาะบาหลีที่เกิดขึ้นในรววคริสต์ศตวรรษที่ 10 มีลักษระเป็นสถาบันทางสังคมและศษสนาเปรีบเที่ยบ เที่ยบได้กับ "สหกร์ชาวบ้าน" ที่ผนวกศาสนา ความเชื่อเทคโนโลยีการเกษตร วัฒนธรรมและการเมืองท้องถิ่นไว้ด้วยกัน โดยกำหนดให้มีพื้นที่ซึ่งมีขอบเขตคล้ายหมู่บ้าน ปกครองโดยคนในพื้นที่มี "อุทกอาราม" หรือ วัดน้ำ เป็นสูนย์กลางในการบริหารจัดการน้ำ ส่วนประกอบที่สำคัญ คือ เครือข่ายทางขนส่งน้ำที่ซับซ้อนและอุโมงค์ที่สร้างโดยกาเจาะหินและต่อไม่ไผ่เพื่อส่งน้ำซึ่งบางสายยาวกว่ากิโลเมตร ต้องสร้างและดูแลโดยช่างผีมือโดยเฉพาะในการนำน้ำเข้าไปสู่นาขึ้นบันไดชั้นบนสุดของเนินเขาก่อนปล่อยให้ไหลลงสู่นาข้าวเบื้องล่าง
หลักที่สำคัญของระบบซุบะก์คือ ปรัชญาไตรหิตครณะ หรือหลักความสมดุลกลมกลืน 3 ประการ อันเป็ฯหลักการสร้างความสงบสุขแก่ชีวิตที่รมาจากศษสนาฮินดูในอินเดียยประกอบด้วย ความสมดุลและความกลมกลืนระหว่างมนุษย์กับเทพเจ้า มนุษย์กับมนุษย์ และมนุษย์กับธรรมชาติ
ระบบซุบะก์ มีการคิดค้นเป็นเวลานานกว่า พันปี สำหรับชาวบาหลีระบบชลประทานบนเกาะนั้นไม่ง่ายที่จะจัดหาน้ำสำหรับพืชพรรณต่างๆ แต่น้ำถูกใช้ในการสร้างระบบนิเวศเที่ยม นาข้าวในบาหลีถูกสร้างรอบๆ วัด และการจัดสรรน้ำถูกสร้างโดยนักบวช ซูบะก์คือระบบชลประทานที่ยั่งยืนตามธรรมชาติซึ่งผูกสังคมเกษตรกรรมบาหลีเข้าด้วยกันภายในศูนย์ชุมชนของหมู่บ้านและวัดบาหลี ครอบคลุม 19,500 เฮกตาร์ การจัดการน้ำอยู่ภายใต้อำนาจหน้าที่ของนักบวชในวัดต่างๆ ซึ่งมีการฝึกฝนปรัชญาไตรหิตครณะ หรือความสัมพันธ์ของอินแดนระหว่างวิญญาณโลกมนุษย์ และพระเจ้า ไตรหิตรครณะเกี่ยวข้องกับวิธีการโบราณตามอย่างในอินเดียโดยฤาษีในศาสนาฮินดู
- อุทกอารามหลวงปุระ ตามัน อายุน เป็นวัดที่ีมีขนาดใหญ่ที่สุดและมีสถาปัตยกรรมที่โดเด่นต่างจากวัดน้ำแห่งอื่น สร้างขึ้นในคริสต์วรรษที่ 17 เพื่อใช้ประกอบพิธีกรรมของกษัตริย์เม็งวีในอดีต กำแพงประตูวัดก่อด้วยหินสูง มีประตูเล็กหลายบานที่สลักเสลางดงาม หลังคาปูด้วยหญ้าอลัง อลัง มีคูน้ำล้อมรอบวัดราวสรวงสวรรค์ กลางกระแสธารา
- ภูมิทัศน์ ประกอบด้วยกลุ่มซูบะก์ ราว 15 แห่ง ระบบซูบะก์ที่มีความโดดเด่นในภูมิทัศน์แห่งนี้ได้แก่ ซูบะก์แห่งปมู่บ้านจาตีลูวีห์ ซึ่งมีขนาดใหญ๋ที่สุดและสวยที่สุดในบาหลี และยังเป็นหมุ่บ้านเดี่ยวที่ปลูก ปาดีบาหลีหรือข้าวพันธุ์ท้องถ่ินที่มีลำต้นสวยสง่าแก่งปมู่บ้านจาตีลูวีห์
- www.manager.co.th/มหัสจรรย์ "บุโรพุทโธ" พุทธสถานในแดนอิเหนา, สวัสดีอินโด(จบ) : "ปรัมมานัน" มหัศจรรย์วิหารฮินดู
- www.th.wikipedia.org/ มังกรโกโมโด, มรดกป่าฝนเขตร้อนบนเกาะสุมาตรา
- komkid.com อุจุง กูลอน ที่มั่นสุดท้ายของแรดชวา
- www.wikiwand.com มนุษย์ชวา
- www.uasean.com อุทยานแห่งชาติโลเรนซ์
- http//nuchalertchic.wordpress.com/ภูมิวัฒนธรรมเขตบาหลี
วันพฤหัสบดีที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2560
World Heritage Site : Filippine,Singapore
ฟิลิปปินส์ องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศฟิลิปปินส์ทั้งสิ้น 6 แหล่ง
โบสถ์บาโรกแห่งฟิลิปปินส์ Barouque Churches of the Philippines คือชื่อเรียกอย่างเป็นทางการของโบสถ์สเปน 4 แห่งในฟิลิปปินส์ ซึ่งได้รับการจดทะเบียนเป็นมรดกโลกของยูเนสโก ใน ค.ศ. 2003 โบสถ์เหล่านี้ยังเป็นหนึ่งในสมบัติที่มีค่ามากที่สุดของประเทศ
โบสถ์บาโรคแห่งฟิลิปปินส์ ประกอบด้วยโบสถ์โรมันคาทอลิก 4 แห่งที่สร้างขึ้นระหว่างศตวรรษที่ 16-18 ในช่วงที่ฟิลิปปินส์เป็นอาณานิคมของสเปน นอกจากจะแสดงถึงการเข้ามาของศาสนาแคริสต์ในหมู่เกาะของฟิลิปปินส์แล้ว ยังเป็นศูนย์กลางอำนาจในการปกครองอาณานิคมของสเปนด้วย สถาปัตยกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของโบสถ์ไม่เพียงแค่สะเท้อนให้เห็นถึงการปรับตัวของสถปัตยกรรมแบบสเปนหรือละตินอเมริกันกับสภาพแวดล้อมใท้องถ่ินเท่านั้น แต่ยังมีการผสมผานศิลปลวดลายของจีนเข้าไปอีกด้วย
เนื่องจากความมีอิทธิพลของคริสตจักรในทางการเมือง ทำให้คริสตจักรและรัฐถือเป็นหนึ่งเดี่ยว คริสตจักรจึงกลายเป็นเป้าหมายของการโจมตีจากการปฏิวัติและการก่อกบฎในประเทศ โบสถ์เหล่านั้จึงไม่ใช่มีเพียงสิ่งก่อสร้างที่ให้บริการทางศาสนาเท่านั้น แต่ยังปรากฎสิ่งก่อสร้างในลักาณป้อมปรากการอยู่ด้วย เช่น ในกรณีของโบสถ์ซานตามาเรีย ซึ่งตั้งอยุ่บนเนินเขาและทำหน้าที่เป็นป้อมปราการในช่วงเวลาวิกฤต และโบสถ์ ไมอากาโอ ซึ่งทำหน้าที่ต้านทานการโจมตีเป็นครั้งคราวของชาวมุสลิมจากภาคใต้ นอกจากนี้ที่ตั้งของประเทศฟิลิปปินส์ยังตั้งอยุ่บนแนวที่เรียกว่าวงแหวนแห่งไฟแปซิฟิก ซึ่งเป็ฯพื้นที่ที่มีแนวโน้มเกิดแผ่นดินไหวได้บ่อยๆ การก่อสร้างจึงให้ความสำคัญกับรากฐานของโบสถ์ แม้บางแห่งจะรับความเสียหายจาแผ่นดินไหว แต่ก็ได้สร้างขึ้นมาใหม่ทดแทน โบสถ์ทั้ง 4 แห่งและได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกด้านวัฒนธรรมร่วมกัน
อุทยานธรรมชาติปะการังตุบบาตาฮา Tubbataha Reefs Natural Park คือ เขตสงวนพันธ์ุนกและสัตว์ทะเลของฟิลิปปินส์ ตึ้งอยู่บริเวณใจกลางทะเลซุลู ประกอบด้วยเกาะรูปวงแหวนที่เกิดจากหินประการับใหญ่ 2 เกาะเรียกว่าเกาะวงแหวนเหนือและใต้ โดยถูกแยกจากกันด้วยช่องแคบกว้างประมาณ 8 กิโลเมตร กลางเกาะวงแหวนมีทะเลสาปและเกาะทรายขนาดเล็ก ๆ อยุ่ตรงกลางคำว่า ไตุบบาตาฮา" คือการรวมกันของคำศัพท์ภาษาซัมบัล 2 คำ คือ ตุบบา และตาฮา ซึ่งรวมกันหมายถึง "ปะการังยาวโผล่ขึ้นที่กระแสน้ำต่ำ"
อุทยานธรรมชาติปะการับตุบบาตาฮา คือ พื้นที่คุ้มครองแห่งหนึ่งของฟิลิปปินส์ตึ้งอยุ่บริเวณใจกลางทะเลซูลูเขตสงวนพันธุ์นกและสัตว์ทะเลประกอบด้วย เกาะรูปวง แหวนที่เกิดจากหินประการังใหญ่ 2 เกาะ (ชื่อเกาะวงแหวนเหนือและใต้) และปะการังเจสซี่ บิสซืลี่ี่เล็กกว่าครอบคลุม พื้นที่ทั้งหมด 97,030 เฮกเตอร์ เขตเกาะปะการรังตั้งอยุ่ 150 กิโลเมตร ทางตะวันออกเฉียงใต้ ของเมืองเปอร์โต พรินซีซา เมืองหลวงของจังหวัดปาลาวัน เกาะที่ไม่มีใตีอยู่อาศัยและปะการัง เป็นส่วนหนึ่งของเทศบาลเกาะคากายาซิลโล จ.ปาลาวัน
อุทยานธรรมชาติปะการับตุบบาตาฮา เป็นมรดกโลก ในหลักเกณฑ์ตัวอย่งที่เด่นชัดของเกาะปะการับวงแหวนที่มีความหนาแน่นของสายพันธ์สัตว์ทะเลในระดับสูงมาก เกาะวงแหวนเหนือเป้นที่ตั้งของเขตทำรงของนกและเต่าทะเล ที่ตั้งแห่งนี้เป็นตัวอย่างหนึ่งที่ยอเยี่ยมของพืดหินปะการังดั้งเดิม ด้วยกำแพงเส้นตั้งตรง 100 เมตร ที่น่า
ประทับใจ ทะเลสาบที่กว้างขวางและแนวปะการัง 2 เกาะ ในปี 1999 แรมซาร์ ขึ้นทะเบียนตุบบาตาฮาในฐานะหนึ่งในพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญในระดับนานาชาติใน ค.ศ. 2008 ปะการับได้รับการเสนอชื่อเป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ทางธรรมชาติ อุทยานแห่งชาติและหมู่เกาะฟิลิปปินส์เป็นส่วนหนึ่งของสามเหล่ยนปะการัง ได้รับการยอมรับว่าเป็นศูนย์กลางหนึ่งของความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเลประกอบด้วย 75% ของสายพันธุ์ปะการังและ 40% ของปลาปะการังของโลก พื้นที่แห่งนี้อยู่ในการคุกคามที่รุนแรงเนื่องจากการประมงที่เกินขึดจำกัดและกิจวัตรการตกปลาที่เป้ฯการทำลาย การเยียมชมและวิจัยของนักวิทยาศาสตร์ต้งแต่ทศวรรษ 1980 เปิดเผยว่าอุทยานธรรมชาติปะการังตะบบตาฮามี
จำนวนสายพันธ์ปลาน้อยกว่า 600 ชนิด สายพันธุ์ปะการัง 360 สายพันธ์ุ สายพันธ์ฉลาน 11 สายพันธุ์ วาฬและโลมา 13 สายพันธ์ุ และสายพันธุ์นก 100 สายพันธ์ุแนวปะการังยังทำหน้าที่เป้นพื้นที่ทำรังสำหรับเต่ากระ และเต่าตนุ และกว่า 1,000 สายพนธุ์และสายพันู์นก 100 สายพันธ์ุ แนวปะการัง 360 สายพันธุ์ สายพันธ์ฉลาม 11 สายพันธ์ วาฬและโลมา 13 สายพันธ์ และสายพันธ์นก 100 สายพันธ์แนวปะการังยังทำหน้าที่เป็นพื้นที่ทำรังสำหรับเต่ากระ และเต่าตนุ และกว่า 1,000 สายพันธ์ุของสิงมีชีวิตทางทะเลที่อาศัยอยุ่ในปะการัง หลายสายพันู์ถูกพิจารณาว่าเสี่งต่ออันตราย สายพันู์สัตรว์ที่ค้นพบรวมถึปลากระเบนแมนดา ปลาสิงโต เต่าทะเล ปลาการ์ตูน และฉลาม ตุบบาตาฮากลายเป็นสถานที่ที่ได้รับความนิยมสำหรับนักดำน้ำสันทนาการ เพราะกำแพงปะการังที่วึ่งมีีแนวปะการังน้ำตื้นและความลึกที่พอเกมาะ กำแพงเหล่านี้ยังเป็นที่อยู่ของกลุ่มปลาที่หลากหลาย เช่นปลากะพงพร้าว ปลาฉลามหัวค้อน ปลาสาก ปลาดนรีเทวรูป ปลานโปเลียน ปลานกแก้ว และปลาไหลมอรเย์ ที่อาศัยอยุ่ในที่หลบภัยของมัน และยังมีการรายงานอารพบปลายฉลามวาฬ และปลาฉลามเสือ รวมถึงเต่ากระ ซึ่งเป้นสายพันธ์ที่อยุ่ในอัตราย
นาขั้นบันไดแห่งกลุ่มเทือกเขาฟิลิปปินส์ Rice Terraces of the Philippine Corddilleras
นาขั้นบันไดแห่งเทือกเขาฟิลิปปินส์ เป็นตัวอย่างที่โดดเด่นขงอการพัฒนาภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม ตั้งแต่ 2000 ปีที่แ้วก่อยุคอาณานิคมฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่ในพื้นที่ห่างไกลของเทือกเขาบนเกาะทางตอนเหนือของเกาะลูซอน ในหมู่เกาะฟิลิปปินส์ นาขึ้นบันไดอันเก่าแก่นี้ครอบคลุมพื้นที่กว้างขวาง ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกนั้น ประกอบด้วยนาขึ้นบันได 5 แห่ง ที่มีความสมบูรณ์มากที่สุดและน่าประทับใจที่สุ ทั้งหมกสร้างขึ้นดดยชาวอิฟูเกา ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยที่อพยพจากประเทศไต้หวันมาสู่ฟิลิปปินส์ และได้ครอบครองภูเขาเหล่านี้เมื่อกว่า 2,000 ปีมาแล้ว
นาขั้นบันไดของเทือกเขาฟิลิปปินส์ ที่ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ภูเขาในเกาะลูซอนทางเหนือ ซึ่งที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกมีอยู่ 5 แห่ง ซึ่งทั้งหมดอยู่ในจังหวัออิฟูเกา เขตบริหารกอร์ดิลเยรา บนเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ ได้แก่ นาขั้นบันได บาทาด ในบัวนาเว, นาขั้นบันได บานแกน ในบัวนาเว, นาขั้นบันได มาโยเยา ในมาโยเยา, นาขั้นบันได แฮงดืน ในแฮงดืน, นาขั้นบันได นากาคาแดน ในเคียนแกน
นาขั้นบันไดแห่งเทือกเขาฟิลิปปินส์ เป็นการแกะสลักภูเขาทั้งลูกเพื่อใช้ในการปลูกข้าว เนื่องด้วยการทำนาโดยทั่วไปจะต้องใช้พื้นที่ราบ แต่พื้นที่ภูมิประเทศของฟิลิปปินส์เต็มไปด้วยเขาสูงมีที่ราบน้อย น้ำและพื้นที่ในการทำการเกษตรจึง
เป้นปัญหา ชาวอิฟูเกาจึงได้คิดวิธีทำนาแบบขึ้นบันไดขึ้ตามไหล่เขา พวกเขาใช้แรงงานคนและเครื่องมือ
ธรรมดาสกัดพื้นที่บนไหล่เขาและที่ลาดเชิงให้เป็นชั้นๆ ลดหลั่นลงมาเป็นขึ้นบันใด เพื่อช่วยเพ่ิมเนื้อที่ในการเพาะปลูก ปรับภูเขาทั้งลุกให้กลายเป็นแหล่งเพราะปลุกขนาดใหญ่ และสร้างระบบชลประทานโดยปราศจากการใช้เครื่องจักรกล ทำทางระบายน้ำลงมาเป็นขั้นๆ ให้น้ำจากด้านบนไหลลงมายังแปลงด้านล่างได้ จึงสามารถควบคุมปริมาณน้ำจากธรรมชาติได้อย่า่งม่ประสิทธิภาพเพื่อประโยชน์สูงสุดสำหรับการเพราะปลูกข้า อีกทั้งยังเป็นการรักษาหน้าดินไม่ให้ถูกชะล้างไปช่วงแก้ปัญหาป้องกันน้ำท่วมอีกด้วย นาขึ้นบันไดสวนใหญจึงตั้งอยุ่ใกล้น้ำตก เพราะสามารถนำน้ำจากน้ำตกมาใช้ในนาได้ ลุกหลานชาวนาที่สืบเชื่อสายมาจากชาวอิฟุเกาในปจจุบัน ก็ยังคงยึดอาชีพทำนาเ่นเี่ยวกับพรรพบุรุถษ และเพาปลูกด้วยความเชื่อและวัฒนธรรมดั้งเดิม ซึ่งเกี่ยวข้องกับวัฒจักรฤดุกาลของการปลูก ากรควบคุมศัตรูพืชและการเก็บเกี่ยวจะเชื่อมโยงกับรอบดวงจัทรา์และพิธีกรรมทางศาสรา โดยความรู้นี้ได้ถูกส่งต่อกันมาจากรุ่นสุ่รุ่น เป็นตัวอย่างที่ดีของการทำการเกษตรแบบยั่งยืนด้วยเทคนิคดั้งเิมการแสดงออกของประเพณีอันศักดิ์สทิธิ์และความสมดุลกลมกลืนระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมเช่นนี้ ก่อให้เกิดเป็นภุมิทัศน์วัฒนธรรมโบราณที่สวยงาม นาขั้นบันไดบานาเว เป็นสถานที่ที่มากรปลุกข้าวแบบขึ้นบันไดบนเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ ได้รับการยกยอ่งให้เป็นมรดกโลก โดยองค์การยูเนสโก
เมืองประวัติศาสตร์วีกัน History Town of Vigan ตั้งอยู่ที่จังกฟวัอีโลโกสซุร์ ทางตะวันตกของเกาะลูซอน เป็นเมืองมรดกโลกทางวัฒนธรรมของฟิลิปปินส์ที่สร้างขึ้นตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 จัดเป็นหนึ่งในเมืองที่สวยที่สุดและยังคงรักษาเอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมแบบโคโลเนียลในยุคที่สเปนเป็นเจ้าอาณานิคมที่โดดเด่น มีเอกลักษณ์ โดยใรการดุแลรักษาเป็นอย่างดี สถานที่สำคัญในเมืองวีกัลส่วนใหญ่จะเป็ฯอาคาร สิ่งปลูกสร้างที่ทรงคุณค่าทางสถาปัตยกรรมและประวัตศาสตร์ เช่น มหาวิหารวีกัลหรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า อาสนวิหารนักบุญเปาโล มหาวิหารเซนต์ปอล เดิมเป็นโบสถ์และได้เลือนเป็ฯมหวิหารเมือเขตปกครองทางศาสนา ย้ายมาที่วีกัล เดิมตัวโบสถ์ทำจากไม้และหลังคามุงจาก และได้รับความเสียหายจากแผ่นดินไหว และอัคคีภัย ต่อมาจึงได้รับการบูรณะซ่อมแซมเป็นมหาวิหารที่มีความคงทนแข็งแรงและส่วยงามด้วยสถาปัตยกรรมแบบสเปน
นอกจากมหาวิหารแล้วยังมีบ้านเก่า Vigan Heritage Mansion ซึงเคยเป็นบ้านของผุ้ว่าฯ ที่สร้างใน ค.ศ.1885 หลังจากเขาเสียชีวิตในปี 1991 ลูกสาวของเขาก็ไ้ทำการบูรณะบ้านอายุกว่าร้อยปีหลังี้อีกครั้งเพื่อเป็นการรักษามรดกทางวัฒนธรรมของวีกัล
Cordillera Inn บ้านของ ดอน แกสเปอร์ บาร์โทลอมส์ สร้างในปี 1885 และถูกขายต่อให้กับตระกูลCarino ในปี1950 เนื่องจากทายาทของดอน ตกลงย้ายไปอยูาวัก ต่อมาบ้านหลังนี้พร้อมกับอีก 5 หลังถูกเพลิงไหม้ แต่ด้วยโครงสร้างกับกำแพงอิฐที่แข็.แรงจึงไม่ได้รับความเสียหายมากนัก และในปี 1965 ได้ถูกขายต่อให้กับผุ้ว่าฯหญิงในขณะนั้น และทำหน้าที่บูรณะว่อมแซมจนกลายมาเป็น Cordillera Inn ในปัจจุบัน
บ้าน Leona Florentino นักกวีและประพันธ์บทที่มีชื่อเสียงระดบนานาชาติในยุคฟิลิปปินส์เป็ฯอาณานิคมของสเปนผลงานของเธอได้รับการแปลและเผยแพร่ไปหลายภาษ แต่ต้นฉบับถูกทำลายระหว่างการปฏิวัติฟิลิปปินส์ บ้านของเธอในปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ ศุรย์บริการการท่องเที่ยววีกัล และเปิดเป็นคาเฟ่เล็กๆ ด้วย
อุทยานแห่งชาติแม่น้ำใต้ดิน ปวยร์โต-ปรินเซซา Pueto-Princesa Subterranean River National Park อุทยานแห่งชาติมแม่น้ำใต้ดินปวยร์โต- ปรินเซซา ตังอยู่บริเวณเทือกเขาเซนต์พอล ทางตอนเหนือของเกาะปาลาวัน ประเทศฟิลิปปินส์ ห่างจากเมืองปวยร์โตปริน-เซซา เมืองหลวงของเกาะปาลาวันทางตอนเหนือประมาณ 50 กิโลเมตร
เป็นแม่น้ำใต้ดินที่มีความยาวที่สุดในโลก (8.2 กิโลเมตร) ลอดผ่านถ้ำหินปูนของเทือกเขาเซนต็พอล มีอายุกำเนินมานานกว่า 20 ล้านปี ก่อนที่นะไหลลงสุ่ทะเลจีนใต้ โดยในภายในถ้ำจะประกอบด้วยหินงอกหินย้อยต่างๆ ที่มีลักษณะเหมือนรูปร่างต่างๆ ตามแต่จินตนาการของผุ้พบเห็น
ก่อนที่จะเข้าสุ่ถ้ำต้องเดินผ่านเส้นทางชมธรรมชาติซึ่งเป็นป่าดิบที่อุดมสมบุรณ์ ประกอบไปด้วยป่าไม่นานาชนิด และสัตว์ป่าหายากชิดต่างๆ เช่น ลิงแสม, นกเงือกปาลาวัน เป็นต้นและภายในถ้ำเป็นแหล่งอาศัยของค้างคาวจำนวนมาก การเข้าชม จะเข้าชมได้เพียง 1.2 กิโลเมตร ส่วนที่เหลือจะปิดไม่ให้นักท่องเทียงเข้าชม ด้วยหตุผลของการอนุรัษณ์ และจำกัดจำนวนนักท่องเทียว
เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเทือกเขาฮามิกิตัน Mouth Hamiguitan Range Wildlife Sanctuary
เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเทือกเขาฮามิกิตันตั้งอยุ่ในจังหวัดดาเวาโอริเอนตัล ทางต้ของเกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ มีความสูงจากระดับน้ำทะเล โดยมีภูเขาฮามิกิตันมีความสุง 1,620 เมตร แนวภูเขาฮามิกิตันประกอบด้วยพื้นที่ 6,834 เฮกตาร์ ป่าไม้เป็นป่าแคระที่มีความพิเศษของต้นไม้เก่าแก่ในดินอัลตราเมฟิก ซึ่งกำลังใกล้สูญพันธ์ ภูเขาและบริเวณใกล้เคียงเป็นที่อยุ่ของพืชและสัตว์หลากหลายสายพันธ์ุที่หลากหลายของหม้อข้าวหม้อแกงลิง ซึ่งเป็นพืชเฉพาะถิ่นมีสิ่งี่มีชีวิตเฉพาะถิ่น 8 สายพันธ์ุ สายพันะู์ที่พบได้บนภูเขาฮามิกีตันเท่านั้นด้วย
สิงคโปร์ องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของ สิงคโปร์ไว้ 1 แห่ง
สวนพฤษศาสตร์สิงคโปร์ Singapore Botanical Garden ตั้งขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1822 โดย Sir Stamford Raffles นักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษ ซึ่งเป็นผุ้ก่อตั้งสิงคโปร์ด้วย โดยสร้างสวนแห่งนี้ขึ้มาเพื่อเป็นสวนทดลองทางด้านพฤกษศาสตร์ โดยเฉพาะพืชมีค่าทางเศรษฐกิจบนพื้นที่กอฟเวอร์เมนท์ ฮิล แต่ภายหลังก็ได้ปิดตัวไปภายหลังการเสียชีวิตของเขา
รูปแบบสวนในปัจจุบัน ถูกพัฒนามาตั้งแต่ปี 1859 โดยสมาคมพืชส่วน ของรัฐบาลอาณานิคมของอังกฤษ ต่อมาสวนพฤกษศษสตร์สิงคโปร์เร่ิมมีชื่อเสียงเรื่องการปรบปรุงพันธุ์กล้วยไม้ โดยเฉพาะช่วงปี 1925-1949 ภายใต้ผุ้อำนวยการสวน โปรเฟสเซอร์ อีริค ฮโลททัม และได้ตั้ง เนชั่นออคิดซ์ (สวยกล้วยไม้แห่งชาติ) ในเวลาต่อมา นอกจานี้ยังมีการปสมพนู์กล้วไม้ ซึ่งกำหนดให้เป็นดอกไม้ประจำชาติของสิงคโปร์
ในปี 1990 สวนพฤกษศาสตร์สิงคโปร์ อยุ่ภายใต้การจัดการของ เนชั่น พาร์ค บอร์ด และพัฒนเรื่อยมากระทั่งปัจจุบัน และมีส่วนสำคัญในการรณรงค์ กรีนนิ่ง สิงคโปร และการ์เด้น ซิตี้ ของประเทศสิงคโปร์ ถือว่าเป็นสวนพฤกษศาสตร์ที่ประสบผลสำเร็จในการดึงดูดนักท่องเที่ยวได้จำนวนมากในแต่ละปี
- www.thaifly.com อุทยานธรรมชาติประการังตุบตาฮา
- region4.prd.go.th/ นาขั้นบันไดแห่งเทือกเขาฟิลิปปินส์
- gothailandgoasean.tourismthailand/พาไปชมความคลาสสิกของเมืองประวัติศาสตร์วีกัล ฟิลิปปินส์
- www.th.wikipedia.org/ อุทยานแห่งชาติแม่น้ำใต้ดินปวยร์โตปรินเซซา
- pongsakornth.eu5.org/ เทือกเขาฮามิกิตัน
- www.manager.co.th/ "Singapore Botanic Gardens" สวนสีเขียวใจกลางเมือง มรดกโลกน้องใหม่ที่ "สิงคโปร์"
โบสถ์บาโรกแห่งฟิลิปปินส์ Barouque Churches of the Philippines คือชื่อเรียกอย่างเป็นทางการของโบสถ์สเปน 4 แห่งในฟิลิปปินส์ ซึ่งได้รับการจดทะเบียนเป็นมรดกโลกของยูเนสโก ใน ค.ศ. 2003 โบสถ์เหล่านี้ยังเป็นหนึ่งในสมบัติที่มีค่ามากที่สุดของประเทศ
โบสถ์บาโรคแห่งฟิลิปปินส์ ประกอบด้วยโบสถ์โรมันคาทอลิก 4 แห่งที่สร้างขึ้นระหว่างศตวรรษที่ 16-18 ในช่วงที่ฟิลิปปินส์เป็นอาณานิคมของสเปน นอกจากจะแสดงถึงการเข้ามาของศาสนาแคริสต์ในหมู่เกาะของฟิลิปปินส์แล้ว ยังเป็นศูนย์กลางอำนาจในการปกครองอาณานิคมของสเปนด้วย สถาปัตยกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของโบสถ์ไม่เพียงแค่สะเท้อนให้เห็นถึงการปรับตัวของสถปัตยกรรมแบบสเปนหรือละตินอเมริกันกับสภาพแวดล้อมใท้องถ่ินเท่านั้น แต่ยังมีการผสมผานศิลปลวดลายของจีนเข้าไปอีกด้วย
เนื่องจากความมีอิทธิพลของคริสตจักรในทางการเมือง ทำให้คริสตจักรและรัฐถือเป็นหนึ่งเดี่ยว คริสตจักรจึงกลายเป็นเป้าหมายของการโจมตีจากการปฏิวัติและการก่อกบฎในประเทศ โบสถ์เหล่านั้จึงไม่ใช่มีเพียงสิ่งก่อสร้างที่ให้บริการทางศาสนาเท่านั้น แต่ยังปรากฎสิ่งก่อสร้างในลักาณป้อมปรากการอยู่ด้วย เช่น ในกรณีของโบสถ์ซานตามาเรีย ซึ่งตั้งอยุ่บนเนินเขาและทำหน้าที่เป็นป้อมปราการในช่วงเวลาวิกฤต และโบสถ์ ไมอากาโอ ซึ่งทำหน้าที่ต้านทานการโจมตีเป็นครั้งคราวของชาวมุสลิมจากภาคใต้ นอกจากนี้ที่ตั้งของประเทศฟิลิปปินส์ยังตั้งอยุ่บนแนวที่เรียกว่าวงแหวนแห่งไฟแปซิฟิก ซึ่งเป็ฯพื้นที่ที่มีแนวโน้มเกิดแผ่นดินไหวได้บ่อยๆ การก่อสร้างจึงให้ความสำคัญกับรากฐานของโบสถ์ แม้บางแห่งจะรับความเสียหายจาแผ่นดินไหว แต่ก็ได้สร้างขึ้นมาใหม่ทดแทน โบสถ์ทั้ง 4 แห่งและได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกด้านวัฒนธรรมร่วมกัน
อุทยานธรรมชาติปะการังตุบบาตาฮา Tubbataha Reefs Natural Park คือ เขตสงวนพันธ์ุนกและสัตว์ทะเลของฟิลิปปินส์ ตึ้งอยู่บริเวณใจกลางทะเลซุลู ประกอบด้วยเกาะรูปวงแหวนที่เกิดจากหินประการับใหญ่ 2 เกาะเรียกว่าเกาะวงแหวนเหนือและใต้ โดยถูกแยกจากกันด้วยช่องแคบกว้างประมาณ 8 กิโลเมตร กลางเกาะวงแหวนมีทะเลสาปและเกาะทรายขนาดเล็ก ๆ อยุ่ตรงกลางคำว่า ไตุบบาตาฮา" คือการรวมกันของคำศัพท์ภาษาซัมบัล 2 คำ คือ ตุบบา และตาฮา ซึ่งรวมกันหมายถึง "ปะการังยาวโผล่ขึ้นที่กระแสน้ำต่ำ"
อุทยานธรรมชาติปะการับตุบบาตาฮา คือ พื้นที่คุ้มครองแห่งหนึ่งของฟิลิปปินส์ตึ้งอยุ่บริเวณใจกลางทะเลซูลูเขตสงวนพันธุ์นกและสัตว์ทะเลประกอบด้วย เกาะรูปวง แหวนที่เกิดจากหินประการังใหญ่ 2 เกาะ (ชื่อเกาะวงแหวนเหนือและใต้) และปะการังเจสซี่ บิสซืลี่ี่เล็กกว่าครอบคลุม พื้นที่ทั้งหมด 97,030 เฮกเตอร์ เขตเกาะปะการรังตั้งอยุ่ 150 กิโลเมตร ทางตะวันออกเฉียงใต้ ของเมืองเปอร์โต พรินซีซา เมืองหลวงของจังหวัดปาลาวัน เกาะที่ไม่มีใตีอยู่อาศัยและปะการัง เป็นส่วนหนึ่งของเทศบาลเกาะคากายาซิลโล จ.ปาลาวัน
อุทยานธรรมชาติปะการับตุบบาตาฮา เป็นมรดกโลก ในหลักเกณฑ์ตัวอย่งที่เด่นชัดของเกาะปะการับวงแหวนที่มีความหนาแน่นของสายพันธ์สัตว์ทะเลในระดับสูงมาก เกาะวงแหวนเหนือเป้นที่ตั้งของเขตทำรงของนกและเต่าทะเล ที่ตั้งแห่งนี้เป็นตัวอย่างหนึ่งที่ยอเยี่ยมของพืดหินปะการังดั้งเดิม ด้วยกำแพงเส้นตั้งตรง 100 เมตร ที่น่า
ประทับใจ ทะเลสาบที่กว้างขวางและแนวปะการัง 2 เกาะ ในปี 1999 แรมซาร์ ขึ้นทะเบียนตุบบาตาฮาในฐานะหนึ่งในพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญในระดับนานาชาติใน ค.ศ. 2008 ปะการับได้รับการเสนอชื่อเป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ทางธรรมชาติ อุทยานแห่งชาติและหมู่เกาะฟิลิปปินส์เป็นส่วนหนึ่งของสามเหล่ยนปะการัง ได้รับการยอมรับว่าเป็นศูนย์กลางหนึ่งของความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเลประกอบด้วย 75% ของสายพันธุ์ปะการังและ 40% ของปลาปะการังของโลก พื้นที่แห่งนี้อยู่ในการคุกคามที่รุนแรงเนื่องจากการประมงที่เกินขึดจำกัดและกิจวัตรการตกปลาที่เป้ฯการทำลาย การเยียมชมและวิจัยของนักวิทยาศาสตร์ต้งแต่ทศวรรษ 1980 เปิดเผยว่าอุทยานธรรมชาติปะการังตะบบตาฮามี
จำนวนสายพันธ์ปลาน้อยกว่า 600 ชนิด สายพันธุ์ปะการัง 360 สายพันธ์ุ สายพันธ์ฉลาน 11 สายพันธุ์ วาฬและโลมา 13 สายพันธ์ุ และสายพันธุ์นก 100 สายพันธ์ุแนวปะการังยังทำหน้าที่เป้นพื้นที่ทำรังสำหรับเต่ากระ และเต่าตนุ และกว่า 1,000 สายพนธุ์และสายพันู์นก 100 สายพันธ์ุ แนวปะการัง 360 สายพันธุ์ สายพันธ์ฉลาม 11 สายพันธ์ วาฬและโลมา 13 สายพันธ์ และสายพันธ์นก 100 สายพันธ์แนวปะการังยังทำหน้าที่เป็นพื้นที่ทำรังสำหรับเต่ากระ และเต่าตนุ และกว่า 1,000 สายพันธ์ุของสิงมีชีวิตทางทะเลที่อาศัยอยุ่ในปะการัง หลายสายพันู์ถูกพิจารณาว่าเสี่งต่ออันตราย สายพันู์สัตรว์ที่ค้นพบรวมถึปลากระเบนแมนดา ปลาสิงโต เต่าทะเล ปลาการ์ตูน และฉลาม ตุบบาตาฮากลายเป็นสถานที่ที่ได้รับความนิยมสำหรับนักดำน้ำสันทนาการ เพราะกำแพงปะการังที่วึ่งมีีแนวปะการังน้ำตื้นและความลึกที่พอเกมาะ กำแพงเหล่านี้ยังเป็นที่อยู่ของกลุ่มปลาที่หลากหลาย เช่นปลากะพงพร้าว ปลาฉลามหัวค้อน ปลาสาก ปลาดนรีเทวรูป ปลานโปเลียน ปลานกแก้ว และปลาไหลมอรเย์ ที่อาศัยอยุ่ในที่หลบภัยของมัน และยังมีการรายงานอารพบปลายฉลามวาฬ และปลาฉลามเสือ รวมถึงเต่ากระ ซึ่งเป้นสายพันธ์ที่อยุ่ในอัตราย
นาขั้นบันไดแห่งกลุ่มเทือกเขาฟิลิปปินส์ Rice Terraces of the Philippine Corddilleras
นาขั้นบันไดแห่งเทือกเขาฟิลิปปินส์ เป็นตัวอย่างที่โดดเด่นขงอการพัฒนาภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม ตั้งแต่ 2000 ปีที่แ้วก่อยุคอาณานิคมฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่ในพื้นที่ห่างไกลของเทือกเขาบนเกาะทางตอนเหนือของเกาะลูซอน ในหมู่เกาะฟิลิปปินส์ นาขึ้นบันไดอันเก่าแก่นี้ครอบคลุมพื้นที่กว้างขวาง ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกนั้น ประกอบด้วยนาขึ้นบันได 5 แห่ง ที่มีความสมบูรณ์มากที่สุดและน่าประทับใจที่สุ ทั้งหมกสร้างขึ้นดดยชาวอิฟูเกา ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยที่อพยพจากประเทศไต้หวันมาสู่ฟิลิปปินส์ และได้ครอบครองภูเขาเหล่านี้เมื่อกว่า 2,000 ปีมาแล้ว
นาขั้นบันไดของเทือกเขาฟิลิปปินส์ ที่ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ภูเขาในเกาะลูซอนทางเหนือ ซึ่งที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกมีอยู่ 5 แห่ง ซึ่งทั้งหมดอยู่ในจังหวัออิฟูเกา เขตบริหารกอร์ดิลเยรา บนเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ ได้แก่ นาขั้นบันได บาทาด ในบัวนาเว, นาขั้นบันได บานแกน ในบัวนาเว, นาขั้นบันได มาโยเยา ในมาโยเยา, นาขั้นบันได แฮงดืน ในแฮงดืน, นาขั้นบันได นากาคาแดน ในเคียนแกน
นาขั้นบันไดแห่งเทือกเขาฟิลิปปินส์ เป็นการแกะสลักภูเขาทั้งลูกเพื่อใช้ในการปลูกข้าว เนื่องด้วยการทำนาโดยทั่วไปจะต้องใช้พื้นที่ราบ แต่พื้นที่ภูมิประเทศของฟิลิปปินส์เต็มไปด้วยเขาสูงมีที่ราบน้อย น้ำและพื้นที่ในการทำการเกษตรจึง
เป้นปัญหา ชาวอิฟูเกาจึงได้คิดวิธีทำนาแบบขึ้นบันไดขึ้ตามไหล่เขา พวกเขาใช้แรงงานคนและเครื่องมือ
ธรรมดาสกัดพื้นที่บนไหล่เขาและที่ลาดเชิงให้เป็นชั้นๆ ลดหลั่นลงมาเป็นขึ้นบันใด เพื่อช่วยเพ่ิมเนื้อที่ในการเพาะปลูก ปรับภูเขาทั้งลุกให้กลายเป็นแหล่งเพราะปลุกขนาดใหญ่ และสร้างระบบชลประทานโดยปราศจากการใช้เครื่องจักรกล ทำทางระบายน้ำลงมาเป็นขั้นๆ ให้น้ำจากด้านบนไหลลงมายังแปลงด้านล่างได้ จึงสามารถควบคุมปริมาณน้ำจากธรรมชาติได้อย่า่งม่ประสิทธิภาพเพื่อประโยชน์สูงสุดสำหรับการเพราะปลูกข้า อีกทั้งยังเป็นการรักษาหน้าดินไม่ให้ถูกชะล้างไปช่วงแก้ปัญหาป้องกันน้ำท่วมอีกด้วย นาขึ้นบันไดสวนใหญจึงตั้งอยุ่ใกล้น้ำตก เพราะสามารถนำน้ำจากน้ำตกมาใช้ในนาได้ ลุกหลานชาวนาที่สืบเชื่อสายมาจากชาวอิฟุเกาในปจจุบัน ก็ยังคงยึดอาชีพทำนาเ่นเี่ยวกับพรรพบุรุถษ และเพาปลูกด้วยความเชื่อและวัฒนธรรมดั้งเดิม ซึ่งเกี่ยวข้องกับวัฒจักรฤดุกาลของการปลูก ากรควบคุมศัตรูพืชและการเก็บเกี่ยวจะเชื่อมโยงกับรอบดวงจัทรา์และพิธีกรรมทางศาสรา โดยความรู้นี้ได้ถูกส่งต่อกันมาจากรุ่นสุ่รุ่น เป็นตัวอย่างที่ดีของการทำการเกษตรแบบยั่งยืนด้วยเทคนิคดั้งเิมการแสดงออกของประเพณีอันศักดิ์สทิธิ์และความสมดุลกลมกลืนระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมเช่นนี้ ก่อให้เกิดเป็นภุมิทัศน์วัฒนธรรมโบราณที่สวยงาม นาขั้นบันไดบานาเว เป็นสถานที่ที่มากรปลุกข้าวแบบขึ้นบันไดบนเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ ได้รับการยกยอ่งให้เป็นมรดกโลก โดยองค์การยูเนสโก
เมืองประวัติศาสตร์วีกัน History Town of Vigan ตั้งอยู่ที่จังกฟวัอีโลโกสซุร์ ทางตะวันตกของเกาะลูซอน เป็นเมืองมรดกโลกทางวัฒนธรรมของฟิลิปปินส์ที่สร้างขึ้นตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 จัดเป็นหนึ่งในเมืองที่สวยที่สุดและยังคงรักษาเอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมแบบโคโลเนียลในยุคที่สเปนเป็นเจ้าอาณานิคมที่โดดเด่น มีเอกลักษณ์ โดยใรการดุแลรักษาเป็นอย่างดี สถานที่สำคัญในเมืองวีกัลส่วนใหญ่จะเป็ฯอาคาร สิ่งปลูกสร้างที่ทรงคุณค่าทางสถาปัตยกรรมและประวัตศาสตร์ เช่น มหาวิหารวีกัลหรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า อาสนวิหารนักบุญเปาโล มหาวิหารเซนต์ปอล เดิมเป็นโบสถ์และได้เลือนเป็ฯมหวิหารเมือเขตปกครองทางศาสนา ย้ายมาที่วีกัล เดิมตัวโบสถ์ทำจากไม้และหลังคามุงจาก และได้รับความเสียหายจากแผ่นดินไหว และอัคคีภัย ต่อมาจึงได้รับการบูรณะซ่อมแซมเป็นมหาวิหารที่มีความคงทนแข็งแรงและส่วยงามด้วยสถาปัตยกรรมแบบสเปน
นอกจากมหาวิหารแล้วยังมีบ้านเก่า Vigan Heritage Mansion ซึงเคยเป็นบ้านของผุ้ว่าฯ ที่สร้างใน ค.ศ.1885 หลังจากเขาเสียชีวิตในปี 1991 ลูกสาวของเขาก็ไ้ทำการบูรณะบ้านอายุกว่าร้อยปีหลังี้อีกครั้งเพื่อเป็นการรักษามรดกทางวัฒนธรรมของวีกัล
Cordillera Inn บ้านของ ดอน แกสเปอร์ บาร์โทลอมส์ สร้างในปี 1885 และถูกขายต่อให้กับตระกูลCarino ในปี1950 เนื่องจากทายาทของดอน ตกลงย้ายไปอยูาวัก ต่อมาบ้านหลังนี้พร้อมกับอีก 5 หลังถูกเพลิงไหม้ แต่ด้วยโครงสร้างกับกำแพงอิฐที่แข็.แรงจึงไม่ได้รับความเสียหายมากนัก และในปี 1965 ได้ถูกขายต่อให้กับผุ้ว่าฯหญิงในขณะนั้น และทำหน้าที่บูรณะว่อมแซมจนกลายมาเป็น Cordillera Inn ในปัจจุบัน
บ้าน Leona Florentino นักกวีและประพันธ์บทที่มีชื่อเสียงระดบนานาชาติในยุคฟิลิปปินส์เป็ฯอาณานิคมของสเปนผลงานของเธอได้รับการแปลและเผยแพร่ไปหลายภาษ แต่ต้นฉบับถูกทำลายระหว่างการปฏิวัติฟิลิปปินส์ บ้านของเธอในปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ ศุรย์บริการการท่องเที่ยววีกัล และเปิดเป็นคาเฟ่เล็กๆ ด้วย
อุทยานแห่งชาติแม่น้ำใต้ดิน ปวยร์โต-ปรินเซซา Pueto-Princesa Subterranean River National Park อุทยานแห่งชาติมแม่น้ำใต้ดินปวยร์โต- ปรินเซซา ตังอยู่บริเวณเทือกเขาเซนต์พอล ทางตอนเหนือของเกาะปาลาวัน ประเทศฟิลิปปินส์ ห่างจากเมืองปวยร์โตปริน-เซซา เมืองหลวงของเกาะปาลาวันทางตอนเหนือประมาณ 50 กิโลเมตร
เป็นแม่น้ำใต้ดินที่มีความยาวที่สุดในโลก (8.2 กิโลเมตร) ลอดผ่านถ้ำหินปูนของเทือกเขาเซนต็พอล มีอายุกำเนินมานานกว่า 20 ล้านปี ก่อนที่นะไหลลงสุ่ทะเลจีนใต้ โดยในภายในถ้ำจะประกอบด้วยหินงอกหินย้อยต่างๆ ที่มีลักษณะเหมือนรูปร่างต่างๆ ตามแต่จินตนาการของผุ้พบเห็น
ก่อนที่จะเข้าสุ่ถ้ำต้องเดินผ่านเส้นทางชมธรรมชาติซึ่งเป็นป่าดิบที่อุดมสมบุรณ์ ประกอบไปด้วยป่าไม่นานาชนิด และสัตว์ป่าหายากชิดต่างๆ เช่น ลิงแสม, นกเงือกปาลาวัน เป็นต้นและภายในถ้ำเป็นแหล่งอาศัยของค้างคาวจำนวนมาก การเข้าชม จะเข้าชมได้เพียง 1.2 กิโลเมตร ส่วนที่เหลือจะปิดไม่ให้นักท่องเทียงเข้าชม ด้วยหตุผลของการอนุรัษณ์ และจำกัดจำนวนนักท่องเทียว
เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเทือกเขาฮามิกิตัน Mouth Hamiguitan Range Wildlife Sanctuary
เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเทือกเขาฮามิกิตันตั้งอยุ่ในจังหวัดดาเวาโอริเอนตัล ทางต้ของเกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ มีความสูงจากระดับน้ำทะเล โดยมีภูเขาฮามิกิตันมีความสุง 1,620 เมตร แนวภูเขาฮามิกิตันประกอบด้วยพื้นที่ 6,834 เฮกตาร์ ป่าไม้เป็นป่าแคระที่มีความพิเศษของต้นไม้เก่าแก่ในดินอัลตราเมฟิก ซึ่งกำลังใกล้สูญพันธ์ ภูเขาและบริเวณใกล้เคียงเป็นที่อยุ่ของพืชและสัตว์หลากหลายสายพันธ์ุที่หลากหลายของหม้อข้าวหม้อแกงลิง ซึ่งเป็นพืชเฉพาะถิ่นมีสิ่งี่มีชีวิตเฉพาะถิ่น 8 สายพันธ์ุ สายพันะู์ที่พบได้บนภูเขาฮามิกีตันเท่านั้นด้วย
สิงคโปร์ องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของ สิงคโปร์ไว้ 1 แห่ง
สวนพฤษศาสตร์สิงคโปร์ Singapore Botanical Garden ตั้งขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1822 โดย Sir Stamford Raffles นักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษ ซึ่งเป็นผุ้ก่อตั้งสิงคโปร์ด้วย โดยสร้างสวนแห่งนี้ขึ้มาเพื่อเป็นสวนทดลองทางด้านพฤกษศาสตร์ โดยเฉพาะพืชมีค่าทางเศรษฐกิจบนพื้นที่กอฟเวอร์เมนท์ ฮิล แต่ภายหลังก็ได้ปิดตัวไปภายหลังการเสียชีวิตของเขา
รูปแบบสวนในปัจจุบัน ถูกพัฒนามาตั้งแต่ปี 1859 โดยสมาคมพืชส่วน ของรัฐบาลอาณานิคมของอังกฤษ ต่อมาสวนพฤกษศษสตร์สิงคโปร์เร่ิมมีชื่อเสียงเรื่องการปรบปรุงพันธุ์กล้วยไม้ โดยเฉพาะช่วงปี 1925-1949 ภายใต้ผุ้อำนวยการสวน โปรเฟสเซอร์ อีริค ฮโลททัม และได้ตั้ง เนชั่นออคิดซ์ (สวยกล้วยไม้แห่งชาติ) ในเวลาต่อมา นอกจานี้ยังมีการปสมพนู์กล้วไม้ ซึ่งกำหนดให้เป็นดอกไม้ประจำชาติของสิงคโปร์
ในปี 1990 สวนพฤกษศาสตร์สิงคโปร์ อยุ่ภายใต้การจัดการของ เนชั่น พาร์ค บอร์ด และพัฒนเรื่อยมากระทั่งปัจจุบัน และมีส่วนสำคัญในการรณรงค์ กรีนนิ่ง สิงคโปร และการ์เด้น ซิตี้ ของประเทศสิงคโปร์ ถือว่าเป็นสวนพฤกษศาสตร์ที่ประสบผลสำเร็จในการดึงดูดนักท่องเที่ยวได้จำนวนมากในแต่ละปี
- www.thaifly.com อุทยานธรรมชาติประการังตุบตาฮา
- region4.prd.go.th/ นาขั้นบันไดแห่งเทือกเขาฟิลิปปินส์
- gothailandgoasean.tourismthailand/พาไปชมความคลาสสิกของเมืองประวัติศาสตร์วีกัล ฟิลิปปินส์
- www.th.wikipedia.org/ อุทยานแห่งชาติแม่น้ำใต้ดินปวยร์โตปรินเซซา
- pongsakornth.eu5.org/ เทือกเขาฮามิกิตัน
- www.manager.co.th/ "Singapore Botanic Gardens" สวนสีเขียวใจกลางเมือง มรดกโลกน้องใหม่ที่ "สิงคโปร์"
วันพุธที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2560
World Heritage Site : Malaysia,Cambodia
ประเทศมาเลเซีย องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศมาเลเซียทั้งสิ้น 4 แหล่ง
อุทยานแห่งชาติกูนุงมูลู Gunung Mulu Nation Park เป็นอุทยานที่ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว รัฐซาราวัก ประเทศมาเลเซีย ติดกับชายแดนของประเทศบรูไน เป็นพื้นที่ที่ทมีความหลากหลายในด้านชีววิทยา และธรณีวิทยาเป็นอย่างมาก มีพันธุ์พืชกว่า 3,500 ชนิด และมีพันธุ์ปาล์มกว่า 109 ชนิด
ด้านธรณีวิทยาเป็นภูมิประเทศแบบหิปูน มีพื้นที่สูงๆ ต่ำๆ หน้าผาสูงชัน ยอมแหลม มัพบรอยแตกว้าง ซึ่งกบายเป็นถ้ำกว้าง ผนังและเพดามถูกปกคลุมด้วยหินงอกหินย้อย แลเกิดถ้ำทีมีขนาดใหญ่อู่ในอุทยานแห่งนี้ คือ ซาราวัค แซมเบอร์ มีความยาว 700 เมตร กว้าง 396 เมตรและสูง 80 เมตร คำนวฯพื้นที่แล้วสามารถบรรจะเครื่องบินโบอิ้ง 747 ได้ 40 ลำ
นอกจากนี้ในอุทยานนักท่องเที่ยวยังจะได้พบกับหนึ่งในทางเดิน อดีตถ้ำที่ใหญ่ที่สุดนโลกอย่าง เดียร์เคฟ ซึ่งมีขนาดใหญ่เท่ากับโบสถ์เซนต์ปอลในลอนดอนห้าหลัง รวมไปถึง ถ้ำน้ำใส ซึ่งเป็นถ้ำที่ยาวที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเป็นที่อยุ่ของค้างควมหลายล้านตัว ซึ่งจะพรูกันออกมาจากถ้ำและินเข้าไปในป่าเป็นประจำทุกๆ เย็นขณะที่พระอาทิตย์กลังตกดิน
ความแปลกตาของหินปูน ซึ่งถูกกัดเซาะโดยธรรมชาติเขตร้อนเป็นรูปร่่างต่างๆ หนึ่งในนั้นคือ หินแหลมขนาดใหญ่ที่คมกริบราวกับมีดโกน ซึ่งถุกกัดกร่อนเป็นแอ่งลึก ซึ่งมีชื่อเรียกตามรูปร่างลักษณะว่า เดอะ พินนาเคิล การเดินป่าในอุทยานแห่งนี้ เต็มไปด้วยเส้นทางที่ยากลำบาก และอาจจะใช้เวลาหลายวัน แต่ให้ผลตอบแทนด้วยความสวยงามที่แสนคุ้มค่า ดดยนักท่องเทียงสามารถติดต่อขอรับบริการได้ที่รีสอร์ทในพื้นที่ ที่สำคัญควรมีมัีคคุเทศน์นำทางและลูกหาบช่วยยอกระเป๋าติดตามไปด้วย
อุทยานกีนาบาลู Kinabalu Park อุทยานคินาบาลู คือเส้นทางสู่ภูเขาคีนาบาลู อยู่เหนือระดับน้ำทะเล 1,585 เมตรและเป็นจุดเริ่มต้นในการเดินทางขึ้นสุ่ยอดเขาคินาบาลุ อุทยานแห่งนี้มีพื้นที่ 754 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ของภูเขาคินาบาลู ภูเขาทัมบายุคอน และตีนเขา ภูเขาเหล่านี้มีที่มาที่น่าสนใจ จากหลักฐานทางธราณีวิทยาพบว่า ต้องใช้เวลาถึงหนึ่งล้านปี ภูเขาจึงมีรูปร่างอย่างที่พวกเราเห็นอยุ่ในปัจจุบัน ภูเขาคินาบาลูที่ตั้งตระหว่านอยู่ในอุทยาน แม้จริงแล้วคือเทือกเขาหินแกรนิคขนาดใหย่ที่ดันเปลือกโลกขึ้นมา
เมื่อเวลาผ่านไป ทรายและหินหนาหลายพันฟุตสึกกร่อนลงเผยให้เห็นเทือกเขาแห่งนี้ ในยุคน้ำแข็ง ธารน้ำแข็.ที่ไหลข้ามยอดเขาทำให้ยอดเขาคินาบาลูราบเรียบ แต่ยอดส่วนที่ขุรุขระเหนือระดับของธารน้ำแข็ง ไม่ด้ถูกกัดเซาะไปด้วย ดังนั้น จึงเป็นพื้นที่ผิวขรุขระอย่างในปัจจุบัน
อุทยานแห่งนี้ตั้งอยู่ที่ชายฝั่งด้านตะวันตกของรัฐซาบะฮ์ บนเกาะบอร์เนียว ทางตะวันออกของมาเลเซีย มีพื้นที่ 754 ตารางกิโลเมตร อยู่รอบๆ ภูเขากีนาลาลู ซึ่งสุง 4,095.2 เมตร และเป็นภูเขาท่สูงที่สุดบนเกาะบอร์เนียว ภายในอุทยานเป็นแหล่งที่อยุ่ของพันธุ์พืชและสัตว์หลากหลายชนิด โดยแบ่งเขตแหล่งที่อยุ่ออกตามสภาพทางภูมิศาสตร์ ออกได้เป็น 4 เขตได้แก่ ป่า โลว์แลนด์ ดิปเตอโรแครป ป่าสนเขา ทุ่งหญ้าบนที่สูง และพุ่มไม่บนยอมเขา บริเวณภูเขาเป็นแหล่งที่พบกล้วยไม้ และพืชกินแมลงหลายสายพันธุ์ ที่มีชื่เสียงคือสายพันธุ์ เนปเปนเทส ราจาร์ และยังเป็นถ่ินอาศัยของสัตว์ประจำถิ่นอีกมากมาย เช่น ปลิงแกงยักษ์กีนาบาลู ไส้เดือนยักษ์กีนาบาลู นกเขียนวก้านตองปีกสีฟ้ากีนาบาลู
มะละกา และ จอร์จทาวน์ นครแห่งประวัติศาสตร์แห่งช่องแคบมะละกา Melaka and George Town,Historic Citis of the Straits of Malacca มะละกา เป็นรัฐทางตอนใหต้ในประเทศมาเลเซีย ตั้งอยุ่บริเวณช่องแคบมะละกา ตรงข้ามกับเกาะสุมาตรา รัฐมะละกาเป็นหนึงในสองรัฐของมาเลเซียที่ไม่มีเจ้าผุ้ครองรัฐเป็นประมุขแต่มีผุ้ว่าราชการรัฐแทน ในอดีต มะละกาเป็นเมืองศูนย์กลางทางการค้าระหว่างตะวันอกและตะวันตกบนชองแคบมะละกามากกว่า 500 ปี มีลักษณะของสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานระหว่างศิลปโปรตุเกส ดัตช์ และมาเลย์ ได้รับการยกย่องให้เป็นนครประวัติศาสตร์บนช่องแคบมะละกา ช่องแคบมะละกาเป็นช่องแคบระหว่งแหลมมลายูกับเกาะสุมาตรา อยู่บริเวณทางด้านตะวันตกเฉียงใจ้ของประเทศไทยตะวันตกและใต้ของมาเลเซีย ทางด้านตะวันออกเแียยงเหนือและเหนือของเกาะสุมาตรา และเลยไปถึงทางด้านใต้ของสิงคโปร์ ระบุพิกัดที่ประมาณ 1.43 องศาเหนือและ 102.89 องศาตะวันออก ช่องแคบมะละกาเป็นช่องแคบที่มีความหว้างบริเวณทางเข้าประมาณ 5 ไมล์ยาวประมาณ 600 ไมล์ ช่วงที่แคบที่สุดประมาณ 1.5 ไมล์ มีเรือผ่านประมาณ 900 ลำต่อวันหรือ
ประมาณ 50,000 ลำต่อปี ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบแล้วมีประมาณเรือที่ผ่านมากกว่าคลองสุเอซประมาณ 2 เท่า และมากว่าคองปานามากว่า 3 เท่า
มะละกาเป็นเมืองท่าสำคัญบนช่องแคลมะละกาซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญโดยเฉพาะในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ที่มะละการุ่งเรืองมาก นั่นจึงเป็นเหตุให้เมืองนี้เป็นที่หมายปองของบรรดาจักรวรรดินิยม จนในที่สุดโปรตุเกสด้เดินทางเข้ามายึดครอง ก่อนที่จะถูกดัตช์ เข้ามาครอบครองต่อ และเปลี่ยนมือผุ้ปกครองมาเป็นอังกฤษ แล้วญี่ปุ่นก็เข้ามาครอบครองระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2ในช่วงเวลาสั้นๆ จากนั้นมะละกากลับไปอยุ่ใต้อาณานิคมอังกฤษอีกครั้ง เมื่อมเลเซียประกาศเอกราชในปี พ.ศ. 2500 สถานที่ประกาศเอกราชคือ มะละกา ซึ่งในปัจจุบันตึกอนุสรณ์ในการประกาศอิสรภาพยังคงตั้งตระหว่างโดดเด่นอยุ่ในมะละกา
มะละกาเป็นเมืองวัฒนธรรมที่เต็มไปด้วยร่องรอยของประวัติศาสตร์สำคัญของมาเลเซีย จนได้รับการขนานนามว่าเป็น "นครแห่งประวัติศาสตร์ ของชนชาติมาเลเซีย" สถานที่สำคัญของมะละการ คือ บริเวณจตุรัศแดง บนถนน เลก ซา มา น่า หรือเรียกว่า จัตุรัสดัตช์ เนื่องจากที่นี่เคยเป็นศุนย์กลางชุมชนดัตช์ในสมัยที่เข้าปกครองมลายู ซึ่งแวดล้อมไปด้วยสถปัตยกรรมแบบตุวันตกอันสวยงาม มีใจกลางจตุรัส เป็นลานน้ำพุเก่าแก่แบบอังกฤษที่สร้้างถวายแด่ราชินีวิคตอเรีย และมีสถาปัตยกรรมแบบดัตช์สีแดงโดดเด่น ประกอบด้วย โบสถ์คริสต์ ศิลปกรรมดัตช์ประยุกต์ และอาคารสตัดธิวท์ เป็นอาคารดัตช์เก่าแก่ที่สุดในมาเลเซีย ปัจจุบันอาคารสตัดธิวท์กลายเป็นพิพิธภัณฑ์ทางประวัติศาสตร์ โบราณคดีที่น่าสนใจย่ิงของมะละกา
มรดกโลกโบราณคดีแก่งหุบเขาเล็งกง Archaeological Heritage of the Leggong Valley
หุบเขาเล็งกง ในรัฐเประ ประเทศมาเลเซีย เป้ฯพื้นที่ที่มีความสำคัญทางโบราณคดีมากที่สุดของคาบสมุทรมาเลเซีย มีการขุดค้นพบร่องรอยในยุคก่อนประวัติศาสตร์จำนวนมาก ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการดำรงชีวิตของมนุษย์ในยุคต้นที่เ่กาแก่ที่สุดในคาบสมุทรมาเลเซีย เล็งกงเปรียบเสมือนพิพิธภัณฑ์ในพื้นที่ดล่งและถ้ำ เป็นแหล่งที่ค้นพบโครงกระดุก ฟอสซิลของมนุษย์ซึ่งเรียกว่า มนุษย์เประ ในถ้ำพบค้นพบเครื่องประดับ เครื่องปั้นดินเผา อาวุธ และเครื่องมือหิน ถ้ำหลายแห่งในเล็งกงเป็นสถานที่ที่แสดงให้เก็ถึงหลักฐานการดำรงชีวิตและการล่าสัตว์ของมนุษย์ในยุคต้น
แหล่งโบราณคดีหุบเขาเล็งกง ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมของมาเลเซีย รวมแหล่งโบราณคดี 4 แห่งเข้าด้วยกัน ได้แก่
- บูกิตบูนูห์ และโกตาแทใปาน เป็นแหล่งโบราณคดีแบบเปิดโล่ง มีพิพิธภัฒฑ์ และแหล่งขุดค้นโบราณคดีที่ตั้งอยุ่ เป็นแหล่งโบราณคดีที่ให้ข้อมุบลทางโบราณคดี และทางธรณีวิทยาี่สำคัญเป็นอย่งมาก ที่ทำให้เข้าใจในเรื่องสิงแวดล้อมใยุคโบราณกับพูติกรรมทางปัญญาและวัฒนธรรมของมนุษย์ในยุคต้นผ่านการใง้งานของเครื่องมือหิน
- บูกิตจาวา เป็นแหล่งขุดค้นดบราณคดีแบบเปิดโล่ง
-บูกิตเคปาลากาจาห์ เป็นเทือกเขาหินปูนและถ้ำหลายแห่ง แหล่งดบราณคดีอยุ่ในเพิงผาหินในเทือกเขาหินปูน บูกิต เคปา กาจาห์ ตั้งอยุ่ประามณ กิโลเมตร จากเมือง เล็งกง การขุดค้นในปี 1900 เผยให้เห็นหลักฐานของการปยู่อาศัยของมนุษย์ประมาณ 11,000 ถึง 6,000 ปีที่ผ่ามาหลักฐานส่วนใหญ่ประกอบด้วยเครื่องมือหินดังกล่าวเป็นเครื่อง มือ และซากสัตว์
- บูกิตกัวฮาริมัย เป้นแหล่งดบราณคดีสุสานยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่ตั้งอยุ่ในเทือกเขาหินปูนบูกิตกัวฮาริมัน ประมาณ 10 กิโลเมตรจากเมืองเล็งกง กัวฮาริมัว เป้นถ้ำขนาดใหญ่ ลึกประมาณ 28 เมตร สุง 20 เมตร พื้นถ้ำปกคลุมไปด้วยก้อนหินงอกหินย้อย มีการขุดพบซากศพโบราณในถ้ำ 11-12 ซาก ดูเหมือนว่าถ้ำแห่งนี้ถุกนำมาใช้เป็นสุสานช่วงระหว่างปลายยุคหินใหม่และยุคโลหะตอนต้น
แหล่งโบราณคดีเหล่านี้ เป็นหนึ่งในแหลงที่มีกาบันทึกเรืองราวของมนุษย์ในุคต้นอยุนใาถานที่เดียวที่มีอายุยาวนานและเก่าแ่ที่สุดที่อยู่นอกทวีปแอฟริกา จำนวนของแหล่งที่พบในพื้นที่ซึ่งมีขอบเขตสัมพันธ์กันทัง 4 แห่งนี้ ทำให้สามารถคาดคะเน ปรากฎการก่อตัวขึ้นของประชากรขนาดใหญ่ กึ่งเร่ร่อนกึ่งตั้งหลักปักฐาน กับวัฒนธรรมในสมัยหินเก่า หินใหม่ และยุคโลหะที่ยังเหลือให้เห็นอยู่
ประเทศกัมพูชา องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของ กัมพูชาไว้ 2 แห่ง
เมืองพระนคร Angkor ตั้งอยู่ในจังหวัดเสีมราฐ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศกัมพูชา อยู่เหนือทะเลสาบเขมรไม่ไกลนัก เป็นเมืองที่ได้รับเลือกให้เป็นมรดกโลก เมืองพระนครถูกจัดให้เป็นแหล่งมรดกโลกที่ตกอยู่ในภาวะอันตราย เพราะขาดการดุแลรักษาที่ดี เมืองพระนคร ถือได้ว่าคือหลักฐาน
สำคัญที่แสดงถึงความยิ่งใหญ่และรุ่งเรืองในอดคตของอาณาจักรเขมร ซึ่งการปลูกสร้างดบราณสถานต่างๆ ก็ยังสะท้อนให้เห็นถึงภุมิปัญญาอันชาญฉลาดทางสถาปัตยกรรม และประติมากรรมของบรรพบุรุษขอมโบราณ เมืองพระนคร เป็นกลุ่มโบราณสถานที่สำคัญมากที่สุดแห่งหนึ่งในเอเชียตะวันออกฌฉียงใต้และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญของแระทเศกัมพุชาดดยมีพ้นที่กว้งใหญ่ถึง 400 ตารางกิโลเตร ครอบคลุมพื้นที่ป่าและปราสามหินและ เทวลัยมากว่า 100 แห่ง ดลราณสถานที่สำตัญ เช่นปราสาทนครวัด ประสามนครธม แราสาทบายน ปราสาทบาปวน เป็นต้น
เมื่อพระเจ้าชัววรมันที่ 2 ได้ประกาศแยกแผ่นดินเป้นอิสระจาก ซวา และราชวงศ์ต่อมาก็ได้ทำการสร้างราชะานีแห่งใหม่ขึ้นที่หริหราลัย บริเวณตอนเหนือของโตนเลสาบหลังจากนั้นพระเจ้ายโศวรมันที่ 1 ก็ได้มีพระราชดำริย้ายเมืองหลวงไปยู่ที่ยโสธรปุระหนือเรียกกันภายหลังว่า "เมืองพระนคร" ถือเป็นยุคที่สร้างปราสาทเป็นจำนวนมากถึงหว่าร้อยแห่ง โนเวลาต่อมาเมืองถึงรัชสมัยของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 นครวัดอันยิงใหญ่ได้ถือกำเนิขึ้น แต่ภายหลังเมืองพระเจ้าชัยวรมันที่ ึ ขึ้นครองราชย์ก็มีการย้ายเมืองหลวง ไปยังนครธมและยังได้สร้างปราสาเพ่ิมขึ้นอีกหลายแห่ง เข่น ปราสาทบายน ปราสาทตาพรม เป็นต้น
ปราสาทนครวัด เป็นศาสนสถานที่สร้างในรัชสมัยของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 โดยเป็นศาสนสถานประจำของพระองค์ ตังเทวสถานได้รับการอนุรักษ์ไว้เป็นอย่างดี จนเป็นศูนบ์กลางทางศาสนาที่สำคัญเพียงแห่งเดียวที่เหลือรอดมาจนถึงปัจจุบัน เป็นสิงก่อสร้างทางศาสนาที่มขนาดใหญ่ที่สุดของดลก โดยใช้เวลาสร้างร่วม 100 ปี ถือเป็นที่สุดของสถกปัตยกรรมเขมรสมัยคลาสสิกรุงเรือง และได้กลายเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติดดยปรากฎในธงชาติขงประเทศกัมพุชา
ปราสาทนคระม ตั้งอยุ่ทางทิสเหนือของนครวัด จุดเด่นที่สุดคือทางเข้าด้านใต้ที่มี ลักษณะเป็นหน้าเทวพักตร์ 4 ด้าน เม่อเข้าสุ่ใจกล่างนคระม จะพบกับปราสามหลักของพระเจ้าชัยวรมันเรียกว่า ปราสาทบายน
ปราสาทบายน ในคระม ประกอบด้วยอค์ปราสาทตั้งอยุ่บนฐานซ้อนสามชั้น มีจุดเด่นที่สำคัญคือ การสลักรูปพระพัตร์พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร หันออกไปทั้งสี่ทิศ เพื่อสอดส่องดูแลทุกข์สุขประชาชนตามความเชื่อในสมัยนั้น
ปราสามพระวิหาร Temple of Preah Vihear เป็นปราสามหินตามแบบศาสนาฮินดุที่ตั้งอยู่บริเวณเทือกเขาพนมดงรัก สุงจากระดับทะเลปานกลาง 657 เมตร ที่ตั้งของศาสนสถานแห่งนี้รู้จักกันในนาม พนมพระวิหาร อันหมายถึงบรรพตแห่งศาสนสถานอันศักดิ์สิทธิ์ใกล้อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร อ.กันทรลักษณ์ จ.ศรีสะเกษ อันเป็นทางขึ้นสุ่ปรสาทที่สะดวกทีุ่ด ปราสามพระวิหารมีสถาปัตยกรรมแบบเขมร สร้างตามแนวเหนือใต้ซึ่งผิดแปลกไปจากปราสามขอมส่วนใหญ่ ไทยและกัมพูชามีประวัติพิพาทเหนือตัวอราสาทเป้นเวลานานแล้ว ใน พ.ศ. 2505 ศาลยุติธรรมระหว่างปรเทศพิพากษาให้กัมพูชามีอธิปไตยเหนือปราสาม และในปี 2551 องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาิตขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรกโลกในประเทศกัมพูชา ปราสามพระวิหารประดิษฐานอยุ่บนผาเป้ญตาดีอยู่ในเขตหมู่บ้านภูมิซร็อล ตำบลเสาธงชัย อ.กันทรลักษณ์ จ.ศรีสะเกษ ห่างจาก อ.เมืองศรีสะเกษ 110 กิโลเมตร ทั้งนี้ ปราสาทตั้งอยุ่ห่างจากปราสามนครวัดในเมืองพระนครไป 140 กิโลเมตร และห่างจากกรุงพนมเปญไป 320 กิโลเมตร
- www.th.wikipedia.org/../รายชื่อแหล่งมรดกโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- travel.mthai.com, อุทยานแห่งชาติกุนุงมูลุ ดินแดนธรรมชาติ มหัศจรรย์ บนเกาะบอร์เนียว
- www.malaysia.travel/../อทุยานคินาบาลู (Kinabalu Park)
- aseannotes.blogspot.com,มรดกโลกในมาเลเซีย 1 : มะละกาและจอร์จทาวน์ นครประวัติศาสตร์บนช่องแคบมะละกา
- region4.prd.go.th/..,แหล่งโบราณคดีหุบเขาเล็งกง
- gothailandgoasean.touismthailand.org/..,เยือนเมืองพระนคร(Angkor)มรดกโลกในกัมพูชา
- www.painaidii.com/..,ปราสามเขาพระวิหาร
อุทยานแห่งชาติกูนุงมูลู Gunung Mulu Nation Park เป็นอุทยานที่ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว รัฐซาราวัก ประเทศมาเลเซีย ติดกับชายแดนของประเทศบรูไน เป็นพื้นที่ที่ทมีความหลากหลายในด้านชีววิทยา และธรณีวิทยาเป็นอย่างมาก มีพันธุ์พืชกว่า 3,500 ชนิด และมีพันธุ์ปาล์มกว่า 109 ชนิด
ด้านธรณีวิทยาเป็นภูมิประเทศแบบหิปูน มีพื้นที่สูงๆ ต่ำๆ หน้าผาสูงชัน ยอมแหลม มัพบรอยแตกว้าง ซึ่งกบายเป็นถ้ำกว้าง ผนังและเพดามถูกปกคลุมด้วยหินงอกหินย้อย แลเกิดถ้ำทีมีขนาดใหญ่อู่ในอุทยานแห่งนี้ คือ ซาราวัค แซมเบอร์ มีความยาว 700 เมตร กว้าง 396 เมตรและสูง 80 เมตร คำนวฯพื้นที่แล้วสามารถบรรจะเครื่องบินโบอิ้ง 747 ได้ 40 ลำ
นอกจากนี้ในอุทยานนักท่องเที่ยวยังจะได้พบกับหนึ่งในทางเดิน อดีตถ้ำที่ใหญ่ที่สุดนโลกอย่าง เดียร์เคฟ ซึ่งมีขนาดใหญ่เท่ากับโบสถ์เซนต์ปอลในลอนดอนห้าหลัง รวมไปถึง ถ้ำน้ำใส ซึ่งเป็นถ้ำที่ยาวที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเป็นที่อยุ่ของค้างควมหลายล้านตัว ซึ่งจะพรูกันออกมาจากถ้ำและินเข้าไปในป่าเป็นประจำทุกๆ เย็นขณะที่พระอาทิตย์กลังตกดิน
ความแปลกตาของหินปูน ซึ่งถูกกัดเซาะโดยธรรมชาติเขตร้อนเป็นรูปร่่างต่างๆ หนึ่งในนั้นคือ หินแหลมขนาดใหญ่ที่คมกริบราวกับมีดโกน ซึ่งถุกกัดกร่อนเป็นแอ่งลึก ซึ่งมีชื่อเรียกตามรูปร่างลักษณะว่า เดอะ พินนาเคิล การเดินป่าในอุทยานแห่งนี้ เต็มไปด้วยเส้นทางที่ยากลำบาก และอาจจะใช้เวลาหลายวัน แต่ให้ผลตอบแทนด้วยความสวยงามที่แสนคุ้มค่า ดดยนักท่องเทียงสามารถติดต่อขอรับบริการได้ที่รีสอร์ทในพื้นที่ ที่สำคัญควรมีมัีคคุเทศน์นำทางและลูกหาบช่วยยอกระเป๋าติดตามไปด้วย
อุทยานกีนาบาลู Kinabalu Park อุทยานคินาบาลู คือเส้นทางสู่ภูเขาคีนาบาลู อยู่เหนือระดับน้ำทะเล 1,585 เมตรและเป็นจุดเริ่มต้นในการเดินทางขึ้นสุ่ยอดเขาคินาบาลุ อุทยานแห่งนี้มีพื้นที่ 754 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ของภูเขาคินาบาลู ภูเขาทัมบายุคอน และตีนเขา ภูเขาเหล่านี้มีที่มาที่น่าสนใจ จากหลักฐานทางธราณีวิทยาพบว่า ต้องใช้เวลาถึงหนึ่งล้านปี ภูเขาจึงมีรูปร่างอย่างที่พวกเราเห็นอยุ่ในปัจจุบัน ภูเขาคินาบาลูที่ตั้งตระหว่านอยู่ในอุทยาน แม้จริงแล้วคือเทือกเขาหินแกรนิคขนาดใหย่ที่ดันเปลือกโลกขึ้นมา
เมื่อเวลาผ่านไป ทรายและหินหนาหลายพันฟุตสึกกร่อนลงเผยให้เห็นเทือกเขาแห่งนี้ ในยุคน้ำแข็ง ธารน้ำแข็.ที่ไหลข้ามยอดเขาทำให้ยอดเขาคินาบาลูราบเรียบ แต่ยอดส่วนที่ขุรุขระเหนือระดับของธารน้ำแข็ง ไม่ด้ถูกกัดเซาะไปด้วย ดังนั้น จึงเป็นพื้นที่ผิวขรุขระอย่างในปัจจุบัน
อุทยานแห่งนี้ตั้งอยู่ที่ชายฝั่งด้านตะวันตกของรัฐซาบะฮ์ บนเกาะบอร์เนียว ทางตะวันออกของมาเลเซีย มีพื้นที่ 754 ตารางกิโลเมตร อยู่รอบๆ ภูเขากีนาลาลู ซึ่งสุง 4,095.2 เมตร และเป็นภูเขาท่สูงที่สุดบนเกาะบอร์เนียว ภายในอุทยานเป็นแหล่งที่อยุ่ของพันธุ์พืชและสัตว์หลากหลายชนิด โดยแบ่งเขตแหล่งที่อยุ่ออกตามสภาพทางภูมิศาสตร์ ออกได้เป็น 4 เขตได้แก่ ป่า โลว์แลนด์ ดิปเตอโรแครป ป่าสนเขา ทุ่งหญ้าบนที่สูง และพุ่มไม่บนยอมเขา บริเวณภูเขาเป็นแหล่งที่พบกล้วยไม้ และพืชกินแมลงหลายสายพันธุ์ ที่มีชื่เสียงคือสายพันธุ์ เนปเปนเทส ราจาร์ และยังเป็นถ่ินอาศัยของสัตว์ประจำถิ่นอีกมากมาย เช่น ปลิงแกงยักษ์กีนาบาลู ไส้เดือนยักษ์กีนาบาลู นกเขียนวก้านตองปีกสีฟ้ากีนาบาลู
มะละกา และ จอร์จทาวน์ นครแห่งประวัติศาสตร์แห่งช่องแคบมะละกา Melaka and George Town,Historic Citis of the Straits of Malacca มะละกา เป็นรัฐทางตอนใหต้ในประเทศมาเลเซีย ตั้งอยุ่บริเวณช่องแคบมะละกา ตรงข้ามกับเกาะสุมาตรา รัฐมะละกาเป็นหนึงในสองรัฐของมาเลเซียที่ไม่มีเจ้าผุ้ครองรัฐเป็นประมุขแต่มีผุ้ว่าราชการรัฐแทน ในอดีต มะละกาเป็นเมืองศูนย์กลางทางการค้าระหว่างตะวันอกและตะวันตกบนชองแคบมะละกามากกว่า 500 ปี มีลักษณะของสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานระหว่างศิลปโปรตุเกส ดัตช์ และมาเลย์ ได้รับการยกย่องให้เป็นนครประวัติศาสตร์บนช่องแคบมะละกา ช่องแคบมะละกาเป็นช่องแคบระหว่งแหลมมลายูกับเกาะสุมาตรา อยู่บริเวณทางด้านตะวันตกเฉียงใจ้ของประเทศไทยตะวันตกและใต้ของมาเลเซีย ทางด้านตะวันออกเแียยงเหนือและเหนือของเกาะสุมาตรา และเลยไปถึงทางด้านใต้ของสิงคโปร์ ระบุพิกัดที่ประมาณ 1.43 องศาเหนือและ 102.89 องศาตะวันออก ช่องแคบมะละกาเป็นช่องแคบที่มีความหว้างบริเวณทางเข้าประมาณ 5 ไมล์ยาวประมาณ 600 ไมล์ ช่วงที่แคบที่สุดประมาณ 1.5 ไมล์ มีเรือผ่านประมาณ 900 ลำต่อวันหรือ
ประมาณ 50,000 ลำต่อปี ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบแล้วมีประมาณเรือที่ผ่านมากกว่าคลองสุเอซประมาณ 2 เท่า และมากว่าคองปานามากว่า 3 เท่า
มะละกาเป็นเมืองท่าสำคัญบนช่องแคลมะละกาซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญโดยเฉพาะในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ที่มะละการุ่งเรืองมาก นั่นจึงเป็นเหตุให้เมืองนี้เป็นที่หมายปองของบรรดาจักรวรรดินิยม จนในที่สุดโปรตุเกสด้เดินทางเข้ามายึดครอง ก่อนที่จะถูกดัตช์ เข้ามาครอบครองต่อ และเปลี่ยนมือผุ้ปกครองมาเป็นอังกฤษ แล้วญี่ปุ่นก็เข้ามาครอบครองระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2ในช่วงเวลาสั้นๆ จากนั้นมะละกากลับไปอยุ่ใต้อาณานิคมอังกฤษอีกครั้ง เมื่อมเลเซียประกาศเอกราชในปี พ.ศ. 2500 สถานที่ประกาศเอกราชคือ มะละกา ซึ่งในปัจจุบันตึกอนุสรณ์ในการประกาศอิสรภาพยังคงตั้งตระหว่างโดดเด่นอยุ่ในมะละกา
มะละกาเป็นเมืองวัฒนธรรมที่เต็มไปด้วยร่องรอยของประวัติศาสตร์สำคัญของมาเลเซีย จนได้รับการขนานนามว่าเป็น "นครแห่งประวัติศาสตร์ ของชนชาติมาเลเซีย" สถานที่สำคัญของมะละการ คือ บริเวณจตุรัศแดง บนถนน เลก ซา มา น่า หรือเรียกว่า จัตุรัสดัตช์ เนื่องจากที่นี่เคยเป็นศุนย์กลางชุมชนดัตช์ในสมัยที่เข้าปกครองมลายู ซึ่งแวดล้อมไปด้วยสถปัตยกรรมแบบตุวันตกอันสวยงาม มีใจกลางจตุรัส เป็นลานน้ำพุเก่าแก่แบบอังกฤษที่สร้้างถวายแด่ราชินีวิคตอเรีย และมีสถาปัตยกรรมแบบดัตช์สีแดงโดดเด่น ประกอบด้วย โบสถ์คริสต์ ศิลปกรรมดัตช์ประยุกต์ และอาคารสตัดธิวท์ เป็นอาคารดัตช์เก่าแก่ที่สุดในมาเลเซีย ปัจจุบันอาคารสตัดธิวท์กลายเป็นพิพิธภัณฑ์ทางประวัติศาสตร์ โบราณคดีที่น่าสนใจย่ิงของมะละกา
มรดกโลกโบราณคดีแก่งหุบเขาเล็งกง Archaeological Heritage of the Leggong Valley
หุบเขาเล็งกง ในรัฐเประ ประเทศมาเลเซีย เป้ฯพื้นที่ที่มีความสำคัญทางโบราณคดีมากที่สุดของคาบสมุทรมาเลเซีย มีการขุดค้นพบร่องรอยในยุคก่อนประวัติศาสตร์จำนวนมาก ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการดำรงชีวิตของมนุษย์ในยุคต้นที่เ่กาแก่ที่สุดในคาบสมุทรมาเลเซีย เล็งกงเปรียบเสมือนพิพิธภัณฑ์ในพื้นที่ดล่งและถ้ำ เป็นแหล่งที่ค้นพบโครงกระดุก ฟอสซิลของมนุษย์ซึ่งเรียกว่า มนุษย์เประ ในถ้ำพบค้นพบเครื่องประดับ เครื่องปั้นดินเผา อาวุธ และเครื่องมือหิน ถ้ำหลายแห่งในเล็งกงเป็นสถานที่ที่แสดงให้เก็ถึงหลักฐานการดำรงชีวิตและการล่าสัตว์ของมนุษย์ในยุคต้น
- บูกิตบูนูห์ และโกตาแทใปาน เป็นแหล่งโบราณคดีแบบเปิดโล่ง มีพิพิธภัฒฑ์ และแหล่งขุดค้นโบราณคดีที่ตั้งอยุ่ เป็นแหล่งโบราณคดีที่ให้ข้อมุบลทางโบราณคดี และทางธรณีวิทยาี่สำคัญเป็นอย่งมาก ที่ทำให้เข้าใจในเรื่องสิงแวดล้อมใยุคโบราณกับพูติกรรมทางปัญญาและวัฒนธรรมของมนุษย์ในยุคต้นผ่านการใง้งานของเครื่องมือหิน
- บูกิตจาวา เป็นแหล่งขุดค้นดบราณคดีแบบเปิดโล่ง
-บูกิตเคปาลากาจาห์ เป็นเทือกเขาหินปูนและถ้ำหลายแห่ง แหล่งดบราณคดีอยุ่ในเพิงผาหินในเทือกเขาหินปูน บูกิต เคปา กาจาห์ ตั้งอยุ่ประามณ กิโลเมตร จากเมือง เล็งกง การขุดค้นในปี 1900 เผยให้เห็นหลักฐานของการปยู่อาศัยของมนุษย์ประมาณ 11,000 ถึง 6,000 ปีที่ผ่ามาหลักฐานส่วนใหญ่ประกอบด้วยเครื่องมือหินดังกล่าวเป็นเครื่อง มือ และซากสัตว์
- บูกิตกัวฮาริมัย เป้นแหล่งดบราณคดีสุสานยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่ตั้งอยุ่ในเทือกเขาหินปูนบูกิตกัวฮาริมัน ประมาณ 10 กิโลเมตรจากเมืองเล็งกง กัวฮาริมัว เป้นถ้ำขนาดใหญ่ ลึกประมาณ 28 เมตร สุง 20 เมตร พื้นถ้ำปกคลุมไปด้วยก้อนหินงอกหินย้อย มีการขุดพบซากศพโบราณในถ้ำ 11-12 ซาก ดูเหมือนว่าถ้ำแห่งนี้ถุกนำมาใช้เป็นสุสานช่วงระหว่างปลายยุคหินใหม่และยุคโลหะตอนต้น
แหล่งโบราณคดีเหล่านี้ เป็นหนึ่งในแหลงที่มีกาบันทึกเรืองราวของมนุษย์ในุคต้นอยุนใาถานที่เดียวที่มีอายุยาวนานและเก่าแ่ที่สุดที่อยู่นอกทวีปแอฟริกา จำนวนของแหล่งที่พบในพื้นที่ซึ่งมีขอบเขตสัมพันธ์กันทัง 4 แห่งนี้ ทำให้สามารถคาดคะเน ปรากฎการก่อตัวขึ้นของประชากรขนาดใหญ่ กึ่งเร่ร่อนกึ่งตั้งหลักปักฐาน กับวัฒนธรรมในสมัยหินเก่า หินใหม่ และยุคโลหะที่ยังเหลือให้เห็นอยู่
ประเทศกัมพูชา องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของ กัมพูชาไว้ 2 แห่ง
เมืองพระนคร Angkor ตั้งอยู่ในจังหวัดเสีมราฐ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศกัมพูชา อยู่เหนือทะเลสาบเขมรไม่ไกลนัก เป็นเมืองที่ได้รับเลือกให้เป็นมรดกโลก เมืองพระนครถูกจัดให้เป็นแหล่งมรดกโลกที่ตกอยู่ในภาวะอันตราย เพราะขาดการดุแลรักษาที่ดี เมืองพระนคร ถือได้ว่าคือหลักฐาน
สำคัญที่แสดงถึงความยิ่งใหญ่และรุ่งเรืองในอดคตของอาณาจักรเขมร ซึ่งการปลูกสร้างดบราณสถานต่างๆ ก็ยังสะท้อนให้เห็นถึงภุมิปัญญาอันชาญฉลาดทางสถาปัตยกรรม และประติมากรรมของบรรพบุรุษขอมโบราณ เมืองพระนคร เป็นกลุ่มโบราณสถานที่สำคัญมากที่สุดแห่งหนึ่งในเอเชียตะวันออกฌฉียงใต้และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญของแระทเศกัมพุชาดดยมีพ้นที่กว้งใหญ่ถึง 400 ตารางกิโลเตร ครอบคลุมพื้นที่ป่าและปราสามหินและ เทวลัยมากว่า 100 แห่ง ดลราณสถานที่สำตัญ เช่นปราสาทนครวัด ประสามนครธม แราสาทบายน ปราสาทบาปวน เป็นต้น
เมื่อพระเจ้าชัววรมันที่ 2 ได้ประกาศแยกแผ่นดินเป้นอิสระจาก ซวา และราชวงศ์ต่อมาก็ได้ทำการสร้างราชะานีแห่งใหม่ขึ้นที่หริหราลัย บริเวณตอนเหนือของโตนเลสาบหลังจากนั้นพระเจ้ายโศวรมันที่ 1 ก็ได้มีพระราชดำริย้ายเมืองหลวงไปยู่ที่ยโสธรปุระหนือเรียกกันภายหลังว่า "เมืองพระนคร" ถือเป็นยุคที่สร้างปราสาทเป็นจำนวนมากถึงหว่าร้อยแห่ง โนเวลาต่อมาเมืองถึงรัชสมัยของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 นครวัดอันยิงใหญ่ได้ถือกำเนิขึ้น แต่ภายหลังเมืองพระเจ้าชัยวรมันที่ ึ ขึ้นครองราชย์ก็มีการย้ายเมืองหลวง ไปยังนครธมและยังได้สร้างปราสาเพ่ิมขึ้นอีกหลายแห่ง เข่น ปราสาทบายน ปราสาทตาพรม เป็นต้น
ปราสาทนครวัด เป็นศาสนสถานที่สร้างในรัชสมัยของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 โดยเป็นศาสนสถานประจำของพระองค์ ตังเทวสถานได้รับการอนุรักษ์ไว้เป็นอย่างดี จนเป็นศูนบ์กลางทางศาสนาที่สำคัญเพียงแห่งเดียวที่เหลือรอดมาจนถึงปัจจุบัน เป็นสิงก่อสร้างทางศาสนาที่มขนาดใหญ่ที่สุดของดลก โดยใช้เวลาสร้างร่วม 100 ปี ถือเป็นที่สุดของสถกปัตยกรรมเขมรสมัยคลาสสิกรุงเรือง และได้กลายเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติดดยปรากฎในธงชาติขงประเทศกัมพุชา
ปราสาทนคระม ตั้งอยุ่ทางทิสเหนือของนครวัด จุดเด่นที่สุดคือทางเข้าด้านใต้ที่มี ลักษณะเป็นหน้าเทวพักตร์ 4 ด้าน เม่อเข้าสุ่ใจกล่างนคระม จะพบกับปราสามหลักของพระเจ้าชัยวรมันเรียกว่า ปราสาทบายน
ปราสาทบายน ในคระม ประกอบด้วยอค์ปราสาทตั้งอยุ่บนฐานซ้อนสามชั้น มีจุดเด่นที่สำคัญคือ การสลักรูปพระพัตร์พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร หันออกไปทั้งสี่ทิศ เพื่อสอดส่องดูแลทุกข์สุขประชาชนตามความเชื่อในสมัยนั้น
ปราสามพระวิหาร Temple of Preah Vihear เป็นปราสามหินตามแบบศาสนาฮินดุที่ตั้งอยู่บริเวณเทือกเขาพนมดงรัก สุงจากระดับทะเลปานกลาง 657 เมตร ที่ตั้งของศาสนสถานแห่งนี้รู้จักกันในนาม พนมพระวิหาร อันหมายถึงบรรพตแห่งศาสนสถานอันศักดิ์สิทธิ์ใกล้อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร อ.กันทรลักษณ์ จ.ศรีสะเกษ อันเป็นทางขึ้นสุ่ปรสาทที่สะดวกทีุ่ด ปราสามพระวิหารมีสถาปัตยกรรมแบบเขมร สร้างตามแนวเหนือใต้ซึ่งผิดแปลกไปจากปราสามขอมส่วนใหญ่ ไทยและกัมพูชามีประวัติพิพาทเหนือตัวอราสาทเป้นเวลานานแล้ว ใน พ.ศ. 2505 ศาลยุติธรรมระหว่างปรเทศพิพากษาให้กัมพูชามีอธิปไตยเหนือปราสาม และในปี 2551 องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาิตขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรกโลกในประเทศกัมพูชา ปราสามพระวิหารประดิษฐานอยุ่บนผาเป้ญตาดีอยู่ในเขตหมู่บ้านภูมิซร็อล ตำบลเสาธงชัย อ.กันทรลักษณ์ จ.ศรีสะเกษ ห่างจาก อ.เมืองศรีสะเกษ 110 กิโลเมตร ทั้งนี้ ปราสาทตั้งอยุ่ห่างจากปราสามนครวัดในเมืองพระนครไป 140 กิโลเมตร และห่างจากกรุงพนมเปญไป 320 กิโลเมตร
- www.th.wikipedia.org/../รายชื่อแหล่งมรดกโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- travel.mthai.com, อุทยานแห่งชาติกุนุงมูลุ ดินแดนธรรมชาติ มหัศจรรย์ บนเกาะบอร์เนียว
- www.malaysia.travel/../อทุยานคินาบาลู (Kinabalu Park)
- aseannotes.blogspot.com,มรดกโลกในมาเลเซีย 1 : มะละกาและจอร์จทาวน์ นครประวัติศาสตร์บนช่องแคบมะละกา
- region4.prd.go.th/..,แหล่งโบราณคดีหุบเขาเล็งกง
- gothailandgoasean.touismthailand.org/..,เยือนเมืองพระนคร(Angkor)มรดกโลกในกัมพูชา
- www.painaidii.com/..,ปราสามเขาพระวิหาร
วันอังคารที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2560
World Heritage Site : Thai,Laos,Myanmar
องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศไทยทั้งสิ้น 5 เเหล่ง
นครประวัติศาสตร์ พระนครศรีอยุธยา Historic City of Ayutthaya
อุทยานประวัติศาตร์พระนคราศรีอยุธยา มีเนื้อที่ 1,810 ไร่ ตั้งอยู่ภมยในเกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถานอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา
นักวิชาการเชื่อว่า ก่อนที่พระเจ้าอู่ทองจะทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาขึ้นใน .ศ. 1893 นั้น บริเวณดังกล่าวมีบ้านเรือนตั้งอยู่ก่อนแล้วเรียกว่า เมืองอโยธยา หรืออโยธยาศรีรามเทพนคร มีทีตั้งอยู่บริเวณด้านทิศตะวันออกนอกเกาะเมืองอยุธยา ปรากฎหลักฐานโบราณสถานที่เป็นวัดสำคัญ เช่น วัมเหยงค์ วัดอโยธยา รวมทั้งจากพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอังกษรนิติ์ กล่าวถึงการก่อสร้างพระพุทธรูปที่เรียกว่า พระเจ้าพแนงเชิง พระประธราของวัดพนัญเชิง โดยระบุว่า สร้างขึ้นก่อนที่พระเจ้าอู่ทองจะทรงสถาปนากรุงศรีปยุธยาถึง 26 ด้วยทำเลที่ตั้งของกรุงศรีอยุธยามีลกษณะเป็นเกาะมือง มีแม่น้ำที่สำคัญ 3 สายโอบล้อมคือ แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำป่าสัก และแม่น้ำลพบุรี ทำให้พื้นดินมีความอุดมสมบูรณื และเป็นชุมทางคมนาคมทางน้ำ รวมทั้งยังเป็ฯปราการธรรมชาติ ในการป้องกันข้าศึกศัตรูกรุงศรีอยุธยาจึงเป็นราชธานีใหญ่ที่สามารถกุมอำนาจเหนือเมืองใกล้เคียงไดเป็นเวลายาวนาน
กรุงศรีอยุธยาเติบโตเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ และการค้า ที่สำคัญแห่งหนึ่ง ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้ ระหว่างพุทธตวรษที่ 21-23 มีชาวต่างชาติทั้งชาวเอเชียและชาวยุโรป เข้ามาค้าขายทางเรือ ส่วนมากมีความสัมพันธ์ทางการทูตด้วย ...
กรุงศรีอยุธยายังมีความเจริญ ก้าวหน้าทางด้านการปกครอง กฎหมาย การศาล ระบบสังคม การศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม..และสั่งสมไว้ตกทอดกันมาถึงปัจจุบันนี้
โบราณสถานสำคัญ ประกอบด้วย
- พระราชวังโบราณหรือพระราชวังหลวง ตั้งอยู่ทางเหนือของวัดพะศรีสรรเพชญ์ ริมแม่น้ำลพบุรี ปัจจุบันเหลือแต่เพียงฐานรากพระที่นี่งองค์ต่างๆ เนื่องจากถูกเผาทำลายเมื่อครั้งเสียกรุงครั้งที่ 2 พระราชวังโบราณนี้สร้างขึ้นใน สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เมื่อทรง อุทิศที่ตั้งของพระตาชมณเี่ยรเกิมที่สร้างไว้ สมัยพระเจ้าอู่ทอง ให้เป็นวัดพระศรีสรรเพชญ์
- วัดพระศรีสรรเพชญ์ เป็ฯวัดที่สำคัญที่สุดของกรุงศรีอยุธยา โดยแต่เดิมสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 หรือพระเจ้าอู่ทอง ได้ทรงสร้างพระราชมณเทียรขึ้นที่บริเวณนี้ ต่อมาสมเด็จพระบมไตรโลกนาถได้อุทิศให้เป็นวัด ในเขตพระราชวัง สำหรับเป็นที่ประกอบพระราชพิธีที่สำคัญ และเป็นที่เสด็จออกบำเพ็ญพระราชกุศล
- วัดราชบูรณะ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 หรือเจ้าสามพระยา โดปรดให้สถาปนาขึ้นใน พ.ศ. 1967 ตรงบริเวณที่ถวายพระเพลิงพระศพ เจ้าอ้ายพระยา และเจ้ายี่พระยา พระเชษฐาทั้ง 2 พระองค์ ซึ่งสิ้นพระชนม์เนืองจากการสุ้รบแย่งชิงราชสมบัติ
- วิหารมงคลบพิตร พระมงคลบพิตรเป็ฯพระพุทธรูปสำริด องค์ใหญ่ที่สุดองค์หนึ่งในประเทศไทย ซึ่งสันนิษฐานว่า สร้างในสมัยอยุธยาตอนต้น ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ได้บูรณะวิหารพระมงคลบพิตรใหม่ทั้งหมดดังปรากฎในปัจจุบัจน
กรมศิลปากรได้ดำเนินการอนุรักษ์โบราณสถานเมืองพระนครศรีอยุธยาภายใต้ชื่อ โครงการอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา และต่อมาองค์การยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม
เมืองประวัติศาสตร์ สุโขทัยและเมืองบริวาร History town of Sukhothai and Associated Historic Towns อุทยานประวัติศาสตร์ที่ได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลก ประกอบด้วย
- อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ครอบคลุมพื้นที่ดบราณสถานกรุงสุโขทัยศูนย์กลางการปครองของอาณาจักรสุดขทัย ซึ่งมีอำนาจอยุ่บริเวณภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทยในช่วงพทุธศตงวรรษที่ 18-19 ตั้งอยู่ที่ตำบลเมืองเก่า (เขตเทศบาลตำบลเมืองเก่า) อำเภอเมือง สุโขทัย จังหวัดสุโขทัย ห่างจากตัวเืองสุโขทัยปัจจุบัน (เขตเทศบาลเมืองสุโขทัยธานี)ไปทางทิศตะวันตกประมาณ 12 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12
ผังเมืองสุโขทัยมีลักษณะเป็นรูปสีเหลี่ยมผืนผ้า มีความยาวประมาณ 2 กิโลเมตร กว้างประมาณ 1.6 กิโลเมตร มีประตูเมืองอยู่ตรงกลางกำแพงเมืองแต่ละด้าน ภายในยังเหลือรอ่งรอยพระราชวังและวัดอีก 26 แห่งวัดที่ใหญ่ที่สุดคือวัดมหาธาตุอุทยานแห่งนี้ได้รับการบุรณปฏิสังขรณ์โดยกรมศิลปากรด้วยความช่วยเหลือจากองค์การยูเนสโก มีผุ้เยี่ยมชมหลายแสนคนต่อปี ซึ่งสมารถเดิเท่าหรือขี่จักรยานเที่ยวชมได้
อุทยานประวัติศษสตร์สุโชัยได้รับการประกาศคุ้มครองครั้งแรกตามประกาศราชกิจจานุเบกษาองค์การยูเนสโกได้ประกาศให้อุทยานแห่งนี้เป็นแหลงมรดกโลกร่วมกับอุทยานประวัติศาสตร์ที่กำแพงเพชรและศรีสัชนาลัยภายใต้ชขื่อว่า "เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร"
- อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัยตั้งอยู่ที่ตำบล ศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย มีดบราณสถานทั้งหมด 215 แห่ง สำรวจค้นพบแล้ว 204 แห่งรวมทั้งสุสานวัดชมชื่นและเตาสังคโลก โบราณ ในปัจจุบันจากการประเมินของกรมศิลปากร นับว่ามีการต่อเติมโบราณสถานจากสภาพเดิมน้อยกว่าที่ใด ยังคงรักษาภูมิทัศน์ของเมืองประวัติสษสตร์ไว้ได้ครบถ้วน
- อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร ตั้งอยู่ในเขตตำบลในเมือง อำเภอเมือง กำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร ไม่ไกลจากจังหวัดสุโขทัย เท่าใดนัก ลักษณะของศิปละและสถาปัตยกรรมในอุทยานแห่งนี้เป็นศิลปะแบบเดี่ยวกับที่ปรากฎในอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย มีโบราณสถานที่สวยงานและขนาดใหญ่มากมาย หลายแห่งในอดีตเมืองกำแพงเพชรถือเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของอาณาจักรสุโขทัย
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง Thungyai-Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuaries
..เขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จัดได้ว่าเป็นผืนป่าอนุรักษณแห่งเดียวที่มีอยุ่ในประเทศไทย (จากจำนวนทั้งสิ้นจนถึงปัจจุบัน ประกาศไปแล้วจำนวน 31 เขต)ที่ไม่มีราษฎรทั้งชาวไทยและชาวไทยภูเขาอาศัยอยู่ในพื้นที่ ผลจากการสำรวจความหลากหลายของสัตว์ป่า โดยคณะวนศาสตร์ และดดขเจ้าหน้าที่ของกองอนุรัษ์สัตว์ป่าเท่าที่ได้ทำมาแล้ว นับตั้งแต่ก่อนที่จะได้ประกาศให้เป็นเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่า ปรากฎว่าจากความหลากหลายของสภาพภูมิประเทศ สภาพป่าหลาชนิดที่กระจัดกระจายผะผนกัน ตลอดจนความหลากหลายของอุณหภูมิอากาศ ประจำถิ่น ทำให้ห้วยขาแข็งนี้เป็นแหล่งรวมพันู์ของสัตว์ป่านานาชนิด ังนี้ คือ สัต์เลี้ยงลูกด้วยนมจำนวน 67 ชนิด นก 355 ชนิด สังต์เลื้อยคลาน 77 ชนิด สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก 29 ชนิ และสัตว์จำพวกปลาอี 54 ชนิด รวมแล้วมีสัตว์ป่าเท่่าที่ได้ทำการสำตวจมาแลวทั้งสิ้น 582 ชนิด ในจำนวนสัตว์ป่าที่สำรวจแล้วทั้งหมดมีสตว์ป่ที่ได้รับการกำหนดสถานภาพโดย IUCN ว่าจะสูญพันธ์ จำนวน 21 ชนิด และสัตว์ป่าที่ถูกคุกคาม จำนวน 65 ชนิดรวมอยุ่ด้วย
แม้ว่าป่าห้วยขาแข้งจะมีพื้นที่กว้างใหญ่ถึง 2,575 ตารางกิโลเมตร และจัดว่าเป็ฯเขตรักษรพันธุืสัตว์ป่า ที่มีขนาดใหญ่เป็นสองรองจากทุ่งใหญ่ ก็ยังไม่มีขนาดใหญ่พอที่จะประกันการสูญพันู์ของสัตว์ป่าและพืชป่าโดยลำพัง รัฐบาลจึงได้ประกาศให้พื้นที่ป่าต่อเนื่องไปทางทิศตวะันตกจรดชายแดนพม่า เป็นเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าอีกแห่งหนึ่งคือ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร พื้นที่ 2,000,000 ไร่ หรือ 3,200 ตารางกิโลเมตร โดยประกาศในปี พ.ศ. 2517 หลังจากที่มีกรณีอื้อฉาวว่ามีการลักลอบฆ่าสัตว์ป่ากันในใจกลางของป่าทุ่งใหญ่ .. จึงทำให้ป่าอนุรักษ์ในรูปของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าที่ต่อเนื่องเป็นผืนใหญ่ทั้งสองแห่งนี้มีชื่อเรียกรวมกันว่า ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง และรอการผนวกป่าสงวนห้วน้ำโจนบางส่วนที่ยังคงสภาพความเป็นชาติเหลืออยู่ทางตอนใต้ของป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง
ผืนป่าอนุรักษ์ในรูปเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าที่ได้ชื่อว่า "ทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง"แห่งนี้ ครอบคลุมพื้นที่ของ 4 อำเภอ ใน - จึงหวัด คือ อ.บ้านไร่ อ.ลานสัก จ.อุทัยธานี อ.สังขละบุรี จ.กาณจนบุรี และอ.อุ้งผาง จ.ตาก นอกจานี้ยังถุกล้อมรอบไปด้วยผืนป่าอนุรักษ์แห่งอื่นๆ ในรูปของเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าปละอทุยานแห่งชาติที่ต่อเนื่องเป็นผ่าผืนเดียวกันอีกจำนวน 7 แห่ง นั้นคือ เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าอุ้งผาง, อทุยานแห่งชาติแม่วงศ์และอทุยาแห่งชาติคลองลานเชื่อต่อทางตอนเหนือ และต่อเนื่องกับอทุยานแห่งชาติเขาแหลม, อุทยานแห่งชาติเขื่อนศรีนครินทร์ อุทยานแห่งชาติเอราวัฒ เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าสลักพระและอทุยาทแห่งชาติเฉลิมรัตนโกสินทร์ทางตอนใต้..
แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง Ban Chaing Archaeological Site เป็ฯแหล่งโบราณคดีสำคัญแห่งหนึ่งอยู่ที่อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ที่ทำให้รับรู้ถึงการดำรงชีวิตในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ย้อนไลังไปกว่า 5,000 ปี ร่องรอยของมนุษย์ในประเทศไทยสมัยดังกล่าว แสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมที่มีพัฒนาการแล้วในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านความรู้ความสามารถหรือภมิปัญญา อันเป็นเครื่องมือสำหรับช่วยให้ผุ้คนเหล่านั้นสามารถดำรงชีวิตและสร้างสังควัฒนธรรมของมนุษย์ได้นือเนื่องต่อกันมาเป็นระยะเวลายาวนาน วัฒนธรรม้านเชียงได้ครอบคลุมถึงแหล่งโบราณคดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออีกกว่าร้อยแห่ง ซึ่งเป็นบริเวณพื้นที่ที่มีมนุษย์อยู่อาศัยหนาแน่นมาตั้งแต่หลายพันปีแล้ว ด้วยเหตุนี้เององค์การยูเนสโกของสหประชาชาิตจึงได้ยอมรับขึ้นบัญชีแหล่ววัฒนธรรมบ้านเชียงไว้เป็นแห่งหนึ่งในบรรดามรดกโลก
ผืนป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ Dong Phayayen-Khao Yai Forest Complex ..ในอดีตมีป่าดงดิบกว้างใหญ่ กันกลางระหว่างภาคกลางกับภาคอีสาน ซึ่งเต็มไปด้วยภยันตรายทั้งจากสัตว์ ผ่า ไข้ป่า ภูตผีปีศาจ อาถรรพณ์ลึกลับ และเป็นที่เล่าขานถึงความน่าเกรงขาม การเดินทางผ่าไปยังภาคอีสานยากลำบาก หลายคนต้องเสียชีวิตด้วยไข้ป่า หรือสัตว์ป่า ผุ้คนจึงขนานนามป่าแห่งนี้ว่า ดงพญาไฟ..
สมเด็จกรมพรยาดำรงตาชานุภาพ ทรงนิพนธ์ไว้ว่า "ดงพญาไฟ เป็นช่องสำหรับข้าไปมา ระหว่างเมืองสระบุรีกับมณฑลนครราชสีมาแต่โบราณ ไปได้แต่เดิมเท่าจะใช้ล้อเหวียนหาได้ไม่ ด้วยทางต้องเดินตามสันเขาบ้าง ตามไหล่เขาบ้าง คนเดินตามปกตินั้น ตั้งแต่ตำบลแห่งคอย ต้องค้างคือในป่านี้ถึง 2 คืนถึงจะพ้น"..
วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2443 พระบาทสมเด็๗พระจุลจอมเหล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดการเดินรถไฟ สายกรุงเพท -นครราชสีมา ขณะที่เสด็กลับทางรถไฟผ่านดงพญาไฟ ทรงรับสั่งว่าป่าชื่อฟังดุน่ากลัว จึงตรัสว่า "ให้เปลี่ยนชือดงพญาไฟเป็นดงพญาเย็น เพื่อความเป็นสิริมงคล และความร่มแย็นเป็นสุขอาณาประชาราษฎร์"
หลังจากมีการสร้างทางรถไฟ และถนนมิตรภาพ จากภาคกลางไปสู่่ภาคอีสาน ดงพญาไฟก็ถูกผ่าออกทันที ผุ้คนเริ่มที่จะอพยพเข้าไป แล้วถากถางป่าทำไรทำนา โดยเฉพาะบริเวณ ฟาร์มโชคชัย อ.ปากช่อ จ.นครราชสีมา
ตำบลเขาใหญ่เกิดขึ้นจากการอพยพ จากบ้านท่าชัย ,ท่าด้าน จังหวัดนครนายก บุกเบิกพื้นที่ทำกิน กลางผืนป่า อันเป็นทำเลที่ดี จนกลายเป็นชุมชนกลางป่า ยิงเวลาผ่าไป ก็ยิงมีชาวบ้านจากจังหวัดรรอบๆ ขึ้นมาถากถางมากขึ้น จนพื้นที่ 30 ตารางกิโลเมตร หรือ 18,750 ไร่ถูกถากถางไป ในปี พ.ศ. 2465 ชุมชนนี้ได้ขออนุญาตจัดตั้งเป็นตำบลเขาใหญ่ ขึ้นกับอำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก เชื่อ เขาใหญ่ จึงเร่ิมต้นตั้งแต่นั้นมา ทั้งที่ไม่มียอดเขาแห่งใดที่มีชื่อคำว่าเขาใหญ่
ด้วยเหตุที่เขาใหญ่อยุ่กลางใจป่า ไม่มีถนนที่สามารถเข้าไปได้อย่างสะดวก จึงทำให้ชุมชนนี้กลายเป็นบ้านป่าเมืองเถือน กลายเป็นเเหล่งซ่อนสุมของเหล่าโจรผุ้ร้าย ทางจังกซัดนครนายก จึงส่ง "ปลัดจ่าง" มาปราบกวาดล้างโจรบนเขาใหญ่ และสามารถปราบได้ โดยใช้เวลานับเดือน แต่ปลัดต้องเสียชิวิตด้วยไข้ป่า ด้วยความกล้าหาญของทาน พวเขาจึงจึงสร้าง ศาลเจ้าพ่อเขาใหญ่ ข้น เป็นศาลที่ให้ผุ้คนกราบไหว้มาจนถึงปัจจุบันนี้ ทางจังหวัดนครนายก จึงสั่งให้อพยพชาวพ้านกว่า 1,000 คนลงมายังืพ้นราบและสั่งให้ยกเลิกตำบลเขาใหญ่ ปล่อยให้เกลายเป็นทุ่งหย้ารกร้าง และป่าให้เห็นด้งเช่นปัจจุบัน
ปี พ.ศ.2505 จมอพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีคนที่ 11 เดิทางสำรวจบริเวณดังกล่าวด้วยเฮลิคอปเตอร์ ท่านมีคำสั่งให้ทางกระทรวงเกษตรและกระทรวงมหาดไทยร่วมกันสำรวจเพื่อจัดตั้งให้เป็นอุทยานแห่งชาติ และประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติเมือ พ.ศ. 2505 ซึค่งเป็นอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทย
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ปางสีดา ทับลาน ตาพระยา และเขตรักษาพันู์สัตว์ป่าดงรัก ได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลกภายใต้ชื่อ "ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่"
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ(ยูเนสโก)ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศลาวทั้งส้ิน 2 แหล่ง
เมืองหลวงพระบาง Town of Luang Prabang หลวงพระบางเป็นเมืองเอกของแขวงหลวงพระบาง ประเทศลาว อยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ตัวเมืองตั้งอยู่ริมแม่น้ำโขงและแม่น้ำคาน ซึ่งไหลมาบรรจบกัน เป็นเมืองที่องค์การยูเนสโก ได้ยกย่องหใ้เป็นมรดกโลกด้วย
หลวงพระบางเป็นเมืองเก่าแก่ของอาณาจักรล้านช้างตั้งแต่สมัยสถาปนาอาณาจักรแต่เดิมที่ชื่อว่า "เมืองซวา"(ออกเสียงว่า ซัว) และเมื่อ พ.ศ. 1300 ขุนลอซึ่งถือเป็นปฐมกษัตริย์ลาวได้ทรงตั้งเมือง.วาเป็นราชธานีของอาณาจักรล้านช้างและได้เปลี่ยนชื่อเมืองให่เป็นเชียงทอง
เมื่อพระเจ้าฟ้างุ้ม เสด็จกลับจากกัมพูชา อันเนื่องจากพระองค์และพระบิดาต้องเสด็จลี้ภัยเพราะถูกขับไล่จากษัตรยิ์องค์ก่อน ซึ่งแท้จริงก็คือพระอัยกาของเจ้าฟ้างุ้มนั่นเอง เจ้าฟ้างุ้มทรงรวบรวมกำลังขณะอยู่ในเสียมราฐ และนำกองทัพนับพันกำลังเพื่อกูราชัลลังก์กลับคือ และสถาปนาอาณจักรขึ้น ต่อมาในสมัยพระโพธิสานราชเจ้าพระองค์ได้ทรงอาราธนาพระบางซึ่งเดิมประดิษฐานอยู่ที่เมืองเวียงคำขึ้นมาประดิษฐานอยู่ที่เมืองเชียงทองอันเป็นนครหลวง เมือองเชียงทองจึงมีื่อเรียกว่า "หลวงพระบาง" นับแต่นั้นมา
วัดพูและการตั้งถ่ินฐานโบราณที่เกี่ยวข้องภายในภูมิทัศน์วัฒนธรรมจำปาศักดิ์ Vat Phou Associated Ancient Settlement within the Champasak Cultural Landscaoe
บริเวณโดยรอบวัดพูนี้ บ่งบอกถึงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอันงดงามของเอเชียตะวันออกเแียงใต้ ดดยเแพาะของอาณาจักขอมได้เป็นอย่างดี ซึ่งขอมเรืองอำนาจในภูมิภาคนี้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 10 -14 โดยเป็นตัวอย่างอันโดเด่นของการผสมผสานกันระหว่งความสำคัญทางจิตวิญญาณอันยิ่งใหญ่กับสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ โดยแสดงออกถึงความสัมพันธ์ระหว่างะรรมชาิกับมนุษย์ตามความเชื่อของศาสนาฮินดุ
ต้นกำเนิดของสถานที่แห่งนี้มีมาก่อน พ.ศ. 1143 อย่างน้อยที่เมืองเชษฐาปุระซึ่งการวจัยทางโบราณคดีพบหลักฐานว่ามีมาก่อนยุคอังกอร์ อยางไรก็ดี การพัฒนาสถานที่แห่งนี้ดดยองค์รวมนั้นเป็ฯการผสมผสานเข้ากับของเดิม การะรื่องอำนาจขึ้นสู่จุดสูงสุดของอาณาจักรขอม ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 7-12
กษัตริย์องค์ใหม่ๆ ซึ่งอสจมีสูนย์กลางวอยุ่ที่แขวงจำปาสัก ได้แผ่ขยายอำนาจการปกครองจากเมืองหลวงที่อสานปุระนับตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 10 เป็นต้นมา จนกระทั่งแผ่อำนาจออกไปครอบคลุมไม่เพียงแต่ส่วนที่เป็ฯประเทศกัมพุชาในปจจุบันนี้เท่านั้ แต่ยังไปไกลถึงส่วนที่เป็ฯภาคอีสานส่วนใหญ่ในปัจจุบันนี้ของประเทศไทยอีกด้วย กาปรับภูมิทัศน์บริเวณวัดพูให้งดงามนั้นเกิขึ้นในยุคนี้ ความสำคัญทางประวัติศาตรของวัดพุอยู่ที่บทบาทในการเป็นสูนย์กลางการปกครองและเป็นการแสดงออกถึงอิทธิพลจากอินเดียมากกว่าอิทธิพลจากจีน ดดยมีหลักฐานตามความเชื่อของศาสนาฮินดุที่เด่นชัด การพัฒนาภูมิทัศน์ทางวัฒธรรมของแขวงจำปาสักครั้งใหญ่ตรั้งสุดท้ายเกิดขึ้นเมือคริสต์ศตวรรษที่ 13 ก่อนที่อาณาจักขอมจะล่มสลายเพียงไม่นาน ต่อมาถูกดัดแปลงให้กลายเป็นวัดพุทธนิกายเถรวาท ซึ่งขัดแย้งกับจุดประสงค์ดั้งเิมที่สร้างขึ้นในสห้สวรรษแรก และยังคงเป็นศุนยกลางในการประกอบพิธีสัการบูชาของคนท้องถ่ินอยุ่ในปัจจุบันนี้..
เมืองโบราณสมัยยุคก่อนอังกอร์บนริมฝั่งแม่น้ำโขงดุเหมือว่าจะถูกเปลี่ยนให้เป็นสูนย์ใจกลางเมืองโดยอีกเมืองหนึ่งที่อยุท่างตอนใจ้ของวัดพุซึ่งสร้างในสมัยอังกอร์ ถนนซึ่งมีอายุสมัยยุคกลางนำสู่ทิศใต้ ผ่านเหมืองแร่และอุตสากหกรรมอื่นๆ ซึ่งมีสิ่งปลูกสร้างจำนวนมากมายที่สร้างขึ้นในภูมิทัศน์ที่มีการวางแผนอย่างรอบคอบดดยวางแบบแปลนเพื่อแสดงออกถึงความศักดิ์สิทธิ์ที่ผุ้สร้างวัดพูเคารพนับถือ บริเวณวัดซึ่งอยู่บรเวณเชิงเขา ทอดตัวยาวไปทั้งทางทิศตะวันออกและตะวันตกไปยัง้ำพุใสสะอาดบนโขดนิหซึ่งมีศาลตั้งอยุ่ เส้นแกนจากรูปศิวลึงค์ตามธรรมชาติบนยอมเขาพาดผ่านศาล ถูกใช้เป็นพื้นฐานในการวางแผนผังของวัด
สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก)ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลก ของประเทศพม่าทั้งสิ้น 1 แหล่ง
นครโบราณแห่งอาณาจักรพยู Pyu Ancient Cities
ปยู เป็นชนชาติหนึ่งตระกูลพม่า-ทิเบต ซึ่งเคยเป็นเจ้าของพื้นที่ในที่ราบลุ่มดินดอนสามเหลี่ยมปากน้ำอิระวดีช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-14 กว่าร้อยปีก่อนคริสตกาล3 ค.ศ.840 )อยู่ในยุคเดียวกันกับกลุ่มรัฐยะไข่ ชาวปยูตั้งศูนย์กลางอยุ่ที่เมืองแปรและเรียกอาณาจักรตนเองว่า ศรีเกษตรซึ่งแปลว่า ดินแดนแห่งความโชคดี เมืองแปรเป็นศูนย์กลางการค้าในระยะเวลานั้น เพราะอยู่ไม่ห่างจากทะเลมากนัก เมืองสำคัญของนครรัฐปยู่คือเมืองเบกทาโนและเมืองฮาลินซึ่งอยุ่ทางตอนเหนือ
อาณาจักรศรีเกษตร เป็นนครรัฐของชาวปยู โดยตั้งบ้านเมืองอยุ่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองแปร ต่อมาชนชาติปยูได้เปลี่ยนมานับถือศาสนาพุทธ และได้รับความเจริญทางอักษรศาสตร์จากอินเดีย ในยุคที่รุงเรืองถึงขีดสุดอาณาจักรนี้มอำนาจปกครองเกือบตลอดแหลมมลายู จน พ.ศ. 651 พวกมญทางใต้ ได้ยกทัพเข้ามารุกราน และอาณาจักรนี้ก็เร่ิมเสื่อมลงจนใน พ.ศ. 1375 อาณาจักรน่านเจ้า ก็ยกทัพลงมาทำลายลงโดยสิ้นเชิง หลังจากนั้นก็ตกอยู่ในอำนาจของชนชาติพม่า เมื่อพระเจ้าอโนรธามังช่อ ปฐมกษัตริย์แห่งอาณษจักรพุกามทรงแผ่พระราชอำนาจเข้ามาแทนที่
นครโบราณแห่งปยู กำแพงและคูน้ำรอบเมืองที่เมือง หะลิน มองกะโม้ และศรีเกษตร ตั้งอยุ่ในบริเวณส่วนแห้งของลุ่มน้ำอิรวดี เมืองเหล่านี้สะท้อนให้เห็นอาณาจักรปยูที่เคยรุ่งเรืองนานกว่า 1,000 ปี ระหว่างยุค 200 ปีก่อนคริสตกาลจนถึง ค.ศ. 900 เมืองทั้งสามเป็นส่วนหนึ่งของสถานที่ขุดค้นทางโลราณคดี โดยมีการค้นพบส่วนของป้อมปรากการราชวัง, ลานที่ถุกฝัง รวมถึงสถูปอิฐของดุทธศาสนา, กำแพงอิฐและระบบจัดการน้ำ ซึ่งบางส่วนยังใช้อยู่ กลุ่มเมืองโบราณได้รับลงทะเบียนเป้นมรดกโลกในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสสามัญเมื่อปี พ.ศ. 2557
- kanchanapisek.or.th/../อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา
- www.th.wikipedia.org/../รายชื่อเเหล่งมรดกโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้..,หลวงพระบาง.., ปยู.., อาณาจักรปยู.
- www.tcijthai.com/../ย้อนภาพอดีต "ผืนป่าดงพญาเย็น" ทะเลโบราณล้านปีอันอุดมสมบูรณ์ ก่อนพลิกบ้านสัตว์ป่ามาเป็นชุมชน
- www.thailandworld.com/../วัดพู แขวงจำปาสัก ทางตอนใต้ของประเทศลาว
นครประวัติศาสตร์ พระนครศรีอยุธยา Historic City of Ayutthaya
อุทยานประวัติศาตร์พระนคราศรีอยุธยา มีเนื้อที่ 1,810 ไร่ ตั้งอยู่ภมยในเกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถานอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา
นักวิชาการเชื่อว่า ก่อนที่พระเจ้าอู่ทองจะทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาขึ้นใน .ศ. 1893 นั้น บริเวณดังกล่าวมีบ้านเรือนตั้งอยู่ก่อนแล้วเรียกว่า เมืองอโยธยา หรืออโยธยาศรีรามเทพนคร มีทีตั้งอยู่บริเวณด้านทิศตะวันออกนอกเกาะเมืองอยุธยา ปรากฎหลักฐานโบราณสถานที่เป็นวัดสำคัญ เช่น วัมเหยงค์ วัดอโยธยา รวมทั้งจากพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอังกษรนิติ์ กล่าวถึงการก่อสร้างพระพุทธรูปที่เรียกว่า พระเจ้าพแนงเชิง พระประธราของวัดพนัญเชิง โดยระบุว่า สร้างขึ้นก่อนที่พระเจ้าอู่ทองจะทรงสถาปนากรุงศรีปยุธยาถึง 26 ด้วยทำเลที่ตั้งของกรุงศรีอยุธยามีลกษณะเป็นเกาะมือง มีแม่น้ำที่สำคัญ 3 สายโอบล้อมคือ แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำป่าสัก และแม่น้ำลพบุรี ทำให้พื้นดินมีความอุดมสมบูรณื และเป็นชุมทางคมนาคมทางน้ำ รวมทั้งยังเป็ฯปราการธรรมชาติ ในการป้องกันข้าศึกศัตรูกรุงศรีอยุธยาจึงเป็นราชธานีใหญ่ที่สามารถกุมอำนาจเหนือเมืองใกล้เคียงไดเป็นเวลายาวนาน
กรุงศรีอยุธยาเติบโตเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ และการค้า ที่สำคัญแห่งหนึ่ง ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้ ระหว่างพุทธตวรษที่ 21-23 มีชาวต่างชาติทั้งชาวเอเชียและชาวยุโรป เข้ามาค้าขายทางเรือ ส่วนมากมีความสัมพันธ์ทางการทูตด้วย ...
กรุงศรีอยุธยายังมีความเจริญ ก้าวหน้าทางด้านการปกครอง กฎหมาย การศาล ระบบสังคม การศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม..และสั่งสมไว้ตกทอดกันมาถึงปัจจุบันนี้
โบราณสถานสำคัญ ประกอบด้วย
- พระราชวังโบราณหรือพระราชวังหลวง ตั้งอยู่ทางเหนือของวัดพะศรีสรรเพชญ์ ริมแม่น้ำลพบุรี ปัจจุบันเหลือแต่เพียงฐานรากพระที่นี่งองค์ต่างๆ เนื่องจากถูกเผาทำลายเมื่อครั้งเสียกรุงครั้งที่ 2 พระราชวังโบราณนี้สร้างขึ้นใน สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เมื่อทรง อุทิศที่ตั้งของพระตาชมณเี่ยรเกิมที่สร้างไว้ สมัยพระเจ้าอู่ทอง ให้เป็นวัดพระศรีสรรเพชญ์
- วัดพระศรีสรรเพชญ์ เป็ฯวัดที่สำคัญที่สุดของกรุงศรีอยุธยา โดยแต่เดิมสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 หรือพระเจ้าอู่ทอง ได้ทรงสร้างพระราชมณเทียรขึ้นที่บริเวณนี้ ต่อมาสมเด็จพระบมไตรโลกนาถได้อุทิศให้เป็นวัด ในเขตพระราชวัง สำหรับเป็นที่ประกอบพระราชพิธีที่สำคัญ และเป็นที่เสด็จออกบำเพ็ญพระราชกุศล
- วัดราชบูรณะ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 หรือเจ้าสามพระยา โดปรดให้สถาปนาขึ้นใน พ.ศ. 1967 ตรงบริเวณที่ถวายพระเพลิงพระศพ เจ้าอ้ายพระยา และเจ้ายี่พระยา พระเชษฐาทั้ง 2 พระองค์ ซึ่งสิ้นพระชนม์เนืองจากการสุ้รบแย่งชิงราชสมบัติ
- วิหารมงคลบพิตร พระมงคลบพิตรเป็ฯพระพุทธรูปสำริด องค์ใหญ่ที่สุดองค์หนึ่งในประเทศไทย ซึ่งสันนิษฐานว่า สร้างในสมัยอยุธยาตอนต้น ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ได้บูรณะวิหารพระมงคลบพิตรใหม่ทั้งหมดดังปรากฎในปัจจุบัจน
กรมศิลปากรได้ดำเนินการอนุรักษ์โบราณสถานเมืองพระนครศรีอยุธยาภายใต้ชื่อ โครงการอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา และต่อมาองค์การยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม
เมืองประวัติศาสตร์ สุโขทัยและเมืองบริวาร History town of Sukhothai and Associated Historic Towns อุทยานประวัติศาสตร์ที่ได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลก ประกอบด้วย
- อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ครอบคลุมพื้นที่ดบราณสถานกรุงสุโขทัยศูนย์กลางการปครองของอาณาจักรสุดขทัย ซึ่งมีอำนาจอยุ่บริเวณภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทยในช่วงพทุธศตงวรรษที่ 18-19 ตั้งอยู่ที่ตำบลเมืองเก่า (เขตเทศบาลตำบลเมืองเก่า) อำเภอเมือง สุโขทัย จังหวัดสุโขทัย ห่างจากตัวเืองสุโขทัยปัจจุบัน (เขตเทศบาลเมืองสุโขทัยธานี)ไปทางทิศตะวันตกประมาณ 12 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12
ผังเมืองสุโขทัยมีลักษณะเป็นรูปสีเหลี่ยมผืนผ้า มีความยาวประมาณ 2 กิโลเมตร กว้างประมาณ 1.6 กิโลเมตร มีประตูเมืองอยู่ตรงกลางกำแพงเมืองแต่ละด้าน ภายในยังเหลือรอ่งรอยพระราชวังและวัดอีก 26 แห่งวัดที่ใหญ่ที่สุดคือวัดมหาธาตุอุทยานแห่งนี้ได้รับการบุรณปฏิสังขรณ์โดยกรมศิลปากรด้วยความช่วยเหลือจากองค์การยูเนสโก มีผุ้เยี่ยมชมหลายแสนคนต่อปี ซึ่งสมารถเดิเท่าหรือขี่จักรยานเที่ยวชมได้
อุทยานประวัติศษสตร์สุโชัยได้รับการประกาศคุ้มครองครั้งแรกตามประกาศราชกิจจานุเบกษาองค์การยูเนสโกได้ประกาศให้อุทยานแห่งนี้เป็นแหลงมรดกโลกร่วมกับอุทยานประวัติศาสตร์ที่กำแพงเพชรและศรีสัชนาลัยภายใต้ชขื่อว่า "เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร"
- อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัยตั้งอยู่ที่ตำบล ศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย มีดบราณสถานทั้งหมด 215 แห่ง สำรวจค้นพบแล้ว 204 แห่งรวมทั้งสุสานวัดชมชื่นและเตาสังคโลก โบราณ ในปัจจุบันจากการประเมินของกรมศิลปากร นับว่ามีการต่อเติมโบราณสถานจากสภาพเดิมน้อยกว่าที่ใด ยังคงรักษาภูมิทัศน์ของเมืองประวัติสษสตร์ไว้ได้ครบถ้วน
- อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร ตั้งอยู่ในเขตตำบลในเมือง อำเภอเมือง กำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร ไม่ไกลจากจังหวัดสุโขทัย เท่าใดนัก ลักษณะของศิปละและสถาปัตยกรรมในอุทยานแห่งนี้เป็นศิลปะแบบเดี่ยวกับที่ปรากฎในอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย มีโบราณสถานที่สวยงานและขนาดใหญ่มากมาย หลายแห่งในอดีตเมืองกำแพงเพชรถือเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของอาณาจักรสุโขทัย
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง Thungyai-Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuaries
..เขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จัดได้ว่าเป็นผืนป่าอนุรักษณแห่งเดียวที่มีอยุ่ในประเทศไทย (จากจำนวนทั้งสิ้นจนถึงปัจจุบัน ประกาศไปแล้วจำนวน 31 เขต)ที่ไม่มีราษฎรทั้งชาวไทยและชาวไทยภูเขาอาศัยอยู่ในพื้นที่ ผลจากการสำรวจความหลากหลายของสัตว์ป่า โดยคณะวนศาสตร์ และดดขเจ้าหน้าที่ของกองอนุรัษ์สัตว์ป่าเท่าที่ได้ทำมาแล้ว นับตั้งแต่ก่อนที่จะได้ประกาศให้เป็นเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่า ปรากฎว่าจากความหลากหลายของสภาพภูมิประเทศ สภาพป่าหลาชนิดที่กระจัดกระจายผะผนกัน ตลอดจนความหลากหลายของอุณหภูมิอากาศ ประจำถิ่น ทำให้ห้วยขาแข็งนี้เป็นแหล่งรวมพันู์ของสัตว์ป่านานาชนิด ังนี้ คือ สัต์เลี้ยงลูกด้วยนมจำนวน 67 ชนิด นก 355 ชนิด สังต์เลื้อยคลาน 77 ชนิด สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก 29 ชนิ และสัตว์จำพวกปลาอี 54 ชนิด รวมแล้วมีสัตว์ป่าเท่่าที่ได้ทำการสำตวจมาแลวทั้งสิ้น 582 ชนิด ในจำนวนสัตว์ป่าที่สำรวจแล้วทั้งหมดมีสตว์ป่ที่ได้รับการกำหนดสถานภาพโดย IUCN ว่าจะสูญพันธ์ จำนวน 21 ชนิด และสัตว์ป่าที่ถูกคุกคาม จำนวน 65 ชนิดรวมอยุ่ด้วย
แม้ว่าป่าห้วยขาแข้งจะมีพื้นที่กว้างใหญ่ถึง 2,575 ตารางกิโลเมตร และจัดว่าเป็ฯเขตรักษรพันธุืสัตว์ป่า ที่มีขนาดใหญ่เป็นสองรองจากทุ่งใหญ่ ก็ยังไม่มีขนาดใหญ่พอที่จะประกันการสูญพันู์ของสัตว์ป่าและพืชป่าโดยลำพัง รัฐบาลจึงได้ประกาศให้พื้นที่ป่าต่อเนื่องไปทางทิศตวะันตกจรดชายแดนพม่า เป็นเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าอีกแห่งหนึ่งคือ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร พื้นที่ 2,000,000 ไร่ หรือ 3,200 ตารางกิโลเมตร โดยประกาศในปี พ.ศ. 2517 หลังจากที่มีกรณีอื้อฉาวว่ามีการลักลอบฆ่าสัตว์ป่ากันในใจกลางของป่าทุ่งใหญ่ .. จึงทำให้ป่าอนุรักษ์ในรูปของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าที่ต่อเนื่องเป็นผืนใหญ่ทั้งสองแห่งนี้มีชื่อเรียกรวมกันว่า ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง และรอการผนวกป่าสงวนห้วน้ำโจนบางส่วนที่ยังคงสภาพความเป็นชาติเหลืออยู่ทางตอนใต้ของป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง
ผืนป่าอนุรักษ์ในรูปเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าที่ได้ชื่อว่า "ทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง"แห่งนี้ ครอบคลุมพื้นที่ของ 4 อำเภอ ใน - จึงหวัด คือ อ.บ้านไร่ อ.ลานสัก จ.อุทัยธานี อ.สังขละบุรี จ.กาณจนบุรี และอ.อุ้งผาง จ.ตาก นอกจานี้ยังถุกล้อมรอบไปด้วยผืนป่าอนุรักษ์แห่งอื่นๆ ในรูปของเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าปละอทุยานแห่งชาติที่ต่อเนื่องเป็นผ่าผืนเดียวกันอีกจำนวน 7 แห่ง นั้นคือ เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าอุ้งผาง, อทุยานแห่งชาติแม่วงศ์และอทุยาแห่งชาติคลองลานเชื่อต่อทางตอนเหนือ และต่อเนื่องกับอทุยานแห่งชาติเขาแหลม, อุทยานแห่งชาติเขื่อนศรีนครินทร์ อุทยานแห่งชาติเอราวัฒ เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าสลักพระและอทุยาทแห่งชาติเฉลิมรัตนโกสินทร์ทางตอนใต้..
แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง Ban Chaing Archaeological Site เป็ฯแหล่งโบราณคดีสำคัญแห่งหนึ่งอยู่ที่อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ที่ทำให้รับรู้ถึงการดำรงชีวิตในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ย้อนไลังไปกว่า 5,000 ปี ร่องรอยของมนุษย์ในประเทศไทยสมัยดังกล่าว แสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมที่มีพัฒนาการแล้วในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านความรู้ความสามารถหรือภมิปัญญา อันเป็นเครื่องมือสำหรับช่วยให้ผุ้คนเหล่านั้นสามารถดำรงชีวิตและสร้างสังควัฒนธรรมของมนุษย์ได้นือเนื่องต่อกันมาเป็นระยะเวลายาวนาน วัฒนธรรม้านเชียงได้ครอบคลุมถึงแหล่งโบราณคดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออีกกว่าร้อยแห่ง ซึ่งเป็นบริเวณพื้นที่ที่มีมนุษย์อยู่อาศัยหนาแน่นมาตั้งแต่หลายพันปีแล้ว ด้วยเหตุนี้เององค์การยูเนสโกของสหประชาชาิตจึงได้ยอมรับขึ้นบัญชีแหล่ววัฒนธรรมบ้านเชียงไว้เป็นแห่งหนึ่งในบรรดามรดกโลก
ผืนป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ Dong Phayayen-Khao Yai Forest Complex ..ในอดีตมีป่าดงดิบกว้างใหญ่ กันกลางระหว่างภาคกลางกับภาคอีสาน ซึ่งเต็มไปด้วยภยันตรายทั้งจากสัตว์ ผ่า ไข้ป่า ภูตผีปีศาจ อาถรรพณ์ลึกลับ และเป็นที่เล่าขานถึงความน่าเกรงขาม การเดินทางผ่าไปยังภาคอีสานยากลำบาก หลายคนต้องเสียชีวิตด้วยไข้ป่า หรือสัตว์ป่า ผุ้คนจึงขนานนามป่าแห่งนี้ว่า ดงพญาไฟ..
สมเด็จกรมพรยาดำรงตาชานุภาพ ทรงนิพนธ์ไว้ว่า "ดงพญาไฟ เป็นช่องสำหรับข้าไปมา ระหว่างเมืองสระบุรีกับมณฑลนครราชสีมาแต่โบราณ ไปได้แต่เดิมเท่าจะใช้ล้อเหวียนหาได้ไม่ ด้วยทางต้องเดินตามสันเขาบ้าง ตามไหล่เขาบ้าง คนเดินตามปกตินั้น ตั้งแต่ตำบลแห่งคอย ต้องค้างคือในป่านี้ถึง 2 คืนถึงจะพ้น"..
วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2443 พระบาทสมเด็๗พระจุลจอมเหล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดการเดินรถไฟ สายกรุงเพท -นครราชสีมา ขณะที่เสด็กลับทางรถไฟผ่านดงพญาไฟ ทรงรับสั่งว่าป่าชื่อฟังดุน่ากลัว จึงตรัสว่า "ให้เปลี่ยนชือดงพญาไฟเป็นดงพญาเย็น เพื่อความเป็นสิริมงคล และความร่มแย็นเป็นสุขอาณาประชาราษฎร์"
หลังจากมีการสร้างทางรถไฟ และถนนมิตรภาพ จากภาคกลางไปสู่่ภาคอีสาน ดงพญาไฟก็ถูกผ่าออกทันที ผุ้คนเริ่มที่จะอพยพเข้าไป แล้วถากถางป่าทำไรทำนา โดยเฉพาะบริเวณ ฟาร์มโชคชัย อ.ปากช่อ จ.นครราชสีมา
ตำบลเขาใหญ่เกิดขึ้นจากการอพยพ จากบ้านท่าชัย ,ท่าด้าน จังหวัดนครนายก บุกเบิกพื้นที่ทำกิน กลางผืนป่า อันเป็นทำเลที่ดี จนกลายเป็นชุมชนกลางป่า ยิงเวลาผ่าไป ก็ยิงมีชาวบ้านจากจังหวัดรรอบๆ ขึ้นมาถากถางมากขึ้น จนพื้นที่ 30 ตารางกิโลเมตร หรือ 18,750 ไร่ถูกถากถางไป ในปี พ.ศ. 2465 ชุมชนนี้ได้ขออนุญาตจัดตั้งเป็นตำบลเขาใหญ่ ขึ้นกับอำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก เชื่อ เขาใหญ่ จึงเร่ิมต้นตั้งแต่นั้นมา ทั้งที่ไม่มียอดเขาแห่งใดที่มีชื่อคำว่าเขาใหญ่
ด้วยเหตุที่เขาใหญ่อยุ่กลางใจป่า ไม่มีถนนที่สามารถเข้าไปได้อย่างสะดวก จึงทำให้ชุมชนนี้กลายเป็นบ้านป่าเมืองเถือน กลายเป็นเเหล่งซ่อนสุมของเหล่าโจรผุ้ร้าย ทางจังกซัดนครนายก จึงส่ง "ปลัดจ่าง" มาปราบกวาดล้างโจรบนเขาใหญ่ และสามารถปราบได้ โดยใช้เวลานับเดือน แต่ปลัดต้องเสียชิวิตด้วยไข้ป่า ด้วยความกล้าหาญของทาน พวเขาจึงจึงสร้าง ศาลเจ้าพ่อเขาใหญ่ ข้น เป็นศาลที่ให้ผุ้คนกราบไหว้มาจนถึงปัจจุบันนี้ ทางจังหวัดนครนายก จึงสั่งให้อพยพชาวพ้านกว่า 1,000 คนลงมายังืพ้นราบและสั่งให้ยกเลิกตำบลเขาใหญ่ ปล่อยให้เกลายเป็นทุ่งหย้ารกร้าง และป่าให้เห็นด้งเช่นปัจจุบัน
ปี พ.ศ.2505 จมอพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีคนที่ 11 เดิทางสำรวจบริเวณดังกล่าวด้วยเฮลิคอปเตอร์ ท่านมีคำสั่งให้ทางกระทรวงเกษตรและกระทรวงมหาดไทยร่วมกันสำรวจเพื่อจัดตั้งให้เป็นอุทยานแห่งชาติ และประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติเมือ พ.ศ. 2505 ซึค่งเป็นอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทย
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ปางสีดา ทับลาน ตาพระยา และเขตรักษาพันู์สัตว์ป่าดงรัก ได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลกภายใต้ชื่อ "ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่"
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ(ยูเนสโก)ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศลาวทั้งส้ิน 2 แหล่ง
เมืองหลวงพระบาง Town of Luang Prabang หลวงพระบางเป็นเมืองเอกของแขวงหลวงพระบาง ประเทศลาว อยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ตัวเมืองตั้งอยู่ริมแม่น้ำโขงและแม่น้ำคาน ซึ่งไหลมาบรรจบกัน เป็นเมืองที่องค์การยูเนสโก ได้ยกย่องหใ้เป็นมรดกโลกด้วย
หลวงพระบางเป็นเมืองเก่าแก่ของอาณาจักรล้านช้างตั้งแต่สมัยสถาปนาอาณาจักรแต่เดิมที่ชื่อว่า "เมืองซวา"(ออกเสียงว่า ซัว) และเมื่อ พ.ศ. 1300 ขุนลอซึ่งถือเป็นปฐมกษัตริย์ลาวได้ทรงตั้งเมือง.วาเป็นราชธานีของอาณาจักรล้านช้างและได้เปลี่ยนชื่อเมืองให่เป็นเชียงทอง
วัดพูและการตั้งถ่ินฐานโบราณที่เกี่ยวข้องภายในภูมิทัศน์วัฒนธรรมจำปาศักดิ์ Vat Phou Associated Ancient Settlement within the Champasak Cultural Landscaoe
บริเวณโดยรอบวัดพูนี้ บ่งบอกถึงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอันงดงามของเอเชียตะวันออกเแียงใต้ ดดยเแพาะของอาณาจักขอมได้เป็นอย่างดี ซึ่งขอมเรืองอำนาจในภูมิภาคนี้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 10 -14 โดยเป็นตัวอย่างอันโดเด่นของการผสมผสานกันระหว่งความสำคัญทางจิตวิญญาณอันยิ่งใหญ่กับสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ โดยแสดงออกถึงความสัมพันธ์ระหว่างะรรมชาิกับมนุษย์ตามความเชื่อของศาสนาฮินดุ
ต้นกำเนิดของสถานที่แห่งนี้มีมาก่อน พ.ศ. 1143 อย่างน้อยที่เมืองเชษฐาปุระซึ่งการวจัยทางโบราณคดีพบหลักฐานว่ามีมาก่อนยุคอังกอร์ อยางไรก็ดี การพัฒนาสถานที่แห่งนี้ดดยองค์รวมนั้นเป็ฯการผสมผสานเข้ากับของเดิม การะรื่องอำนาจขึ้นสู่จุดสูงสุดของอาณาจักรขอม ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 7-12
กษัตริย์องค์ใหม่ๆ ซึ่งอสจมีสูนย์กลางวอยุ่ที่แขวงจำปาสัก ได้แผ่ขยายอำนาจการปกครองจากเมืองหลวงที่อสานปุระนับตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 10 เป็นต้นมา จนกระทั่งแผ่อำนาจออกไปครอบคลุมไม่เพียงแต่ส่วนที่เป็ฯประเทศกัมพุชาในปจจุบันนี้เท่านั้ แต่ยังไปไกลถึงส่วนที่เป็ฯภาคอีสานส่วนใหญ่ในปัจจุบันนี้ของประเทศไทยอีกด้วย กาปรับภูมิทัศน์บริเวณวัดพูให้งดงามนั้นเกิขึ้นในยุคนี้ ความสำคัญทางประวัติศาตรของวัดพุอยู่ที่บทบาทในการเป็นสูนย์กลางการปกครองและเป็นการแสดงออกถึงอิทธิพลจากอินเดียมากกว่าอิทธิพลจากจีน ดดยมีหลักฐานตามความเชื่อของศาสนาฮินดุที่เด่นชัด การพัฒนาภูมิทัศน์ทางวัฒธรรมของแขวงจำปาสักครั้งใหญ่ตรั้งสุดท้ายเกิดขึ้นเมือคริสต์ศตวรรษที่ 13 ก่อนที่อาณาจักขอมจะล่มสลายเพียงไม่นาน ต่อมาถูกดัดแปลงให้กลายเป็นวัดพุทธนิกายเถรวาท ซึ่งขัดแย้งกับจุดประสงค์ดั้งเิมที่สร้างขึ้นในสห้สวรรษแรก และยังคงเป็นศุนยกลางในการประกอบพิธีสัการบูชาของคนท้องถ่ินอยุ่ในปัจจุบันนี้..
เมืองโบราณสมัยยุคก่อนอังกอร์บนริมฝั่งแม่น้ำโขงดุเหมือว่าจะถูกเปลี่ยนให้เป็นสูนย์ใจกลางเมืองโดยอีกเมืองหนึ่งที่อยุท่างตอนใจ้ของวัดพุซึ่งสร้างในสมัยอังกอร์ ถนนซึ่งมีอายุสมัยยุคกลางนำสู่ทิศใต้ ผ่านเหมืองแร่และอุตสากหกรรมอื่นๆ ซึ่งมีสิ่งปลูกสร้างจำนวนมากมายที่สร้างขึ้นในภูมิทัศน์ที่มีการวางแผนอย่างรอบคอบดดยวางแบบแปลนเพื่อแสดงออกถึงความศักดิ์สิทธิ์ที่ผุ้สร้างวัดพูเคารพนับถือ บริเวณวัดซึ่งอยู่บรเวณเชิงเขา ทอดตัวยาวไปทั้งทางทิศตะวันออกและตะวันตกไปยัง้ำพุใสสะอาดบนโขดนิหซึ่งมีศาลตั้งอยุ่ เส้นแกนจากรูปศิวลึงค์ตามธรรมชาติบนยอมเขาพาดผ่านศาล ถูกใช้เป็นพื้นฐานในการวางแผนผังของวัด
สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก)ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลก ของประเทศพม่าทั้งสิ้น 1 แหล่ง
นครโบราณแห่งอาณาจักรพยู Pyu Ancient Cities
ปยู เป็นชนชาติหนึ่งตระกูลพม่า-ทิเบต ซึ่งเคยเป็นเจ้าของพื้นที่ในที่ราบลุ่มดินดอนสามเหลี่ยมปากน้ำอิระวดีช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-14 กว่าร้อยปีก่อนคริสตกาล3 ค.ศ.840 )อยู่ในยุคเดียวกันกับกลุ่มรัฐยะไข่ ชาวปยูตั้งศูนย์กลางอยุ่ที่เมืองแปรและเรียกอาณาจักรตนเองว่า ศรีเกษตรซึ่งแปลว่า ดินแดนแห่งความโชคดี เมืองแปรเป็นศูนย์กลางการค้าในระยะเวลานั้น เพราะอยู่ไม่ห่างจากทะเลมากนัก เมืองสำคัญของนครรัฐปยู่คือเมืองเบกทาโนและเมืองฮาลินซึ่งอยุ่ทางตอนเหนือ
อาณาจักรศรีเกษตร เป็นนครรัฐของชาวปยู โดยตั้งบ้านเมืองอยุ่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองแปร ต่อมาชนชาติปยูได้เปลี่ยนมานับถือศาสนาพุทธ และได้รับความเจริญทางอักษรศาสตร์จากอินเดีย ในยุคที่รุงเรืองถึงขีดสุดอาณาจักรนี้มอำนาจปกครองเกือบตลอดแหลมมลายู จน พ.ศ. 651 พวกมญทางใต้ ได้ยกทัพเข้ามารุกราน และอาณาจักรนี้ก็เร่ิมเสื่อมลงจนใน พ.ศ. 1375 อาณาจักรน่านเจ้า ก็ยกทัพลงมาทำลายลงโดยสิ้นเชิง หลังจากนั้นก็ตกอยู่ในอำนาจของชนชาติพม่า เมื่อพระเจ้าอโนรธามังช่อ ปฐมกษัตริย์แห่งอาณษจักรพุกามทรงแผ่พระราชอำนาจเข้ามาแทนที่
นครโบราณแห่งปยู กำแพงและคูน้ำรอบเมืองที่เมือง หะลิน มองกะโม้ และศรีเกษตร ตั้งอยุ่ในบริเวณส่วนแห้งของลุ่มน้ำอิรวดี เมืองเหล่านี้สะท้อนให้เห็นอาณาจักรปยูที่เคยรุ่งเรืองนานกว่า 1,000 ปี ระหว่างยุค 200 ปีก่อนคริสตกาลจนถึง ค.ศ. 900 เมืองทั้งสามเป็นส่วนหนึ่งของสถานที่ขุดค้นทางโลราณคดี โดยมีการค้นพบส่วนของป้อมปรากการราชวัง, ลานที่ถุกฝัง รวมถึงสถูปอิฐของดุทธศาสนา, กำแพงอิฐและระบบจัดการน้ำ ซึ่งบางส่วนยังใช้อยู่ กลุ่มเมืองโบราณได้รับลงทะเบียนเป้นมรดกโลกในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสสามัญเมื่อปี พ.ศ. 2557
- kanchanapisek.or.th/../อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา
- www.th.wikipedia.org/../รายชื่อเเหล่งมรดกโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้..,หลวงพระบาง.., ปยู.., อาณาจักรปยู.
- www.tcijthai.com/../ย้อนภาพอดีต "ผืนป่าดงพญาเย็น" ทะเลโบราณล้านปีอันอุดมสมบูรณ์ ก่อนพลิกบ้านสัตว์ป่ามาเป็นชุมชน
- www.thailandworld.com/../วัดพู แขวงจำปาสัก ทางตอนใต้ของประเทศลาว
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...