World Heritage Site : Thai,Laos,Myanmar

        องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศไทยทั้งสิ้น 5 เเหล่ง
         นครประวัติศาสตร์ พระนครศรีอยุธยา Historic City of Ayutthaya 
         อุทยานประวัติศาตร์พระนคราศรีอยุธยา มีเนื้อที่ 1,810 ไร่ ตั้งอยู่ภมยในเกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถานอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา
         นักวิชาการเชื่อว่า ก่อนที่พระเจ้าอู่ทองจะทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาขึ้นใน .ศ. 1893 นั้น บริเวณดังกล่าวมีบ้านเรือนตั้งอยู่ก่อนแล้วเรียกว่า เมืองอโยธยา หรืออโยธยาศรีรามเทพนคร มีทีตั้งอยู่บริเวณด้านทิศตะวันออกนอกเกาะเมืองอยุธยา ปรากฎหลักฐานโบราณสถานที่เป็นวัดสำคัญ เช่น วัมเหยงค์ วัดอโยธยา รวมทั้งจากพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอังกษรนิติ์ กล่าวถึงการก่อสร้างพระพุทธรูปที่เรียกว่า พระเจ้าพแนงเชิง พระประธราของวัดพนัญเชิง โดยระบุว่า สร้างขึ้นก่อนที่พระเจ้าอู่ทองจะทรงสถาปนากรุงศรีปยุธยาถึง 26 ด้วยทำเลที่ตั้งของกรุงศรีอยุธยามีลกษณะเป็นเกาะมือง มีแม่น้ำที่สำคัญ 3 สายโอบล้อมคือ แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำป่าสัก และแม่น้ำลพบุรี ทำให้พื้นดินมีความอุดมสมบูรณื และเป็นชุมทางคมนาคมทางน้ำ รวมทั้งยังเป็ฯปราการธรรมชาติ ในการป้องกันข้าศึกศัตรูกรุงศรีอยุธยาจึงเป็นราชธานีใหญ่ที่สามารถกุมอำนาจเหนือเมืองใกล้เคียงไดเป็นเวลายาวนาน
         กรุงศรีอยุธยาเติบโตเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ และการค้า ที่สำคัญแห่งหนึ่ง ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้ ระหว่างพุทธตวรษที่ 21-23 มีชาวต่างชาติทั้งชาวเอเชียและชาวยุโรป เข้ามาค้าขายทางเรือ ส่วนมากมีความสัมพันธ์ทางการทูตด้วย ...
        กรุงศรีอยุธยายังมีความเจริญ ก้าวหน้าทางด้านการปกครอง กฎหมาย การศาล ระบบสังคม การศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม..และสั่งสมไว้ตกทอดกันมาถึงปัจจุบันนี้
        โบราณสถานสำคัญ ประกอบด้วย
         - พระราชวังโบราณหรือพระราชวังหลวง ตั้งอยู่ทางเหนือของวัดพะศรีสรรเพชญ์ ริมแม่น้ำลพบุรี ปัจจุบันเหลือแต่เพียงฐานรากพระที่นี่งองค์ต่างๆ เนื่องจากถูกเผาทำลายเมื่อครั้งเสียกรุงครั้งที่ 2 พระราชวังโบราณนี้สร้างขึ้นใน สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เมื่อทรง อุทิศที่ตั้งของพระตาชมณเี่ยรเกิมที่สร้างไว้ สมัยพระเจ้าอู่ทอง ให้เป็นวัดพระศรีสรรเพชญ์
         - วัดพระศรีสรรเพชญ์ เป็ฯวัดที่สำคัญที่สุดของกรุงศรีอยุธยา โดยแต่เดิมสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 หรือพระเจ้าอู่ทอง ได้ทรงสร้างพระราชมณเทียรขึ้นที่บริเวณนี้ ต่อมาสมเด็จพระบมไตรโลกนาถได้อุทิศให้เป็นวัด ในเขตพระราชวัง สำหรับเป็นที่ประกอบพระราชพิธีที่สำคัญ และเป็นที่เสด็จออกบำเพ็ญพระราชกุศล
          - วัดราชบูรณะ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 หรือเจ้าสามพระยา โดปรดให้สถาปนาขึ้นใน พ.ศ. 1967 ตรงบริเวณที่ถวายพระเพลิงพระศพ เจ้าอ้ายพระยา และเจ้ายี่พระยา พระเชษฐาทั้ง 2 พระองค์ ซึ่งสิ้นพระชนม์เนืองจากการสุ้รบแย่งชิงราชสมบัติ
          - วิหารมงคลบพิตร พระมงคลบพิตรเป็ฯพระพุทธรูปสำริด องค์ใหญ่ที่สุดองค์หนึ่งในประเทศไทย ซึ่งสันนิษฐานว่า สร้างในสมัยอยุธยาตอนต้น ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ได้บูรณะวิหารพระมงคลบพิตรใหม่ทั้งหมดดังปรากฎในปัจจุบัจน
          กรมศิลปากรได้ดำเนินการอนุรักษ์โบราณสถานเมืองพระนครศรีอยุธยาภายใต้ชื่อ โครงการอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา และต่อมาองค์การยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม
          เมืองประวัติศาสตร์ สุโขทัยและเมืองบริวาร History town of Sukhothai and Associated Historic Towns อุทยานประวัติศาสตร์ที่ได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลก ประกอบด้วย
         - อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ครอบคลุมพื้นที่ดบราณสถานกรุงสุโขทัยศูนย์กลางการปครองของอาณาจักรสุดขทัย ซึ่งมีอำนาจอยุ่บริเวณภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทยในช่วงพทุธศตงวรรษที่ 18-19 ตั้งอยู่ที่ตำบลเมืองเก่า (เขตเทศบาลตำบลเมืองเก่า) อำเภอเมือง สุโขทัย จังหวัดสุโขทัย ห่างจากตัวเืองสุโขทัยปัจจุบัน (เขตเทศบาลเมืองสุโขทัยธานี)ไปทางทิศตะวันตกประมาณ 12 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12
  ผังเมืองสุโขทัยมีลักษณะเป็นรูปสีเหลี่ยมผืนผ้า มีความยาวประมาณ 2 กิโลเมตร กว้างประมาณ 1.6 กิโลเมตร มีประตูเมืองอยู่ตรงกลางกำแพงเมืองแต่ละด้าน ภายในยังเหลือรอ่งรอยพระราชวังและวัดอีก 26 แห่งวัดที่ใหญ่ที่สุดคือวัดมหาธาตุอุทยานแห่งนี้ได้รับการบุรณปฏิสังขรณ์โดยกรมศิลปากรด้วยความช่วยเหลือจากองค์การยูเนสโก มีผุ้เยี่ยมชมหลายแสนคนต่อปี ซึ่งสมารถเดิเท่าหรือขี่จักรยานเที่ยวชมได้
         อุทยานประวัติศษสตร์สุโชัยได้รับการประกาศคุ้มครองครั้งแรกตามประกาศราชกิจจานุเบกษาองค์การยูเนสโกได้ประกาศให้อุทยานแห่งนี้เป็นแหลงมรดกโลกร่วมกับอุทยานประวัติศาสตร์ที่กำแพงเพชรและศรีสัชนาลัยภายใต้ชขื่อว่า "เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร"
          - อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัยตั้งอยู่ที่ตำบล ศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย มีดบราณสถานทั้งหมด 215 แห่ง สำรวจค้นพบแล้ว 204 แห่งรวมทั้งสุสานวัดชมชื่นและเตาสังคโลก โบราณ ในปัจจุบันจากการประเมินของกรมศิลปากร นับว่ามีการต่อเติมโบราณสถานจากสภาพเดิมน้อยกว่าที่ใด ยังคงรักษาภูมิทัศน์ของเมืองประวัติสษสตร์ไว้ได้ครบถ้วน
        - อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร ตั้งอยู่ในเขตตำบลในเมือง อำเภอเมือง กำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร ไม่ไกลจากจังหวัดสุโขทัย เท่าใดนัก ลักษณะของศิปละและสถาปัตยกรรมในอุทยานแห่งนี้เป็นศิลปะแบบเดี่ยวกับที่ปรากฎในอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย มีโบราณสถานที่สวยงานและขนาดใหญ่มากมาย หลายแห่งในอดีตเมืองกำแพงเพชรถือเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของอาณาจักรสุโขทัย
           เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง Thungyai-Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuaries 
           ..เขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จัดได้ว่าเป็นผืนป่าอนุรักษณแห่งเดียวที่มีอยุ่ในประเทศไทย (จากจำนวนทั้งสิ้นจนถึงปัจจุบัน ประกาศไปแล้วจำนวน 31 เขต)ที่ไม่มีราษฎรทั้งชาวไทยและชาวไทยภูเขาอาศัยอยู่ในพื้นที่ ผลจากการสำรวจความหลากหลายของสัตว์ป่า โดยคณะวนศาสตร์ และดดขเจ้าหน้าที่ของกองอนุรัษ์สัตว์ป่าเท่าที่ได้ทำมาแล้ว นับตั้งแต่ก่อนที่จะได้ประกาศให้เป็นเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่า ปรากฎว่าจากความหลากหลายของสภาพภูมิประเทศ สภาพป่าหลาชนิดที่กระจัดกระจายผะผนกัน ตลอดจนความหลากหลายของอุณหภูมิอากาศ ประจำถิ่น ทำให้ห้วยขาแข็งนี้เป็นแหล่งรวมพันู์ของสัตว์ป่านานาชนิด ังนี้ คือ สัต์เลี้ยงลูกด้วยนมจำนวน 67 ชนิด นก 355 ชนิด สังต์เลื้อยคลาน 77 ชนิด สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก 29 ชนิ และสัตว์จำพวกปลาอี 54 ชนิด รวมแล้วมีสัตว์ป่าเท่่าที่ได้ทำการสำตวจมาแลวทั้งสิ้น 582 ชนิด ในจำนวนสัตว์ป่าที่สำรวจแล้วทั้งหมดมีสตว์ป่ที่ได้รับการกำหนดสถานภาพโดย IUCN ว่าจะสูญพันธ์ จำนวน 21 ชนิด และสัตว์ป่าที่ถูกคุกคาม จำนวน 65 ชนิดรวมอยุ่ด้วย
           แม้ว่าป่าห้วยขาแข้งจะมีพื้นที่กว้างใหญ่ถึง 2,575 ตารางกิโลเมตร และจัดว่าเป็ฯเขตรักษรพันธุืสัตว์ป่า ที่มีขนาดใหญ่เป็นสองรองจากทุ่งใหญ่ ก็ยังไม่มีขนาดใหญ่พอที่จะประกันการสูญพันู์ของสัตว์ป่าและพืชป่าโดยลำพัง รัฐบาลจึงได้ประกาศให้พื้นที่ป่าต่อเนื่องไปทางทิศตวะันตกจรดชายแดนพม่า เป็นเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าอีกแห่งหนึ่งคือ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร พื้นที่ 2,000,000 ไร่ หรือ 3,200 ตารางกิโลเมตร โดยประกาศในปี พ.ศ. 2517 หลังจากที่มีกรณีอื้อฉาวว่ามีการลักลอบฆ่าสัตว์ป่ากันในใจกลางของป่าทุ่งใหญ่ .. จึงทำให้ป่าอนุรักษ์ในรูปของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าที่ต่อเนื่องเป็นผืนใหญ่ทั้งสองแห่งนี้มีชื่อเรียกรวมกันว่า ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง และรอการผนวกป่าสงวนห้วน้ำโจนบางส่วนที่ยังคงสภาพความเป็นชาติเหลืออยู่ทางตอนใต้ของป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง
          ผืนป่าอนุรักษ์ในรูปเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าที่ได้ชื่อว่า "ทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง"แห่งนี้ ครอบคลุมพื้นที่ของ 4 อำเภอ ใน - จึงหวัด คือ อ.บ้านไร่ อ.ลานสัก จ.อุทัยธานี อ.สังขละบุรี จ.กาณจนบุรี และอ.อุ้งผาง จ.ตาก นอกจานี้ยังถุกล้อมรอบไปด้วยผืนป่าอนุรักษ์แห่งอื่นๆ ในรูปของเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าปละอทุยานแห่งชาติที่ต่อเนื่องเป็นผ่าผืนเดียวกันอีกจำนวน 7 แห่ง นั้นคือ เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าอุ้งผาง, อทุยานแห่งชาติแม่วงศ์และอทุยาแห่งชาติคลองลานเชื่อต่อทางตอนเหนือ และต่อเนื่องกับอทุยานแห่งชาติเขาแหลม, อุทยานแห่งชาติเขื่อนศรีนครินทร์ อุทยานแห่งชาติเอราวัฒ เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าสลักพระและอทุยาทแห่งชาติเฉลิมรัตนโกสินทร์ทางตอนใต้..
       แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง Ban Chaing Archaeological Site เป็ฯแหล่งโบราณคดีสำคัญแห่งหนึ่งอยู่ที่อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ที่ทำให้รับรู้ถึงการดำรงชีวิตในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ย้อนไลังไปกว่า 5,000 ปี ร่องรอยของมนุษย์ในประเทศไทยสมัยดังกล่าว แสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมที่มีพัฒนาการแล้วในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านความรู้ความสามารถหรือภมิปัญญา อันเป็นเครื่องมือสำหรับช่วยให้ผุ้คนเหล่านั้นสามารถดำรงชีวิตและสร้างสังควัฒนธรรมของมนุษย์ได้นือเนื่องต่อกันมาเป็นระยะเวลายาวนาน วัฒนธรรม้านเชียงได้ครอบคลุมถึงแหล่งโบราณคดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออีกกว่าร้อยแห่ง ซึ่งเป็นบริเวณพื้นที่ที่มีมนุษย์อยู่อาศัยหนาแน่นมาตั้งแต่หลายพันปีแล้ว ด้วยเหตุนี้เององค์การยูเนสโกของสหประชาชาิตจึงได้ยอมรับขึ้นบัญชีแหล่ววัฒนธรรมบ้านเชียงไว้เป็นแห่งหนึ่งในบรรดามรดกโลก

       ผืนป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ Dong Phayayen-Khao Yai Forest Complex ..ในอดีตมีป่าดงดิบกว้างใหญ่ กันกลางระหว่างภาคกลางกับภาคอีสาน ซึ่งเต็มไปด้วยภยันตรายทั้งจากสัตว์ ผ่า ไข้ป่า ภูตผีปีศาจ อาถรรพณ์ลึกลับ และเป็นที่เล่าขานถึงความน่าเกรงขาม การเดินทางผ่าไปยังภาคอีสานยากลำบาก หลายคนต้องเสียชีวิตด้วยไข้ป่า หรือสัตว์ป่า ผุ้คนจึงขนานนามป่าแห่งนี้ว่า ดงพญาไฟ..
       สมเด็จกรมพรยาดำรงตาชานุภาพ ทรงนิพนธ์ไว้ว่า "ดงพญาไฟ เป็นช่องสำหรับข้าไปมา ระหว่างเมืองสระบุรีกับมณฑลนครราชสีมาแต่โบราณ ไปได้แต่เดิมเท่าจะใช้ล้อเหวียนหาได้ไม่ ด้วยทางต้องเดินตามสันเขาบ้าง ตามไหล่เขาบ้าง คนเดินตามปกตินั้น ตั้งแต่ตำบลแห่งคอย ต้องค้างคือในป่านี้ถึง 2 คืนถึงจะพ้น"..
               วันที่ 21 ธันวาคม  พ.ศ. 2443 พระบาทสมเด็๗พระจุลจอมเหล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดการเดินรถไฟ สายกรุงเพท -นครราชสีมา ขณะที่เสด็กลับทางรถไฟผ่านดงพญาไฟ ทรงรับสั่งว่าป่าชื่อฟังดุน่ากลัว จึงตรัสว่า "ให้เปลี่ยนชือดงพญาไฟเป็นดงพญาเย็น เพื่อความเป็นสิริมงคล และความร่มแย็นเป็นสุขอาณาประชาราษฎร์"
             หลังจากมีการสร้างทางรถไฟ และถนนมิตรภาพ จากภาคกลางไปสู่่ภาคอีสาน ดงพญาไฟก็ถูกผ่าออกทันที ผุ้คนเริ่มที่จะอพยพเข้าไป แล้วถากถางป่าทำไรทำนา โดยเฉพาะบริเวณ ฟาร์มโชคชัย อ.ปากช่อ จ.นครราชสีมา
             ตำบลเขาใหญ่เกิดขึ้นจากการอพยพ จากบ้านท่าชัย ,ท่าด้าน จังหวัดนครนายก บุกเบิกพื้นที่ทำกิน กลางผืนป่า อันเป็นทำเลที่ดี จนกลายเป็นชุมชนกลางป่า ยิงเวลาผ่าไป ก็ยิงมีชาวบ้านจากจังหวัดรรอบๆ ขึ้นมาถากถางมากขึ้น จนพื้นที่ 30 ตารางกิโลเมตร หรือ 18,750 ไร่ถูกถากถางไป ในปี พ.ศ. 2465 ชุมชนนี้ได้ขออนุญาตจัดตั้งเป็นตำบลเขาใหญ่ ขึ้นกับอำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก เชื่อ เขาใหญ่ จึงเร่ิมต้นตั้งแต่นั้นมา ทั้งที่ไม่มียอดเขาแห่งใดที่มีชื่อคำว่าเขาใหญ่
             ด้วยเหตุที่เขาใหญ่อยุ่กลางใจป่า ไม่มีถนนที่สามารถเข้าไปได้อย่างสะดวก จึงทำให้ชุมชนนี้กลายเป็นบ้านป่าเมืองเถือน กลายเป็นเเหล่งซ่อนสุมของเหล่าโจรผุ้ร้าย ทางจังกซัดนครนายก จึงส่ง "ปลัดจ่าง" มาปราบกวาดล้างโจรบนเขาใหญ่ และสามารถปราบได้ โดยใช้เวลานับเดือน แต่ปลัดต้องเสียชิวิตด้วยไข้ป่า ด้วยความกล้าหาญของทาน พวเขาจึงจึงสร้าง ศาลเจ้าพ่อเขาใหญ่ ข้น เป็นศาลที่ให้ผุ้คนกราบไหว้มาจนถึงปัจจุบันนี้ ทางจังหวัดนครนายก จึงสั่งให้อพยพชาวพ้านกว่า 1,000 คนลงมายังืพ้นราบและสั่งให้ยกเลิกตำบลเขาใหญ่ ปล่อยให้เกลายเป็นทุ่งหย้ารกร้าง และป่าให้เห็นด้งเช่นปัจจุบัน
             ปี พ.ศ.2505 จมอพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีคนที่ 11 เดิทางสำรวจบริเวณดังกล่าวด้วยเฮลิคอปเตอร์ ท่านมีคำสั่งให้ทางกระทรวงเกษตรและกระทรวงมหาดไทยร่วมกันสำรวจเพื่อจัดตั้งให้เป็นอุทยานแห่งชาติ และประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติเมือ พ.ศ. 2505 ซึค่งเป็นอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทย
              อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ปางสีดา ทับลาน ตาพระยา และเขตรักษาพันู์สัตว์ป่าดงรัก ได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลกภายใต้ชื่อ "ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่"
               สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ(ยูเนสโก)ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศลาวทั้งส้ิน 2 แหล่ง
               เมืองหลวงพระบาง Town of Luang Prabang หลวงพระบางเป็นเมืองเอกของแขวงหลวงพระบาง ประเทศลาว อยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ตัวเมืองตั้งอยู่ริมแม่น้ำโขงและแม่น้ำคาน ซึ่งไหลมาบรรจบกัน เป็นเมืองที่องค์การยูเนสโก ได้ยกย่องหใ้เป็นมรดกโลกด้วย
               หลวงพระบางเป็นเมืองเก่าแก่ของอาณาจักรล้านช้างตั้งแต่สมัยสถาปนาอาณาจักรแต่เดิมที่ชื่อว่า "เมืองซวา"(ออกเสียงว่า ซัว) และเมื่อ พ.ศ. 1300 ขุนลอซึ่งถือเป็นปฐมกษัตริย์ลาวได้ทรงตั้งเมือง.วาเป็นราชธานีของอาณาจักรล้านช้างและได้เปลี่ยนชื่อเมืองให่เป็นเชียงทอง
               เมื่อพระเจ้าฟ้างุ้ม เสด็จกลับจากกัมพูชา อันเนื่องจากพระองค์และพระบิดาต้องเสด็จลี้ภัยเพราะถูกขับไล่จากษัตรยิ์องค์ก่อน ซึ่งแท้จริงก็คือพระอัยกาของเจ้าฟ้างุ้มนั่นเอง เจ้าฟ้างุ้มทรงรวบรวมกำลังขณะอยู่ในเสียมราฐ และนำกองทัพนับพันกำลังเพื่อกูราชัลลังก์กลับคือ และสถาปนาอาณจักรขึ้น ต่อมาในสมัยพระโพธิสานราชเจ้าพระองค์ได้ทรงอาราธนาพระบางซึ่งเดิมประดิษฐานอยู่ที่เมืองเวียงคำขึ้นมาประดิษฐานอยู่ที่เมืองเชียงทองอันเป็นนครหลวง เมือองเชียงทองจึงมีื่อเรียกว่า "หลวงพระบาง" นับแต่นั้นมา
               วัดพูและการตั้งถ่ินฐานโบราณที่เกี่ยวข้องภายในภูมิทัศน์วัฒนธรรมจำปาศักดิ์ Vat Phou Associated Ancient Settlement within the Champasak Cultural Landscaoe 
              บริเวณโดยรอบวัดพูนี้ บ่งบอกถึงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอันงดงามของเอเชียตะวันออกเแียงใต้ ดดยเแพาะของอาณาจักขอมได้เป็นอย่างดี ซึ่งขอมเรืองอำนาจในภูมิภาคนี้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 10 -14 โดยเป็นตัวอย่างอันโดเด่นของการผสมผสานกันระหว่งความสำคัญทางจิตวิญญาณอันยิ่งใหญ่กับสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ โดยแสดงออกถึงความสัมพันธ์ระหว่างะรรมชาิกับมนุษย์ตามความเชื่อของศาสนาฮินดุ
            ต้นกำเนิดของสถานที่แห่งนี้มีมาก่อน พ.ศ. 1143 อย่างน้อยที่เมืองเชษฐาปุระซึ่งการวจัยทางโบราณคดีพบหลักฐานว่ามีมาก่อนยุคอังกอร์ อยางไรก็ดี การพัฒนาสถานที่แห่งนี้ดดยองค์รวมนั้นเป็ฯการผสมผสานเข้ากับของเดิม การะรื่องอำนาจขึ้นสู่จุดสูงสุดของอาณาจักรขอม ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 7-12
         กษัตริย์องค์ใหม่ๆ ซึ่งอสจมีสูนย์กลางวอยุ่ที่แขวงจำปาสัก ได้แผ่ขยายอำนาจการปกครองจากเมืองหลวงที่อสานปุระนับตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 10 เป็นต้นมา จนกระทั่งแผ่อำนาจออกไปครอบคลุมไม่เพียงแต่ส่วนที่เป็ฯประเทศกัมพุชาในปจจุบันนี้เท่านั้ แต่ยังไปไกลถึงส่วนที่เป็ฯภาคอีสานส่วนใหญ่ในปัจจุบันนี้ของประเทศไทยอีกด้วย กาปรับภูมิทัศน์บริเวณวัดพูให้งดงามนั้นเกิขึ้นในยุคนี้ ความสำคัญทางประวัติศาตรของวัดพุอยู่ที่บทบาทในการเป็นสูนย์กลางการปกครองและเป็นการแสดงออกถึงอิทธิพลจากอินเดียมากกว่าอิทธิพลจากจีน ดดยมีหลักฐานตามความเชื่อของศาสนาฮินดุที่เด่นชัด การพัฒนาภูมิทัศน์ทางวัฒธรรมของแขวงจำปาสักครั้งใหญ่ตรั้งสุดท้ายเกิดขึ้นเมือคริสต์ศตวรรษที่ 13 ก่อนที่อาณาจักขอมจะล่มสลายเพียงไม่นาน ต่อมาถูกดัดแปลงให้กลายเป็นวัดพุทธนิกายเถรวาท ซึ่งขัดแย้งกับจุดประสงค์ดั้งเิมที่สร้างขึ้นในสห้สวรรษแรก และยังคงเป็นศุนยกลางในการประกอบพิธีสัการบูชาของคนท้องถ่ินอยุ่ในปัจจุบันนี้..
            เมืองโบราณสมัยยุคก่อนอังกอร์บนริมฝั่งแม่น้ำโขงดุเหมือว่าจะถูกเปลี่ยนให้เป็นสูนย์ใจกลางเมืองโดยอีกเมืองหนึ่งที่อยุท่างตอนใจ้ของวัดพุซึ่งสร้างในสมัยอังกอร์ ถนนซึ่งมีอายุสมัยยุคกลางนำสู่ทิศใต้ ผ่านเหมืองแร่และอุตสากหกรรมอื่นๆ ซึ่งมีสิ่งปลูกสร้างจำนวนมากมายที่สร้างขึ้นในภูมิทัศน์ที่มีการวางแผนอย่างรอบคอบดดยวางแบบแปลนเพื่อแสดงออกถึงความศักดิ์สิทธิ์ที่ผุ้สร้างวัดพูเคารพนับถือ บริเวณวัดซึ่งอยู่บรเวณเชิงเขา ทอดตัวยาวไปทั้งทางทิศตะวันออกและตะวันตกไปยัง้ำพุใสสะอาดบนโขดนิหซึ่งมีศาลตั้งอยุ่ เส้นแกนจากรูปศิวลึงค์ตามธรรมชาติบนยอมเขาพาดผ่านศาล ถูกใช้เป็นพื้นฐานในการวางแผนผังของวัด
         สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก)ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลก ของประเทศพม่าทั้งสิ้น 1 แหล่ง
         นครโบราณแห่งอาณาจักรพยู Pyu Ancient Cities 
         ปยู เป็นชนชาติหนึ่งตระกูลพม่า-ทิเบต ซึ่งเคยเป็นเจ้าของพื้นที่ในที่ราบลุ่มดินดอนสามเหลี่ยมปากน้ำอิระวดีช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-14 กว่าร้อยปีก่อนคริสตกาล3 ค.ศ.840 )อยู่ในยุคเดียวกันกับกลุ่มรัฐยะไข่ ชาวปยูตั้งศูนย์กลางอยุ่ที่เมืองแปรและเรียกอาณาจักรตนเองว่า ศรีเกษตรซึ่งแปลว่า ดินแดนแห่งความโชคดี เมืองแปรเป็นศูนย์กลางการค้าในระยะเวลานั้น เพราะอยู่ไม่ห่างจากทะเลมากนัก เมืองสำคัญของนครรัฐปยู่คือเมืองเบกทาโนและเมืองฮาลินซึ่งอยุ่ทางตอนเหนือ

 อาณาจักรศรีเกษตร เป็นนครรัฐของชาวปยู โดยตั้งบ้านเมืองอยุ่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองแปร ต่อมาชนชาติปยูได้เปลี่ยนมานับถือศาสนาพุทธ และได้รับความเจริญทางอักษรศาสตร์จากอินเดีย ในยุคที่รุงเรืองถึงขีดสุดอาณาจักรนี้มอำนาจปกครองเกือบตลอดแหลมมลายู จน พ.ศ. 651 พวกมญทางใต้ ได้ยกทัพเข้ามารุกราน และอาณาจักรนี้ก็เร่ิมเสื่อมลงจนใน พ.ศ. 1375 อาณาจักรน่านเจ้า ก็ยกทัพลงมาทำลายลงโดยสิ้นเชิง หลังจากนั้นก็ตกอยู่ในอำนาจของชนชาติพม่า เมื่อพระเจ้าอโนรธามังช่อ ปฐมกษัตริย์แห่งอาณษจักรพุกามทรงแผ่พระราชอำนาจเข้ามาแทนที่
         นครโบราณแห่งปยู กำแพงและคูน้ำรอบเมืองที่เมือง หะลิน มองกะโม้ และศรีเกษตร ตั้งอยุ่ในบริเวณส่วนแห้งของลุ่มน้ำอิรวดี เมืองเหล่านี้สะท้อนให้เห็นอาณาจักรปยูที่เคยรุ่งเรืองนานกว่า 1,000 ปี ระหว่างยุค 200 ปีก่อนคริสตกาลจนถึง ค.ศ. 900 เมืองทั้งสามเป็นส่วนหนึ่งของสถานที่ขุดค้นทางโลราณคดี โดยมีการค้นพบส่วนของป้อมปรากการราชวัง, ลานที่ถุกฝัง รวมถึงสถูปอิฐของดุทธศาสนา, กำแพงอิฐและระบบจัดการน้ำ ซึ่งบางส่วนยังใช้อยู่ กลุ่มเมืองโบราณได้รับลงทะเบียนเป้นมรดกโลกในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสสามัญเมื่อปี พ.ศ. 2557


                       - kanchanapisek.or.th/../อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา
                       - www.th.wikipedia.org/../รายชื่อเเหล่งมรดกโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้..,หลวงพระบาง.., ปยู.., อาณาจักรปยู.
                       - www.tcijthai.com/../ย้อนภาพอดีต "ผืนป่าดงพญาเย็น" ทะเลโบราณล้านปีอันอุดมสมบูรณ์ ก่อนพลิกบ้านสัตว์ป่ามาเป็นชุมชน
                       - www.thailandworld.com/../วัดพู แขวงจำปาสัก ทางตอนใต้ของประเทศลาว
           
         

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)